ประเพณีสลากภัต

รูปภาพของ sjprangub

ประเพณีตานก๋วยสลาก

บรรยากาศของเมืองเหนือ” ชาวเมืองยังคงยึดถือวัฒนธรรมแบบล้านนา” ทั้งทางด้านการแต่งกาย ภาษาพูด และขนมธรรมเนียมประเพณีซึ่งมีทั้งที่มาจากความเชื่อในลัทธิถือเจ้าถือผี เช่น การส่งเคราะห์ ส่งหาบส่งกอน ส่งปู่แถนย่าแถน สืบชะตาคน สืบชะตาข้าว สืบชะตาควาย (หลังสิ้น สุดการทำงาน) ประเพณีสงกรานต์และความเชื่อในพุทธศาสนา เช่น การทำบุญตักบาตรในวันสำคัญทางพุทธศาสนา รวมไปถึงประเพณีตายก๋วยสลาก หรือประเพณีถวายสลาก- ภัตของภาคกลาง

ประเพณี "ตานก๋วยสลาก" หรือ "สลากภัต" ชาวล้านนานิยมปฏิบัติกัน ตั้งแต่เดือน ๑๒ เหนือ ถึงเดือนยี่เหนือ หรือตั้งแต่เดือนกันยายน ถึงเดือนตุลาคมของทุกปี


ประวัติความเป็นมา

ของประเพณีตานก๋วยสลาก

มีเรื่องเล่าไว้ในคัมภีร์ธรรมบทว่า มีนางยักษิณีตนหนึ่งรู้ฤกษ์ยามเป็นอันดี ปีไหนฝนดีนางก็บอกให้ชาวเมืองทำนาในที่ดอน ปีไหลฝนไม่ดี นางก็บอกให้ชาวเมืองทำนาทำไร่ในที่ลุ่ม ชาวเมืองได้อาศัยนางยักษิณีทำมาหากินจำเริญวัฒนาไม่มีความเสียหาย เมื่อชาวเมืองรำลึกถึงอุปการะของนางถึงต่างพากันนำเครื่องสักการะไปให้นาง เป็นอันมาก นางจึงนำเอาเครื่องสักการะเหล่านั้นถวายเป็นสลากภัตแด่พระภิกษุสงฆ์ จึงเกิดเป็นธรรมเนียมปฏิบัติสืบต่อกันมาจนบัดนี้

ไปทำบุญด้วยกันไหม 

สร้างโดย: 
นายระงับ กันทอน

มหาวิทยาลัยศรีปทุม ผู้ใหญ่ใจดี
 

 ช่วยด้วยครับ
นักเรียนที่สร้างบล็อก กรุณาอย่า
คัดลอกข้อมูลจากเว็บอื่นทั้งหมด
ควรนำมาจากหลายๆ เว็บ แล้ววิเคราะห์ สังเคราะห์ และเขียนขึ้นใหม่
หากคัดลอกทั้งหมด จะถูกดำเนินคดี
ตามกฎหมายจากเจ้าของลิขสิทธิ์
มีโทษทั้งจำคุกและปรับในอัตราสูง

ช่วยกันนะครับ 
ไทยกู๊ดวิวจะได้อยู่นานๆ 
ไม่ถูกปิดเสียก่อน

ขอขอบคุณในความร่วมมือครับ

อ่านรายละเอียด

ด่วน...... ขณะนี้
พระราชบัญญัติลิขสิทธิ์ (ฉบับที่ 2) พ.ศ. 2558 
มีผลบังคับใช้แล้ว 
ขอให้นักเรียนและคุณครูที่ใช้งาน
เว็บ thaigoodview ในการส่งการบ้าน
ระมัดระวังการละเมิดลิขสิทธิ์ด้วย
อ่านรายละเอียดที่นี่ครับ

 

สมาชิกที่ออนไลน์

ขณะนี้มี สมาชิก 0 คน และ ผู้เยี่ยมชม 556 คน กำลังออนไลน์