• user warning: Table 'cache_filter' is marked as crashed and should be repaired query: SELECT data, created, headers, expire, serialized FROM cache_filter WHERE cid = '3:4c4f4ecfc672be1c8795903d105bcbd4' in /home/tgv/htdocs/includes/cache.inc on line 27.
  • user warning: Table 'cache_filter' is marked as crashed and should be repaired query: UPDATE cache_filter SET data = '<!--paging_filter--><p>\n</p>\n<p><span style=\"font-size: large\">การทำเส้นสลาก </span><span style=\"font-size: large\"></span></p>\n<p>\nเส้นสลากทำจากใบตาลหรือใบลาน<span style=\"font-size: small; font-family: Times New Roman\"> </span><span style=\"font-size: large\">แล้วเขียนข้อความอุทิศส่วนบุญส่วนกุศลไปให้ผู้ที่</span><span style=\"font-size: small; font-family: Times New Roman\"> </span><span style=\"font-size: large\">ล่วงลับและเทวดาทั้งหลาย</span><span style=\"font-size: small; font-family: Times New Roman\"> </span><span style=\"font-size: large\">และเส้นสลากจะมีการทำเครื่องหมายที่แตกต่างกันออกไป</span><span style=\"font-size: small; font-family: Times New Roman\"> </span><span style=\"font-size: large\">ในสลากอาจจะเขียนว่า</span><span style=\"font-size: small; font-family: Times New Roman\"> </span>\n</p>\n<p></p>\n<p>\n<span style=\"font-family: Times New Roman\">“<span style=\"font-size: large\">สลากข้าวซองนี้</span> <span style=\"font-size: large\">หมายมีผู้ข้า</span> <span style=\"font-size: large\">นาย</span>....... <span style=\"font-size: large\">นางสาว</span>.......... <span style=\"font-size: large\">ขอทานไว้กับตนตัวภายหน้า”</span> <span style=\"font-size: large\">อันหมายถึง</span> <span style=\"font-size: large\">ขอทำบุญไว้กับตนเอง</span> “<span style=\"font-size: large\">ผู้ข้า</span>..............<span style=\"font-size: large\">ขอทานไว้แก่</span> <span style=\"font-size: large\">นาง</span>..... <span style=\"font-size: large\">ขอหื้อเป็นสุขเป็นสุขเถิด”</span> <span style=\"font-size: large\">อันหมายถึงมอบการบุญนี้เป็นอานิสงส์แด่ผู้อื่น</span> <span style=\"font-size: large\">อย่างนี้</span> <span style=\"font-size: large\">เป็นต้น</span> </span></p>\n<p>\n\n</p>\n<p>\n<span style=\"font-size: large\"><span style=\"font-family: Times New Roman\">พิธีกรรมในประเพณีตานก๋วยสลาก</span> </span><span style=\"font-size: large\"></span></p>\n<p>\nเมื่อถึงวันที่กำหนดชาวบ้านเจ้าของกัณฑ์สลาก<span style=\"font-size: small; font-family: Times New Roman\"> </span><span style=\"font-size: large\">จะจัดขบวนแห่เครื่องไทยทานเข้าวัดโดยขบวนแห่จะประกอบด้วยต้นสลาก</span><span style=\"font-size: small; font-family: Times New Roman\"> </span><span style=\"font-size: large\">ขบวนรถก๋วยสลาก</span><span style=\"font-size: small; font-family: Times New Roman\"> </span><span style=\"font-size: large\">แต่ละขบวนแห่จะมีการฟ้อนรำของศรัทธาชาวบ้านซึ่งจะมากันเป็นหมู่บ้าน</span><span style=\"font-size: small; font-family: Times New Roman\"> </span><span style=\"font-size: large\">เรียกว่า</span><span style=\"font-size: small; font-family: Times New Roman\"> </span><span style=\"font-size: large\">ศรัทธาของหมู่บ้านทั้งหมู่บ้านที่จัดประเพณีนี้ขึ้น</span><span style=\"font-size: small; font-family: Times New Roman\"> </span><span style=\"font-size: large\">และศรัทธาหมู่บ้านอื่นที่มาร่วมงาน</span><span style=\"font-family: Times New Roman\"><span style=\"font-size: small\"> </span></span>\n</p>\n<p><span style=\"font-size: large\"></span></p>\n<p>\nกัณฑ์สลากแต่ละกัณฑ์จะมีเส้นสลาก<span style=\"font-size: small; font-family: Times New Roman\"> </span><span style=\"font-size: large\">เขียนข้อความอุทิศส่วนบุญส่วนกุศลไปให้ผู้ที่ล่วงลับและเทวดาทั้งหลายและมี</span><span style=\"font-size: small; font-family: Times New Roman\"> </span><span style=\"font-size: large\">ชื่อเจ้าของกัณฑ์</span><span style=\"font-size: small; font-family: Times New Roman\"> </span><span style=\"font-size: large\">เส้นสลากที่เขียนจะเขียนลงในแผ่นใบตาล</span><span style=\"font-size: small; font-family: Times New Roman\"> </span><span style=\"font-size: large\">หรือใบลาน</span><span style=\"font-size: small; font-family: Times New Roman\"> </span><span style=\"font-size: large\">หรือกระดาษแข็ง</span><span style=\"font-size: small; font-family: Times New Roman\"> </span><span style=\"font-size: large\">เท่าจำนวนของเครื่องไทยทาน</span><span style=\"font-size: small; font-family: Times New Roman\"> </span><span style=\"font-size: large\">และนำเส้นสลากไปกองรวมกันยังที่กำหนดไว้</span><span style=\"font-size: small; font-family: Times New Roman\"> </span><span style=\"font-size: large\">ซึ่งส่วนใหญ่เป็นวิหารหน้าพระประธาน</span><span style=\"font-size: small; font-family: Times New Roman\"> </span><span style=\"font-size: large\">กรรมการจะจัดแบ่งสลากออกเป็นกอง</span><span style=\"font-size: small; font-family: Times New Roman\"> </span><span style=\"font-size: large\">ๆ</span><span style=\"font-size: small; font-family: Times New Roman\"> </span><span style=\"font-size: large\">ตาจำนวนที่</span><span style=\"font-size: small; font-family: Times New Roman\"> </span><span style=\"font-size: large\">พระภิกษุ</span><span style=\"font-size: small; font-family: Times New Roman\"> </span><span style=\"font-size: large\">สามเณร</span><span style=\"font-size: small; font-family: Times New Roman\"> </span><span style=\"font-size: large\">ที่นิมนต์มาร่วมพิธีและจัดแบ่งให้พระประธานด้วย</span><span style=\"font-size: small; font-family: Times New Roman\"> </span><span style=\"font-size: large\">ถือว่าเป็นตัวแทนของ</span><span style=\"font-size: small; font-family: Times New Roman\"> </span><span style=\"font-size: large\">พระพุทธเจ้า</span><span style=\"font-family: Times New Roman\"><span style=\"font-size: small\"> </span></span>\n</p>\n<p><span style=\"font-size: large\"></span></p>\n<p>\nถ้ามีสลากจำนวนมาก<span style=\"font-size: small; font-family: Times New Roman\"> </span><span style=\"font-size: large\">พระภิกษุจะได้รับ</span><span style=\"font-size: small; font-family: Times New Roman\"> 20 </span><span style=\"font-size: large\">เส้น</span><span style=\"font-size: small; font-family: Times New Roman\"> </span><span style=\"font-size: large\">สามเณรได้</span><span style=\"font-size: small; font-family: Times New Roman\"> 10 </span><span style=\"font-size: large\">เส้น</span><span style=\"font-size: small; font-family: Times New Roman\"> </span><span style=\"font-size: large\">เส้นที่เหลือสมทบถวายพระประธาน</span><span style=\"font-size: small; font-family: Times New Roman\"> </span><span style=\"font-size: large\">เมื่อเสร็จจากการแบ่งเส้นสลาก</span><span style=\"font-size: small; font-family: Times New Roman\"> </span><span style=\"font-size: large\">คณะกรรมการจะนำเส้นสลากที่แบ่งแล้วจำนวน</span><span style=\"font-size: small; font-family: Times New Roman\"> 1 </span><span style=\"font-size: large\">มัด</span><span style=\"font-size: small; font-family: Times New Roman\"> </span><span style=\"font-size: large\">ไปประเคนพระผู้อาวุโส</span><span style=\"font-size: small; font-family: Times New Roman\"> </span><span style=\"font-size: large\">ซึ่งเป็นประธานในพิธี</span><span style=\"font-size: small; font-family: Times New Roman\"> </span><span style=\"font-size: large\">ต่อจากนั้นกรรมการจึงนำเส้นสลากไปถวายพระเณรตามลำดับ</span><span style=\"font-family: Times New Roman\"><span style=\"font-size: small\"> </span></span>\n</p>\n<p><span style=\"font-size: large\">เมื่อพระสงฆ์อนุโมทนาจบแล้ว<span style=\"font-size: small; font-family: Times New Roman\"> </span><span style=\"font-size: large\">ชาวบ้านต่างแยกย้ายกันไปนั่ง</span><span style=\"font-size: small; font-family: Times New Roman\"> </span><span style=\"font-size: large\">ณ</span><span style=\"font-size: small; font-family: Times New Roman\"> </span><span style=\"font-size: large\">ที่จัดไว้ให้ชาวบ้านเจ้าของกัณฑ์สลากต่างพากันตามหาเส้นสลากของตนที่อยู่ใน</span><span style=\"font-size: small; font-family: Times New Roman\"> </span><span style=\"font-size: large\">มือของพระภิกษุสามเณร</span><span style=\"font-size: small; font-family: Times New Roman\"> </span><span style=\"font-size: large\">เมื่อพบแล้ว</span><span style=\"font-size: small; font-family: Times New Roman\"> </span><span style=\"font-size: large\">พระภิกษุสามเณรอ่านเส้นสลากแล้วจึงถวายของ</span><span style=\"font-size: small; font-family: Times New Roman\"> </span><span style=\"font-size: large\">เมื่อรับพรเสร็จรับเส้นสลากของตนไปเผา</span><span style=\"font-size: small; font-family: Times New Roman\"> </span><span style=\"font-size: large\">แล้วกรวดน้ำอุทิศส่วนกุศลไปหาผู้ที่ตายเป็นเสร็จพิธี </span><span style=\"font-size: large\"></span></span></p>\n<p>\nสำหรับเครื่องไทยทานที่จัดทำเป็นต้นกัลปพฤกษ์<span style=\"font-size: small; font-family: Times New Roman\"> </span><span style=\"font-size: large\">เจ้าของต้องนิมนต์พระภิกษุหรือสามเณรที่ได้เส้นสลากไปยังที่ตั้งของเครื่อง</span><span style=\"font-size: small; font-family: Times New Roman\"> </span><span style=\"font-size: large\">ไทยทานเพื่อถวาย</span><span style=\"font-family: Times New Roman\"><span style=\"font-size: small\"> </span></span>\n</p>\n<p><span style=\"font-size: large\">บางครั้งกัณฑ์สลากจัดทำเป็นหุ่นรูปสัตว์ต่าง<span style=\"font-size: small; font-family: Times New Roman\"> </span><span style=\"font-size: large\">ๆ</span><span style=\"font-size: small; font-family: Times New Roman\"> </span><span style=\"font-size: large\">เช่น</span><span style=\"font-size: small; font-family: Times New Roman\"> </span><span style=\"font-size: large\">ช้าง</span><span style=\"font-size: small; font-family: Times New Roman\"> </span><span style=\"font-size: large\">ม้า</span><span style=\"font-size: small; font-family: Times New Roman\"> </span><span style=\"font-size: large\">วัว</span><span style=\"font-size: small; font-family: Times New Roman\"> </span><span style=\"font-size: large\">ควาย</span><span style=\"font-size: small; font-family: Times New Roman\"> </span><span style=\"font-size: large\">ขนาดใกล้เคียงของจริงทำด้วยหุ่นโครงไม้ไผ่หุ้มด้วยผ้า</span><span style=\"font-size: small; font-family: Times New Roman\"> </span><span style=\"font-size: large\">ทาสีสันให้เหมือนสัตว์จริง</span><span style=\"font-size: small; font-family: Times New Roman\"> </span><span style=\"font-size: large\">การถวายมีลักษณะเช่นเดียวกับกัณฑ์สลากอื่น</span><span style=\"font-size: small; font-family: Times New Roman\"> </span><span style=\"font-size: large\">ๆ </span><span style=\"font-size: large\">การกินสลากนิยมจัดหลังจากการออกพรรษา<span style=\"font-size: small; font-family: Times New Roman\"> </span><span style=\"font-size: large\">ประเพณีตานก๋วยสลากบางหมู่บ้านจะจัดมีทุกปี</span><span style=\"font-size: small; font-family: Times New Roman\"> </span><span style=\"font-size: large\">บางหมู่บ้านอาจจัดเว้นปี</span><span style=\"font-size: small; font-family: Times New Roman\"> </span><span style=\"font-size: large\">หรือ</span><span style=\"font-size: small; font-family: Times New Roman\"> 3 </span><span style=\"font-size: large\">ปี</span><span style=\"font-size: small; font-family: Times New Roman\"> </span><span style=\"font-size: large\">จัดครั้งหนึ่ง</span><span style=\"font-size: small; font-family: Times New Roman\"> </span><span style=\"font-size: large\">หรือ</span><span style=\"font-size: small; font-family: Times New Roman\"> 4 </span><span style=\"font-size: large\">ปี</span><span style=\"font-size: small; font-family: Times New Roman\"> </span><span style=\"font-size: large\">หรือ</span><span style=\"font-size: small; font-family: Times New Roman\"> 5 </span><span style=\"font-size: large\">ปี</span><span style=\"font-size: small; font-family: Times New Roman\"> </span><span style=\"font-size: large\">ต่อครั้ง</span><span style=\"font-size: small; font-family: Times New Roman\"> </span><span style=\"font-size: large\">เพราะเนื่องจากต้องเสียค่าใช้จ่ายสูงในการจัดทำกัณฑ์สลาก </span><span style=\"font-size: large\"></span></span></span></p>\n<p>\nการตานก๋วยสลากจึงเป็นสิ่งสะท้อนถึงสภาพเศรษฐกิจของชุมชนและความสามัคคีร่วม<span style=\"font-size: small; font-family: Times New Roman\"> </span><span style=\"font-size: large\">แรงร่วมใจของชาวบ้าน</span><span style=\"font-size: small; font-family: Times New Roman\"> </span><span style=\"font-size: large\">การสืบสานประเพณีไทยและการจรรโลงพุทธศาสนา</span><span style=\"font-size: small; font-family: Times New Roman\"> </span>\n</p>\n<p>\n<span style=\"font-size: small; font-family: Times New Roman\"></span></p>\n', created = 1719991235, expire = 1720077635, headers = '', serialized = 0 WHERE cid = '3:4c4f4ecfc672be1c8795903d105bcbd4' in /home/tgv/htdocs/includes/cache.inc on line 112.

ประเพณีสลากภัต

รูปภาพของ sjprangub

การทำเส้นสลาก

เส้นสลากทำจากใบตาลหรือใบลาน แล้วเขียนข้อความอุทิศส่วนบุญส่วนกุศลไปให้ผู้ที่ ล่วงลับและเทวดาทั้งหลาย และเส้นสลากจะมีการทำเครื่องหมายที่แตกต่างกันออกไป ในสลากอาจจะเขียนว่า

สลากข้าวซองนี้ หมายมีผู้ข้า นาย....... นางสาว.......... ขอทานไว้กับตนตัวภายหน้า” อันหมายถึง ขอทำบุญไว้กับตนเองผู้ข้า..............ขอทานไว้แก่ นาง..... ขอหื้อเป็นสุขเป็นสุขเถิด” อันหมายถึงมอบการบุญนี้เป็นอานิสงส์แด่ผู้อื่น อย่างนี้ เป็นต้น

พิธีกรรมในประเพณีตานก๋วยสลาก

เมื่อถึงวันที่กำหนดชาวบ้านเจ้าของกัณฑ์สลาก จะจัดขบวนแห่เครื่องไทยทานเข้าวัดโดยขบวนแห่จะประกอบด้วยต้นสลาก ขบวนรถก๋วยสลาก แต่ละขบวนแห่จะมีการฟ้อนรำของศรัทธาชาวบ้านซึ่งจะมากันเป็นหมู่บ้าน เรียกว่า ศรัทธาของหมู่บ้านทั้งหมู่บ้านที่จัดประเพณีนี้ขึ้น และศรัทธาหมู่บ้านอื่นที่มาร่วมงาน

กัณฑ์สลากแต่ละกัณฑ์จะมีเส้นสลาก เขียนข้อความอุทิศส่วนบุญส่วนกุศลไปให้ผู้ที่ล่วงลับและเทวดาทั้งหลายและมี ชื่อเจ้าของกัณฑ์ เส้นสลากที่เขียนจะเขียนลงในแผ่นใบตาล หรือใบลาน หรือกระดาษแข็ง เท่าจำนวนของเครื่องไทยทาน และนำเส้นสลากไปกองรวมกันยังที่กำหนดไว้ ซึ่งส่วนใหญ่เป็นวิหารหน้าพระประธาน กรรมการจะจัดแบ่งสลากออกเป็นกอง ตาจำนวนที่ พระภิกษุ สามเณร ที่นิมนต์มาร่วมพิธีและจัดแบ่งให้พระประธานด้วย ถือว่าเป็นตัวแทนของ พระพุทธเจ้า

ถ้ามีสลากจำนวนมาก พระภิกษุจะได้รับ 20 เส้น สามเณรได้ 10 เส้น เส้นที่เหลือสมทบถวายพระประธาน เมื่อเสร็จจากการแบ่งเส้นสลาก คณะกรรมการจะนำเส้นสลากที่แบ่งแล้วจำนวน 1 มัด ไปประเคนพระผู้อาวุโส ซึ่งเป็นประธานในพิธี ต่อจากนั้นกรรมการจึงนำเส้นสลากไปถวายพระเณรตามลำดับ

เมื่อพระสงฆ์อนุโมทนาจบแล้ว ชาวบ้านต่างแยกย้ายกันไปนั่ง ที่จัดไว้ให้ชาวบ้านเจ้าของกัณฑ์สลากต่างพากันตามหาเส้นสลากของตนที่อยู่ใน มือของพระภิกษุสามเณร เมื่อพบแล้ว พระภิกษุสามเณรอ่านเส้นสลากแล้วจึงถวายของ เมื่อรับพรเสร็จรับเส้นสลากของตนไปเผา แล้วกรวดน้ำอุทิศส่วนกุศลไปหาผู้ที่ตายเป็นเสร็จพิธี

สำหรับเครื่องไทยทานที่จัดทำเป็นต้นกัลปพฤกษ์ เจ้าของต้องนิมนต์พระภิกษุหรือสามเณรที่ได้เส้นสลากไปยังที่ตั้งของเครื่อง ไทยทานเพื่อถวาย

บางครั้งกัณฑ์สลากจัดทำเป็นหุ่นรูปสัตว์ต่าง เช่น ช้าง ม้า วัว ควาย ขนาดใกล้เคียงของจริงทำด้วยหุ่นโครงไม้ไผ่หุ้มด้วยผ้า ทาสีสันให้เหมือนสัตว์จริง การถวายมีลักษณะเช่นเดียวกับกัณฑ์สลากอื่น การกินสลากนิยมจัดหลังจากการออกพรรษา ประเพณีตานก๋วยสลากบางหมู่บ้านจะจัดมีทุกปี บางหมู่บ้านอาจจัดเว้นปี หรือ 3 ปี จัดครั้งหนึ่ง หรือ 4 ปี หรือ 5 ปี ต่อครั้ง เพราะเนื่องจากต้องเสียค่าใช้จ่ายสูงในการจัดทำกัณฑ์สลาก

การตานก๋วยสลากจึงเป็นสิ่งสะท้อนถึงสภาพเศรษฐกิจของชุมชนและความสามัคคีร่วม แรงร่วมใจของชาวบ้าน การสืบสานประเพณีไทยและการจรรโลงพุทธศาสนา

สร้างโดย: 
นายระงับ กันทอน

มหาวิทยาลัยศรีปทุม ผู้ใหญ่ใจดี
 

 ช่วยด้วยครับ
นักเรียนที่สร้างบล็อก กรุณาอย่า
คัดลอกข้อมูลจากเว็บอื่นทั้งหมด
ควรนำมาจากหลายๆ เว็บ แล้ววิเคราะห์ สังเคราะห์ และเขียนขึ้นใหม่
หากคัดลอกทั้งหมด จะถูกดำเนินคดี
ตามกฎหมายจากเจ้าของลิขสิทธิ์
มีโทษทั้งจำคุกและปรับในอัตราสูง

ช่วยกันนะครับ 
ไทยกู๊ดวิวจะได้อยู่นานๆ 
ไม่ถูกปิดเสียก่อน

ขอขอบคุณในความร่วมมือครับ

อ่านรายละเอียด

ด่วน...... ขณะนี้
พระราชบัญญัติลิขสิทธิ์ (ฉบับที่ 2) พ.ศ. 2558 
มีผลบังคับใช้แล้ว 
ขอให้นักเรียนและคุณครูที่ใช้งาน
เว็บ thaigoodview ในการส่งการบ้าน
ระมัดระวังการละเมิดลิขสิทธิ์ด้วย
อ่านรายละเอียดที่นี่ครับ

 

สมาชิกที่ออนไลน์

ขณะนี้มี สมาชิก 0 คน และ ผู้เยี่ยมชม 520 คน กำลังออนไลน์