• user warning: Table 'cache_filter' is marked as crashed and should be repaired query: SELECT data, created, headers, expire, serialized FROM cache_filter WHERE cid = '3:dc9df2f112d92fa3bf68b810e0400e47' in /home/tgv/htdocs/includes/cache.inc on line 27.
  • user warning: Table 'cache_filter' is marked as crashed and should be repaired query: UPDATE cache_filter SET data = '<!--paging_filter--><p align=\"center\">\n<strong>เรื่อง  เซลล์ </strong>\n</p>\n<p>\n<span style=\"font-size: x-small; font-family: MS Sans Serif\">        เซลล์โดยทั่วไปถึงแม้จะมีขนาด รูปร่าง และหน้าที่แตกต่างกัน แต่ลักษณะพื้นฐานภายในเซลล์มักไม่แตกต่างกัน นักชีววิทยาได้ใช้กล้องจุลทรรศน์อิเล็กตรอนศึกษาเซลล์ของสิ่งมีชีวิตพบว่า ในไซโทพลาซึมมีโครงสร้างขนาดเล็กที่ทำหน้าที่เฉพาะเรียกว่า ออร์แกเนลล์ (organelle)    มีหลายขนาด รูปร่าง จำนวน และหน้าที่ต่างกัน ทั้งนี้ขึ้นอยู่กับชนิดของเซลล์ซึ่งจะประกอบด้วยโครงสร้างพื้นฐานที่คล้ายคลึงกัน ดังนี้</span>\n</p>\n<div style=\"text-align: center\">\n<img border=\"0\" width=\"477\" src=\"/files/u11487/cell2.jpg\" height=\"353\" style=\"width: 291px; height: 257px\" />\n</div>\n<p align=\"center\">\n<span style=\"font-size: x-small; font-family: MS Sans Serif\"><strong>  </strong>ที่มา : www4.msu.ac.th/satit/studentProj/2546/M105/BIOLOGY/Photo/cell2.jpg</span>\n</p>\n<p>\n </p>\n<!--pagebreak--><!--pagebreak-->\n<p>\n<span style=\"font-size: x-small; font-family: MS Sans Serif\"></span><span style=\"font-size: x-small; font-family: MS Sans Serif\"><strong>1. เยื่อหุ้มเซลล์ (Cell membrane)</strong> มีโครงสร้างประกอบด้วยเนื้อเยื่อบางๆ 2 ชั้น แต่ละชั้นประกอบด้วยชั้นโปรตีนหนาประมาณ 20 อังสตอม (Angstrom) และชั้นไขมัน ฟอสโฟลิปิด (phospholipid) หนาประมาณ 35 อังสตอม โดยชั้นของไขมันประกบเข้าหากัน หันด้านชั้นโปรตีนออกภายนอก โครงสร้างนี้ถูกเรียกว่า ยูนิตเมมเบรน (unit membrane) ภายในเยื่อหุ้มมีช่องเปิดขนาดเล็กเป็นจำนวนมาก ทำหน้าที่เป็นทางผ่านของสารภายในและภายนอกเซลล์ </span><span style=\"font-size: x-small; font-family: MS Sans Serif\"> </span>\n</p>\n<p><span style=\"font-size: x-small; font-family: MS Sans Serif\"><strong>2. เยื่อหุ้มนิวเคลียส (Nuclear membrane)</strong> ทำหน้าที่ห่อหุ้มนิวเคลียส โดยแยกส่วนนิวเคลียสออกจากส่วนของของเหลวภายในเซลล์ เซลล์ของสิ่งมีชีวิตที่ไม่มีเยื่อหุ้มนิวเคลียสถูกเรียกว่า เซลล์โปคารีโอติก (Procaryotic cell) ได้แก่ โปรติสตาบางชนิด เช่น แบคทีเรีย และสาหร่ายสีน้ำเงินแกมเขียว (blue green algae) ส่วนเซลล์ของสิ่งมีชีวิตที่มีเยื่อหุ้มนิวเคลียสถูกเรียกว่า เซลล์ยูคารีโอติก (Eucaryotic cell) เยื่อหุ้มนิวเครียสมีรูเปิดขนาดใหญ่เส้นผ่าศูนย์กลางประมาณ 100 อังสตอม ทำหน้าที่ขนส่งสารละลายต่างๆผ่านเข้าออกระหว่างนิวเคลียสกับของเหลวภายนอก <br />\n</span><span style=\"font-size: x-small; font-family: MS Sans Serif\"></span></p>\n<div style=\"text-align: center\">\n<img border=\"0\" width=\"424\" src=\"/files/u11487/cell-3.jpg\" height=\"296\" style=\"width: 272px; height: 234px\" />\n</div>\n<p align=\"center\">\nที่มา : <a href=\"http://www.rmutphysics.com/CHARUD/specialnews/6/life1/cell-3.jpg\">http://www.rmutphysics.com/CHARUD/specialnews/6/life1/cell-3.jpg</a>\n</p>\n<p>\n&nbsp;\n</p>\n<!--pagebreak--><!--pagebreak--><p>\n  ส่วนของของเหลวภายในเซลล์ (Cytoplasm) <br />\nประกอบด้วยของเหลวซึ่งเป็นสารประกอบหลายชนิด และองค์ประกอบที่เป็นโครงสร้างต่างๆ ได้แก่ <br />\n1. ร่างแหเอนโดพลาสมิก (Endoplasmic reticulum หรือ ER) มีลักษณะเป็นร่างแหของเนื้อเยื่อบางๆ ที่มีช่องเปิดติดต่อกัน แบ่งออกเป็น 2 ชนิด คือ <br />\nร่างแหชนิดขรุขระ (rough endoplasmic reticulum หรือ RER) เป็นร่างแหชนิดที่มีไรโบโซมเกาะอยู่ที่ผิว ทำหน้าที่สังเคราะห์โปรตีนเพื่อส่งออกไปยังส่วนต่างๆภายนอกเซลล์ ร่างแหชนิดนี้อยู่ตามอวัยวะที่ทำหน้าที่สร้างเอนไซม์ เช่น ตับอ่อน <br />\nร่างแหชนิดเรียบ (smooth endoplasmic reticulum หรือ SER) เป็นร่างแหชนิดที่ไม่มีไรโบโซมเกาะอยู่ที่ผิว ทำหน้าที่สังเคราะห์ไขมัน พวกสเตอรอยด์ คอเลสเตอรอล ร่างแหชนิดนี้พบมากในต่อหมวกไต และตับ </p>\n<p>2. ไรโบโซม (Ribosome) มีองค์ประกอบเป็นโปรตีนกับกรดไรโบนิวคลีอิก (ribonucleic acid) ขนาดประมาณ 100-250 อังสตอม วางตัวอยู่บนร่างแหเอนโดพลาสมิก และกระจายตัวอยู่ในไซโตพลาสซึม ทำหน้าที่สังเคราะห์โปรตีน\n</p>\n<div style=\"text-align: center\">\n<img border=\"0\" width=\"413\" src=\"/files/u11487/im13.jpg\" height=\"351\" style=\"width: 286px; height: 309px\" />\n</div>\n<div style=\"text-align: center\">\n</div>\n<p align=\"center\">\nที่มา : <a href=\"http://www.sema.go.th/files/Content/science/k4/0035/F01/images/im13.jpg\">http://www.sema.go.th/files/Content/science/k4/0035/F01/images/im13.jpg</a><br />\n<strong> </strong></p>\n<!--pagebreak--><!--pagebreak--><p>\n</p>\n<p>\n<strong>3. กอลจิคอมเพลกซ์ (Gogi complex)</strong> มีลักษณะเป็นถุงแบนพับซ้อนกันตรงปลายโป่งออกเป็นกระเปาะ (vesicle) ทำหน้าที่สะสมสารที่เซลล์ผลิตขึ้น เช่น เอนไซม์ ก่อนส่งออกยังภายนอกเซลล์ และทำหน้าที่สังเคราะห์โพลีแซคคาไรด์ จากน้ำตาลโมเลกุลเดี่ยว เพื่อสร้างเป็น ไกลโคโปรตีน (glycoprotein) </p>\n<p><strong>4. ไมโตคอนเดรีย (Mitochondria)</strong> มีลักษณะเป็นโครงสร้างที่มีเนื้อเยื่อ 2 ชั้นประกบกัน หนาประมาณ 185 อังสตอม เนื้อเยื่อด้านในยื่นเข้าส่วนด้านในของโครงสร้าง ทำหน้าที่สร้างพลังงานให้แก่เซลล์ พบในเซลล์กล้ามเนื้อ และเซลล์ประสาท </p>\n<p><strong>5. ไลโซโซม (Lysosome)</strong> เกิดจากถุงของกอลจิบอดี มีลักษณะเป็นถุงภายในมีเอนไซม์สำหรับย่อยสารโมเลกุลใหญ่ให้เล็กลง ทำหน้าที่ทำลายสิ่งแปลกปลอมที่เข้ามาในเซลล์ </p>\n<p><strong>6. เซนตริโอ (Centriole)</strong> มีโครงสร้างเป็นทรงกระบอก ประกอบด้วยการเรียงตัวของท่อขนาดเล็ก (microtubule) เกาะกันเป็นกลุ่ม กลุ่มละ 3 ท่อ รวมกัน 9 กลุ่ม ทำหน้าที่ช่วยในกระบวนการแบ่งเซลล์ </p>\n<p><strong>7. พลาสติดส์ (Plastids)</strong> พบในพืช มีโครงสร้างคล้ายไมโตคอนเดรีย มีดีเอ็นเอ พลาสติดส์ที่มีรงควัตถุ เช่น คลอโรฟิล คาโรทีนอยด์ ทำหน้าที่เกี่ยวข้องกับกระบวนการสังเคราะห์แสง นอกจากนี้พลาสติดส์ยังทำหน้าที่สะสมสารต่างๆ เช่น แป้ง ไขมัน และโปรตีน </p>\n<p><strong>8. แวคิวโอ (Vacuole)</strong> เป็นองค์ประกอบไร้ชีวิตในเซลล์ มีลักษณะเป็นถุงภายในมีของเหลวที่เรียกว่า เซลล์แซป (cell sap) พบทั้งในเซลล์พืช และเซลล์สัตว์ ทำหน้าที่เก็บของเสีย อาหาร และเป็นที่พักอาหารก่อนส่งออกสู่ไซโตพลาสซึม\n</p>\n<p></p>\n', created = 1714814781, expire = 1714901181, headers = '', serialized = 0 WHERE cid = '3:dc9df2f112d92fa3bf68b810e0400e47' in /home/tgv/htdocs/includes/cache.inc on line 112.
  • user warning: Table 'cache_filter' is marked as crashed and should be repaired query: SELECT data, created, headers, expire, serialized FROM cache_filter WHERE cid = '3:ac2a423f2e46728da415f5f6d6e5b692' in /home/tgv/htdocs/includes/cache.inc on line 27.
  • user warning: Table 'cache_filter' is marked as crashed and should be repaired query: UPDATE cache_filter SET data = '<!--paging_filter--><p align=\"center\">\n<strong>เรื่อง  เซลล์ </strong>\n</p>\n<p>\n<span style=\"font-size: x-small; font-family: MS Sans Serif\">        เซลล์โดยทั่วไปถึงแม้จะมีขนาด รูปร่าง และหน้าที่แตกต่างกัน แต่ลักษณะพื้นฐานภายในเซลล์มักไม่แตกต่างกัน นักชีววิทยาได้ใช้กล้องจุลทรรศน์อิเล็กตรอนศึกษาเซลล์ของสิ่งมีชีวิตพบว่า ในไซโทพลาซึมมีโครงสร้างขนาดเล็กที่ทำหน้าที่เฉพาะเรียกว่า ออร์แกเนลล์ (organelle)    มีหลายขนาด รูปร่าง จำนวน และหน้าที่ต่างกัน ทั้งนี้ขึ้นอยู่กับชนิดของเซลล์ซึ่งจะประกอบด้วยโครงสร้างพื้นฐานที่คล้ายคลึงกัน ดังนี้</span>\n</p>\n<div style=\"text-align: center\">\n<img border=\"0\" width=\"477\" src=\"/files/u11487/cell2.jpg\" height=\"353\" style=\"width: 291px; height: 257px\" />\n</div>\n<p align=\"center\">\n<span style=\"font-size: x-small; font-family: MS Sans Serif\"><strong>  </strong>ที่มา : www4.msu.ac.th/satit/studentProj/2546/M105/BIOLOGY/Photo/cell2.jpg</span>\n</p>\n<p>\n </p>\n', created = 1714814781, expire = 1714901181, headers = '', serialized = 0 WHERE cid = '3:ac2a423f2e46728da415f5f6d6e5b692' in /home/tgv/htdocs/includes/cache.inc on line 112.

เซลล์

รูปภาพของ sscampai

เรื่อง  เซลล์

        เซลล์โดยทั่วไปถึงแม้จะมีขนาด รูปร่าง และหน้าที่แตกต่างกัน แต่ลักษณะพื้นฐานภายในเซลล์มักไม่แตกต่างกัน นักชีววิทยาได้ใช้กล้องจุลทรรศน์อิเล็กตรอนศึกษาเซลล์ของสิ่งมีชีวิตพบว่า ในไซโทพลาซึมมีโครงสร้างขนาดเล็กที่ทำหน้าที่เฉพาะเรียกว่า ออร์แกเนลล์ (organelle)    มีหลายขนาด รูปร่าง จำนวน และหน้าที่ต่างกัน ทั้งนี้ขึ้นอยู่กับชนิดของเซลล์ซึ่งจะประกอบด้วยโครงสร้างพื้นฐานที่คล้ายคลึงกัน ดังนี้

  ที่มา : www4.msu.ac.th/satit/studentProj/2546/M105/BIOLOGY/Photo/cell2.jpg

 

สร้างโดย: 
อำไพ หงษาคำ

มหาวิทยาลัยศรีปทุม ผู้ใหญ่ใจดี
 

 ช่วยด้วยครับ
นักเรียนที่สร้างบล็อก กรุณาอย่า
คัดลอกข้อมูลจากเว็บอื่นทั้งหมด
ควรนำมาจากหลายๆ เว็บ แล้ววิเคราะห์ สังเคราะห์ และเขียนขึ้นใหม่
หากคัดลอกทั้งหมด จะถูกดำเนินคดี
ตามกฎหมายจากเจ้าของลิขสิทธิ์
มีโทษทั้งจำคุกและปรับในอัตราสูง

ช่วยกันนะครับ 
ไทยกู๊ดวิวจะได้อยู่นานๆ 
ไม่ถูกปิดเสียก่อน

ขอขอบคุณในความร่วมมือครับ

อ่านรายละเอียด

ด่วน...... ขณะนี้
พระราชบัญญัติลิขสิทธิ์ (ฉบับที่ 2) พ.ศ. 2558 
มีผลบังคับใช้แล้ว 
ขอให้นักเรียนและคุณครูที่ใช้งาน
เว็บ thaigoodview ในการส่งการบ้าน
ระมัดระวังการละเมิดลิขสิทธิ์ด้วย
อ่านรายละเอียดที่นี่ครับ

 

สมาชิกที่ออนไลน์

ขณะนี้มี สมาชิก 0 คน และ ผู้เยี่ยมชม 432 คน กำลังออนไลน์