• user warning: Table 'cache_filter' is marked as crashed and should be repaired query: SELECT data, created, headers, expire, serialized FROM cache_filter WHERE cid = '3:600b0bd823f206938b9afe819535700d' in /home/tgv/htdocs/includes/cache.inc on line 27.
  • user warning: Table 'cache_filter' is marked as crashed and should be repaired query: UPDATE cache_filter SET data = '<!--paging_filter--><p align=\"center\">\n<span style=\"color: #ff0000\"><span style=\"color: #993300\"><span style=\"color: #ff0000\"><span style=\"color: #339966\">ระบบนิเวศ</span></span></span> </span>\n</p>\n<p>\n         <span style=\"color: #339966\"> ระบบนิเวศ</span>หนึ่ง ๆ นั้น ประกอบด้วยบริเวณที่สิ่งมีชีวิตดำรงอยู่ และกลุ่มประชากรที่มีชีวิตอยู่ในบริเวณดังกล่าว พืชและโดยเฉพาะสัตว์ต่าง ๆ ก็ต้องการบริเวณที่อยู่อาศัยที่มีขนาดอย่างน้อยที่สุดที่เหมาะสม ทั้งนี้เพื่อว่าการมีชีวิตอยู่รอดตลอดไป ยกตัวอย่างเช่น สระน้ำแห่งหนึ่งเราจะพบสัตว์และพืชนานาชนิด ซึ่งสามารถปรับตัวให้เข้ากับบริเวณน้ำที่มันอาศัยอยู่โดยมีจำนวนแตกต่างกันไป <br />\nตามแต่ชนิด สระน้ำนั้นดูเหมือนว่าจะแยกจากบริเวณแวดล้อมอื่น ๆ ด้วยขอบสระ แต่ตามความเป็นจริงแล้วปริมาณน้ำในสระสามารถเพิ่มขึ้นได้ โดยน้ำฝนที่ตกลงมา ในขณะเดียวกันกับที่ระดับผิวน้ำก็จะระเหยไปอยู่ตลอดเวลา น้ำที่ไหลเข้ามาเพิ่มก็จะพัดพาเอาแร่ธาตุและชิ้นส่วนต่าง ๆ ของพืชที่เน่าเปื่อยเข้ามาในสระตัวอ่อนของยุงและลูกกบตัวเล็ก ๆ อาศัยอยู่ในสระน้ำ <br />\n แต่จะไปเติบโตบนบก นกและแมลงซึ่งมีถิ่นที่อยู่นอกสระก็จะมาหาอาหารในสระน้ำ การไหลเข้าของสารและการสูญเสียสารเช่นนี้จึงทำให้สระน้ำเป็นระบบเปิดระบบหนึ่ง  <br />\n          การศึกษาระบบนิเวศในปัจจุบันมักจะให้ความสำคัญต่อระบบนิเวศในแง่การทำงาน โดยจะสนใจการได้มาซึ่งสสารและพลังงานการเก็บสะสมอัตราการถ่ายทอดผ่านระบบโดยรวม และกลไกการควบคุมระบบนิเวศไม่ว่าจะอยู่บนบกหร์อในน้ำ มีความสลับซับซ้อนมากน้อยเท่าไรก็ตาม จะมีองค์ประกอบอยู่ 4 ประการคิอ  <br />\n1. โครงสร้างสังคมชีวิตซึ่งต้องมีสิ่งมีชีวิตที่ทำหน้าที่ผลิต บริโภค และย่อยสลาย<br />\n2. กระบวนการถ่ายเทพลังงาน<br />\n3. ระบบการหมุนเวียของสารอาหาร <br />\n4. และกระบวนการควบคุม<br />\nหน่วยของความสัมพันธ์ของสิ่งมีชีวิตในแหล่งที่อยู่แหล่งใดแหล่งหนึ่ง ซึ่งจะแบ่งลักษณะของความสัมพันธ์ออกเป็น        2 แบบ คือ<br />\n               1. ความสัมพันธ์ระหว่างสิ่งมีชีวิต กับ สิ่งไม่มีชีวิต<br />\n               2. ความสัมพันธ์ระหว่างสิ่งมีชีวิตด้วยกัน\n</p>\n<p><!--pagebreak--><!--pagebreak--></p>\n<p align=\"center\">\n<span style=\"color: #0000ff\"> <span style=\"color: #ff00ff\">โครงสร้างของระบบนิเวศ</span> </span>\n</p>\n<p>\n<span style=\"color: #ff6600\"><span style=\"color: #ff9900\">ระบบนิเวศ สามารถแบ่งโครงสร้างออกเป็น 2 แบบคือ<br />\n</span></span> <br />\n    1. โครงสร้างที่พิจารณาในเชิงอาหาร แบ่งได้เป็น คือ<br />\n     1.1 ชั้นของสิ่งมีชีวิตที่สามารถสร้างอาหารได้เอง ( Autotrophic stratum ) ประกอบด้วยพืชสีเขียว<br />\nเป็นหลัก ซึ่งสามารถสังเคราะห์แสงใช้อนนทรียสารเปลี่ยนให้เป็นอินทรียสาร<br />\n     1.2 ชั้นของสิ่งมีชีวิตท่ไม่สามารถสร้างอาหารได้เอง ( Heterotrophic stratum ) มีกระบวนการย่อย<br />\nสลายเป็นสำคัญ โดยประกอบไปด้วยสิ่งมีชีวิตท่กินสิ่งมีชีวิตอื่น ( Biophage ) และสิ่งมีชีวิตที่กิน<br />\nซาก ( Saprophage )  <br />\n  2. โครงสร้างที่พิจารณาในเชิงชีววิทยา โดยพิจารณษจากความมีชีวิตและความไม่มีชีวิต และวิถีการดำรงชีวิต <br />\nซึ่งสามารถแบ่งออกได้เป็น 6 ส่วน คือ<br />\n     2.1 อนินทรียสารที่อยู่ในวงจรการหมุนเวียนสารอาหาร<br />\n     2.2 ซากอินทรีย์ ( Organic detritus ) ซึ่งเชื่อมต่อระหว่างสิ่งมีชีวิตกับสิ่งไม่มีชีวิต<br />\n     2.3 ปัจจัยทางกายภาพ ได้แก่ พื้นที่ ( Space ) สิ่งที่หุ้มห่อสิ่งมีชีวต ( Medium) <br />\nพื้นที่รองรับ ( Substratum ) และดินฟ้าอากาศ<br />\n     2.4 ผู้ผลิต ( Producer ) ซึ่งได้แก่พืช<br />\n     2.5 ผู้บริโภคขนาดใหญ่ ( Macroconsumer ) หรือสิ่งมีชีวิตที่กินสิ่งมีชีวิตอื่น ( Phagotroph )<br />\nซึ่งได้แก่สัตว์ เป็นส่วนใหญ่<br />\n     2.6 ผู้บริโภคขนาดเล็ก ( Microconsumer ) หรือสิ่งมีชีวิตที่ดำรงชีวิตเกี่ยวเนื่องกับการย่อยสลาย<br />\n( Saprotrop ) ผู้ย่อยสลาย ( Decomposer ) หรือสิ่งมีชีวิตที่ดำรงชีวิตด้วยการดูดซึม<br />\n( Osmotroph)คือสิ่งมีชีวิตกลุ่มท่ดำรงชีวิตอยู่ด้วยพลังงานจากการย่อยสลายอินทรีย์ที่ตายแล้ว<br />\nหรือดูดเอาอินทรียสารที่ได้จากสิ่งมีชีวิตอื่นไปใช้ แล้วในที่สุดปล่วยออกมาเป็นอนินทรียสาร<br />\nสิ่งมีชีวิตกลุ่มนีได้แก่แบคทีเรียและรา \n</p>\n', created = 1719821220, expire = 1719907620, headers = '', serialized = 0 WHERE cid = '3:600b0bd823f206938b9afe819535700d' in /home/tgv/htdocs/includes/cache.inc on line 112.
  • user warning: Table 'cache_filter' is marked as crashed and should be repaired query: SELECT data, created, headers, expire, serialized FROM cache_filter WHERE cid = '3:12ddce0c271a371f795ca64f408d5953' in /home/tgv/htdocs/includes/cache.inc on line 27.
  • user warning: Table 'cache_filter' is marked as crashed and should be repaired query: UPDATE cache_filter SET data = '<!--paging_filter--><p align=\"center\">\n<span style=\"color: #ff0000\"><span style=\"color: #993300\"><span style=\"color: #ff0000\"><span style=\"color: #339966\">ระบบนิเวศ</span></span></span> </span>\n</p>\n<p>\n         <span style=\"color: #339966\"> ระบบนิเวศ</span>หนึ่ง ๆ นั้น ประกอบด้วยบริเวณที่สิ่งมีชีวิตดำรงอยู่ และกลุ่มประชากรที่มีชีวิตอยู่ในบริเวณดังกล่าว พืชและโดยเฉพาะสัตว์ต่าง ๆ ก็ต้องการบริเวณที่อยู่อาศัยที่มีขนาดอย่างน้อยที่สุดที่เหมาะสม ทั้งนี้เพื่อว่าการมีชีวิตอยู่รอดตลอดไป ยกตัวอย่างเช่น สระน้ำแห่งหนึ่งเราจะพบสัตว์และพืชนานาชนิด ซึ่งสามารถปรับตัวให้เข้ากับบริเวณน้ำที่มันอาศัยอยู่โดยมีจำนวนแตกต่างกันไป <br />\nตามแต่ชนิด สระน้ำนั้นดูเหมือนว่าจะแยกจากบริเวณแวดล้อมอื่น ๆ ด้วยขอบสระ แต่ตามความเป็นจริงแล้วปริมาณน้ำในสระสามารถเพิ่มขึ้นได้ โดยน้ำฝนที่ตกลงมา ในขณะเดียวกันกับที่ระดับผิวน้ำก็จะระเหยไปอยู่ตลอดเวลา น้ำที่ไหลเข้ามาเพิ่มก็จะพัดพาเอาแร่ธาตุและชิ้นส่วนต่าง ๆ ของพืชที่เน่าเปื่อยเข้ามาในสระตัวอ่อนของยุงและลูกกบตัวเล็ก ๆ อาศัยอยู่ในสระน้ำ <br />\n แต่จะไปเติบโตบนบก นกและแมลงซึ่งมีถิ่นที่อยู่นอกสระก็จะมาหาอาหารในสระน้ำ การไหลเข้าของสารและการสูญเสียสารเช่นนี้จึงทำให้สระน้ำเป็นระบบเปิดระบบหนึ่ง  <br />\n          การศึกษาระบบนิเวศในปัจจุบันมักจะให้ความสำคัญต่อระบบนิเวศในแง่การทำงาน โดยจะสนใจการได้มาซึ่งสสารและพลังงานการเก็บสะสมอัตราการถ่ายทอดผ่านระบบโดยรวม และกลไกการควบคุมระบบนิเวศไม่ว่าจะอยู่บนบกหร์อในน้ำ มีความสลับซับซ้อนมากน้อยเท่าไรก็ตาม จะมีองค์ประกอบอยู่ 4 ประการคิอ  <br />\n1. โครงสร้างสังคมชีวิตซึ่งต้องมีสิ่งมีชีวิตที่ทำหน้าที่ผลิต บริโภค และย่อยสลาย<br />\n2. กระบวนการถ่ายเทพลังงาน<br />\n3. ระบบการหมุนเวียของสารอาหาร <br />\n4. และกระบวนการควบคุม<br />\nหน่วยของความสัมพันธ์ของสิ่งมีชีวิตในแหล่งที่อยู่แหล่งใดแหล่งหนึ่ง ซึ่งจะแบ่งลักษณะของความสัมพันธ์ออกเป็น        2 แบบ คือ<br />\n               1. ความสัมพันธ์ระหว่างสิ่งมีชีวิต กับ สิ่งไม่มีชีวิต<br />\n               2. ความสัมพันธ์ระหว่างสิ่งมีชีวิตด้วยกัน\n</p>\n<p></p>', created = 1719821220, expire = 1719907620, headers = '', serialized = 0 WHERE cid = '3:12ddce0c271a371f795ca64f408d5953' in /home/tgv/htdocs/includes/cache.inc on line 112.

ระบบนิเวศ

ระบบนิเวศ

          ระบบนิเวศหนึ่ง ๆ นั้น ประกอบด้วยบริเวณที่สิ่งมีชีวิตดำรงอยู่ และกลุ่มประชากรที่มีชีวิตอยู่ในบริเวณดังกล่าว พืชและโดยเฉพาะสัตว์ต่าง ๆ ก็ต้องการบริเวณที่อยู่อาศัยที่มีขนาดอย่างน้อยที่สุดที่เหมาะสม ทั้งนี้เพื่อว่าการมีชีวิตอยู่รอดตลอดไป ยกตัวอย่างเช่น สระน้ำแห่งหนึ่งเราจะพบสัตว์และพืชนานาชนิด ซึ่งสามารถปรับตัวให้เข้ากับบริเวณน้ำที่มันอาศัยอยู่โดยมีจำนวนแตกต่างกันไป
ตามแต่ชนิด สระน้ำนั้นดูเหมือนว่าจะแยกจากบริเวณแวดล้อมอื่น ๆ ด้วยขอบสระ แต่ตามความเป็นจริงแล้วปริมาณน้ำในสระสามารถเพิ่มขึ้นได้ โดยน้ำฝนที่ตกลงมา ในขณะเดียวกันกับที่ระดับผิวน้ำก็จะระเหยไปอยู่ตลอดเวลา น้ำที่ไหลเข้ามาเพิ่มก็จะพัดพาเอาแร่ธาตุและชิ้นส่วนต่าง ๆ ของพืชที่เน่าเปื่อยเข้ามาในสระตัวอ่อนของยุงและลูกกบตัวเล็ก ๆ อาศัยอยู่ในสระน้ำ
 แต่จะไปเติบโตบนบก นกและแมลงซึ่งมีถิ่นที่อยู่นอกสระก็จะมาหาอาหารในสระน้ำ การไหลเข้าของสารและการสูญเสียสารเช่นนี้จึงทำให้สระน้ำเป็นระบบเปิดระบบหนึ่ง 
          การศึกษาระบบนิเวศในปัจจุบันมักจะให้ความสำคัญต่อระบบนิเวศในแง่การทำงาน โดยจะสนใจการได้มาซึ่งสสารและพลังงานการเก็บสะสมอัตราการถ่ายทอดผ่านระบบโดยรวม และกลไกการควบคุมระบบนิเวศไม่ว่าจะอยู่บนบกหร์อในน้ำ มีความสลับซับซ้อนมากน้อยเท่าไรก็ตาม จะมีองค์ประกอบอยู่ 4 ประการคิอ 
1. โครงสร้างสังคมชีวิตซึ่งต้องมีสิ่งมีชีวิตที่ทำหน้าที่ผลิต บริโภค และย่อยสลาย
2. กระบวนการถ่ายเทพลังงาน
3. ระบบการหมุนเวียของสารอาหาร
4. และกระบวนการควบคุม
หน่วยของความสัมพันธ์ของสิ่งมีชีวิตในแหล่งที่อยู่แหล่งใดแหล่งหนึ่ง ซึ่งจะแบ่งลักษณะของความสัมพันธ์ออกเป็น        2 แบบ คือ
               1. ความสัมพันธ์ระหว่างสิ่งมีชีวิต กับ สิ่งไม่มีชีวิต
               2. ความสัมพันธ์ระหว่างสิ่งมีชีวิตด้วยกัน

สร้างโดย: 
ครูเจษฏากร กีพงษ์

มหาวิทยาลัยศรีปทุม ผู้ใหญ่ใจดี
 

 ช่วยด้วยครับ
นักเรียนที่สร้างบล็อก กรุณาอย่า
คัดลอกข้อมูลจากเว็บอื่นทั้งหมด
ควรนำมาจากหลายๆ เว็บ แล้ววิเคราะห์ สังเคราะห์ และเขียนขึ้นใหม่
หากคัดลอกทั้งหมด จะถูกดำเนินคดี
ตามกฎหมายจากเจ้าของลิขสิทธิ์
มีโทษทั้งจำคุกและปรับในอัตราสูง

ช่วยกันนะครับ 
ไทยกู๊ดวิวจะได้อยู่นานๆ 
ไม่ถูกปิดเสียก่อน

ขอขอบคุณในความร่วมมือครับ

อ่านรายละเอียด

ด่วน...... ขณะนี้
พระราชบัญญัติลิขสิทธิ์ (ฉบับที่ 2) พ.ศ. 2558 
มีผลบังคับใช้แล้ว 
ขอให้นักเรียนและคุณครูที่ใช้งาน
เว็บ thaigoodview ในการส่งการบ้าน
ระมัดระวังการละเมิดลิขสิทธิ์ด้วย
อ่านรายละเอียดที่นี่ครับ

 

สมาชิกที่ออนไลน์

ขณะนี้มี สมาชิก 0 คน และ ผู้เยี่ยมชม 563 คน กำลังออนไลน์