• user warning: Duplicate entry '536306482' for key 'PRIMARY' query: INSERT INTO accesslog (title, path, url, hostname, uid, sid, timer, timestamp) values('เมนูอาหารแนะนำเพื่อสุขภาพ', 'node/42362', '', '3.17.4.164', 0, '34dec591a8546b7b2bf59cd6698f4447', 215, 1716797410) in /home/tgv/htdocs/modules/statistics/statistics.module on line 63.
  • user warning: Table 'cache_filter' is marked as crashed and should be repaired query: SELECT data, created, headers, expire, serialized FROM cache_filter WHERE cid = '3:5ad12b5783c43f3d1684d8d1dad367ac' in /home/tgv/htdocs/includes/cache.inc on line 27.
  • user warning: Table 'cache_filter' is marked as crashed and should be repaired query: UPDATE cache_filter SET data = '<!--paging_filter--><p><strong><span style=\"color: #800080\"><span style=\"color: #ff99cc\"><span><span style=\"color: #ff99cc\"><span style=\"color: #000000\"><span style=\"color: #0000ff\">         <span style=\"color: #0000ff\"> <span style=\"color: #0000ff\">ขั้นตอนการทำโครงงาน</span></span></span><br />\n          การทำโครงงานเป็นกิจกรรมที่ต่อเนื่อง และมีการดำเนินงานหลายขั้นตอน ตั้งแต่เริ่มต้นจนถึงขั้นสุดท้ายอาจสรุปลำดับได้ดังนี้<br />\n 1.   ศึกษาคำอธิบายรายวิชา  จุดประสงค์รายวิชา<br />\n 2.   ฟังคำชี้แจงจากครู<br />\n 3.   กระบวนการแบ่งกลุ่ม<br />\n 4.   ศึกษาตัวอย่างโครงร่าง<br />\n 5.   ศึกษาส่วนประกอบของโครงร่างและวิธีเขียนแต่ละหัวข้อ<br />\n</span></span></span><strong><span style=\"color: #800080\"><span style=\"color: #ff99cc\"><span style=\"color: #000000\"> 6.   เลือก/กำหนดหัวข้อเรื่องให้สอดคล้องกับความสนใจ ความถนัด  ความสามารถของตนเอง หรือของกลุ่ม</span></span></span></strong></span></span></strong>\n</p>\n<p>\n<strong><span style=\"color: #800080\"><span style=\"color: #ff99cc\"><strong><span style=\"color: #800080\"><span style=\"color: #ff99cc\"><span style=\"color: #000000\">       ประชุมกลุ่ม</span></span></span></strong></span></span></strong><strong><span style=\"color: #800080\"><span style=\"color: #ff99cc\"><strong><span style=\"color: #800080\"><span style=\"color: #ff99cc\"><span style=\"color: #000000\"><span style=\"color: #0000ff\"><span style=\"color: #000000\">เขียนโครงร่างนำเสนอต่อเพื่อนและครู เพื่อรับฟังคำแนะนำและปรับปรุงแก้ไข</span><br />\n</span> 7.   จัดทำโครงร่างที่ปรับปรุงแก้ไขแล้วส่งให้ครูพิจารณาอนุมัติ<br />\n 8.   ดำเนินการศึกษาค้นคว้า / ทำเครื่องมือ เก็บข้อมูล  วิเคราะห์สังเคราะห์ข้อมูล<br />\n 9.   ศึกษารูปแบบและเขียนรายงาน<br />\n 10.  สรุปรายงานโครงงาน<br />\n 11.  จัดทำสื่อประกอบการนำเสนอ เช่นแผ่นพับ  สื่อICT (E-Book , Power Point อื่นๆ )<br />\n 12.  นำเสนอผลการทำโครงงาน<br />\n 13.  เผยแพร่ / จัดนิทรรศการแสดงผลงาน</span></span></span></strong> </span></span></strong>\n</p>\n<p><strong><span style=\"color: #800080\"><span style=\"color: #ff99cc\"></span></span></strong><span style=\"color: #800080\"><span style=\"color: #ff99cc\"></span></span><span style=\"color: #800080\"><span style=\"color: #ff99cc\"></span></span></p>\n<div style=\"text-align: center\">\n <img src=\"http://www.zonenew.info/animation-images/animation-cartoon-004.gif\" />\n</div>\n<p>\n<span style=\"font-size: large\"><span style=\"font-family: AngsanaUPC\"><span style=\"color: #ff0000\"><span style=\"color: #0000ff\"><span style=\"font-size: medium\"><span style=\"color: #0000ff\"><b><span lang=\"TH\">ขั้นตอนการทำโครงงาน</span></b><b><span lang=\"TH\">วัฒนธรรมท้องถิ่น</span></b></span></span></span></span></span></span>\n</p>\n<p>\n<span style=\"color: #ff00ff\"> <span style=\"color: #ff0000\">1.การคิดและเลือกหัวเรื่อง</span></span> <br />\n<span style=\"color: #000000\"> ผู้เรียนจะต้องคิดและเลือกหัวเรื่องของโครงงานหน่วยการเรียนรู้เรื่องวัฒนธรรมท้องถิ่น<br />\nด้วยตนเองว่าอยากจะศึกษาอะไร ทำไมจึงอยากศึกษา หัวเรื่องของโครงงานมักจะได้มาจากปัญหา คำถามหรือความอยากรู้ อยากเห็นเกี่ยวกับเรื่องต่างๆของผู้เรียนเอง หัวเรื่องของโครงงานควรเฉพาะเจาะจงและชัดเจน เมื่อใครได้อ่านชื่อเรื่องแล้ว ควรเข้าใจและรู้เรื่องว่า โครงงานนี้ทำอะไร การกำหนดหัวเรื่องของโครงงานนั้น มีแหล่งที่จะช่วยกระตุ้นให้เกิดความคิดและสมใจ จากหลายแหล่งด้วยกัน เช่นจากการอ่านหนังสือ เอกสาร  การไปเยี่ยมชมสถานที่ต่างๆ ในท้องถิ่นของนักเรียน การฟังบรรยายทางวิชาการ  การเข้าชมนิทรรศการ <br />\nการสนทนากับบุคคลต่างๆ เป็นต้น </span>\n</p>\n<p>\n<span style=\"color: #ff00ff\"><span style=\"color: #ff0000\">2.การวางแผน</span></span> <br />\n<span style=\"color: #000000\">การวางแผนการทำโครงงานจะรวมถึงการเขียนเค้าโครงของโครงงานซึ่งต้องมีการวางแผนไว้ล่วงหน้า เพื่อให้การดำเนินการเป็นไปอย่างรัดกุมและรอบคอบ ไม่สับสน แล้วนำเสนอต่อผู้สอน หรือครูที่ปรึกษา เพื่อขอความเห็นชอบก่อนดำเนินการขั้นต่อไป<br />\nการเขียนเค้าโครงของโครงงาน โดยทั่วไปเขียนเพื่อแสดงแนวคิดแผนงาน และขั้นตอนการทำโครงงาน ซึ่งควรประกอบด้วยหัวข้อต่อไปนี้<br />\n1)  ชื่อโครงงาน ควรเป็นข้อความที่กะทัดรัด ชัดเจนสื่อความหมายได้ตรง<br />\n2)  ชื่อผู้ทำโครงงาน/ชั้น/ปีการศึกษา<br />\n3)  ชื่อที่ปรึกษาโครงงาน<br />\n4)  หลักการและเหตุผลของโครงงาน เป็นการอธิบายว่าเหตุใดจึงเลือกทำโครงงานเรื่องนี้ มีความสำคัญอย่างไร มีหลักการหรือทฤษฎีอะไรที่เกี่ยวข้อง เรื่องที่ทำเป็นเรื่องใหม่หรือผู้อื่นได้ศึกษา ค้นคว้าเรื่องนี้ไว้บ้างแล้ว ถ้ามีได้ผลอย่างไร เรื่องที่ทำได้ขยายเพิ่มเติมปรับปรุงจากเรื่องที่ผู้อื่นทำไว้อย่างไร หรือเป็นการทำซ้ำเพื่อตรวจสอบผล<br />\n5)  จุดมุ่งหมาย/วัตถุประสงค์ ควรมีความเฉพาะเจาะจงและสามารถวัดได้ เป็นการบอกขอบเขตของงานที่จะทำได้ชัดเจนขึ้น<br />\n6)  สมมติฐานของการศึกษาค้นคว้า(ถ้ามี) สมมติฐานเป็นคำตอบ หรือคำอธิบายที่คาดไว้ล่วงหน้า ซึ่งอาจจะถูกหรือไม่ก็ได้การเขียนสมมติฐานควรมีเหตุมีผล มีทฤษฎี หรือหลักการ รองรับและที่สำคัญคือเป็นข้อความที่มองเห็นแนวทางการในการดำเนินการทดสอบได้ นอกจากนี้ควรมีความสัมพันธ์ระหว่างตัวแปรอิสระและตัวแปรตามด้วย<br />\n7)  วิธีดำเนินงาน/ขั้นตอนการดำเนินงาน จะต้องอธิบายว่าจะออกแบบการทดลองอะไร อย่างไร จะเก็บข้อมูลอะไรบ้าง รวมทั้งระบุวัสดุอุปกรณ์ที่จำเป็นต้องใช้มีอะไรบ้าง<br />\n8)  แผนปฏิบัติงาน อธิบายเกี่ยวกับกำหนดเวลาตั้งแต่เริ่มต้นจนเสร็จสิ้นการดำเนินงานในแต่ละขั้นตอน<br />\n9)  ผลที่คาดว่าจะได้รับ<br />\n10)  เอกสารอ้างอิง </span>\n</p>\n<p>\n<span style=\"color: #ff00ff\"><span style=\"color: #ff0000\">3.การดำเนินงาน</span></span><br />\n<span style=\"color: #000000\">แผนและขั้นตอนของการทำโครงงานนั้น ซึ่งควรประกอบด้วยหัวข้อต่อไปนี้<br />\n1. ชื่อโครงงาน<br />\n2. ชื่อผู้ทำโครงงาน<br />\n3. ชื่อที่ปรึกษาโครงงาน<br />\n4. ที่มาและความสำคัญของโครงงาน อธิบายว่าเหตุใดจึงเลือกทำโครงงานนี้โครงงานเรื่องนี้มีความสำคัญอย่างไร  มีหลักการหรือทฤษฏีอะไรที่เกี่ยวข้อง เรื่องที่ทำเป็นเรื่องใหม่หรือมีผู้อื่นได้เคยศึกษา  ค้นคว้าทำนองนี้ไว้บ้างแล้ว  ถ้ามี ได้ผลเป็นอย่างไร หรือเป็นการทำซ้ำเพื่อตรวจสอบผล<br />\n5. จุดมุ่งหมายของการศึกษาค้นคว้า<br />\n6. สมมุติฐานของการศึกษาค้นคว้า  ( ถ้ามี )  <br />\n7. วิธีดำเนินงาน<br />\n   1)  วัสดุอุปกรณ์ที่ต้องใช้ระบุว่ามีอะไรบ้าง จะได้มาจากไหน อะไรบ้างที่จะต้องจัดซื้อ อะไรบ้างที่จัดทำเอง  อะไรบ้างที่ขอยืมได้    <br />\n   2)  แนวการศึกษาค้นคว้าอะไร  อย่างไร  จะเก็บข้อมูลอะไรบ้าง  บ่อยครั้งและมากน้อยเพียงใด <br />\n8. แผนปฏิบัติงาน  อธิบายเกี่ยวกับเวลาเริ่มต้นและเวลาสิ้นสุดของการดำเนินงานในแต่ละขั้นตอน<br />\n9.  ผลที่คาดว่าจะได้รับ<br />\n10. เอกสารอ้างอิง การลงมือทำโครงงาน  เมื่อเค้าโครงของโครงงานได้รับความเห็นชอบจากอาจารย์ที่ปรึกษาแล้วก็เสมือนว่างานของนักเรียนเสร็จไปแล้วมากกกว่าครึ่งหนึ่ง    ต่อไปก็เป็นขั้นลงมือปฏิบัติงานตามขั้นตอนที่ระบุไว้ในเค้าโครงที่เสนออาจารย์ที่ปรึกษา ซึ่งควรคำนึงถึงเรื่องต่อไปนี้<br />\n 1)  เตรียมวัสดุอุปกรณ์ และสถานที่ให้พร้อมก่อนลงพื้นที่ หรือแหล่งเรียนรู้ในท้องถิ่น<br />\n 2)   มีสมุดบันทึกกิจกรรมประจำวันได้ทำอะไรไป   ได้ผลอย่างไร    มีปัญหาและข้อคิดเห็นอย่างไร<br />\n 3)   ปฏิบัติการด้วยความละเอียดรอบคอบ   และบันทึกข้อมูลไว้ให้เป็นหลักฐานเป็นระเบียบครบถ้วน<br />\n 4)   คำนึงถึงความประหยัดและความปลอดภัยในการทำงาน<br />\n 5)   พยายามทำตามแผนงานที่วางไว้ในตอนแรก และอาจเปลี่ยนแปลงหรือเพิ่มเติมบ้าง หลังจากที่ได้เริ่มต้นดำเนินงานไปแล้ว ถ้าคิดว่าจะทำให้ผลงานดีขึ้น<br />\n 6)   ควรปฏิบัติการซ้ำเพื่อให้ได้ข้อมูลที่เชื่อถือได้มากที่สุด<br />\n 7)   ควรแบ่งงานเป็นส่วนย่อย  ๆ   และทำแต่ละส่วนให้สำเร็จก่อนทำส่วนอื่นต่อไป<br />\n 8)   ควรทำงานส่วนที่เป็นหลักสำคัญ  ๆให้เสร็จก่อน จึงจะทำส่วนที่เป็นส่วนประกอบหรือส่วนเสริมแต่งโครงงาน<br />\n 9)   อย่าทำต่อเนื่องจนเมื่อยล้า จะทำให้ขาด</span><span style=\"color: #000000\">ความระมัดระวัง</span>\n</p>\n<p></p>', created = 1716797420, expire = 1716883820, headers = '', serialized = 0 WHERE cid = '3:5ad12b5783c43f3d1684d8d1dad367ac' in /home/tgv/htdocs/includes/cache.inc on line 112.

การจัดการเรียนรู้แบบโครงงานเรื่องวัฒนธรรมท้องถิ่น

รูปภาพของ mwksaipin

          ขั้นตอนการทำโครงงาน
          การทำโครงงานเป็นกิจกรรมที่ต่อเนื่อง และมีการดำเนินงานหลายขั้นตอน ตั้งแต่เริ่มต้นจนถึงขั้นสุดท้ายอาจสรุปลำดับได้ดังนี้
 1.   ศึกษาคำอธิบายรายวิชา  จุดประสงค์รายวิชา
 2.   ฟังคำชี้แจงจากครู
 3.   กระบวนการแบ่งกลุ่ม
 4.   ศึกษาตัวอย่างโครงร่าง
 5.   ศึกษาส่วนประกอบของโครงร่างและวิธีเขียนแต่ละหัวข้อ
 6.   เลือก/กำหนดหัวข้อเรื่องให้สอดคล้องกับความสนใจ ความถนัด  ความสามารถของตนเอง หรือของกลุ่ม

       ประชุมกลุ่มเขียนโครงร่างนำเสนอต่อเพื่อนและครู เพื่อรับฟังคำแนะนำและปรับปรุงแก้ไข
 7.   จัดทำโครงร่างที่ปรับปรุงแก้ไขแล้วส่งให้ครูพิจารณาอนุมัติ
 8.   ดำเนินการศึกษาค้นคว้า / ทำเครื่องมือ เก็บข้อมูล  วิเคราะห์สังเคราะห์ข้อมูล
 9.   ศึกษารูปแบบและเขียนรายงาน
 10.  สรุปรายงานโครงงาน
 11.  จัดทำสื่อประกอบการนำเสนอ เช่นแผ่นพับ  สื่อICT (E-Book , Power Point อื่นๆ )
 12.  นำเสนอผลการทำโครงงาน
 13.  เผยแพร่ / จัดนิทรรศการแสดงผลงาน

 

ขั้นตอนการทำโครงงานวัฒนธรรมท้องถิ่น

 1.การคิดและเลือกหัวเรื่อง
 ผู้เรียนจะต้องคิดและเลือกหัวเรื่องของโครงงานหน่วยการเรียนรู้เรื่องวัฒนธรรมท้องถิ่น
ด้วยตนเองว่าอยากจะศึกษาอะไร ทำไมจึงอยากศึกษา หัวเรื่องของโครงงานมักจะได้มาจากปัญหา คำถามหรือความอยากรู้ อยากเห็นเกี่ยวกับเรื่องต่างๆของผู้เรียนเอง หัวเรื่องของโครงงานควรเฉพาะเจาะจงและชัดเจน เมื่อใครได้อ่านชื่อเรื่องแล้ว ควรเข้าใจและรู้เรื่องว่า โครงงานนี้ทำอะไร การกำหนดหัวเรื่องของโครงงานนั้น มีแหล่งที่จะช่วยกระตุ้นให้เกิดความคิดและสมใจ จากหลายแหล่งด้วยกัน เช่นจากการอ่านหนังสือ เอกสาร  การไปเยี่ยมชมสถานที่ต่างๆ ในท้องถิ่นของนักเรียน การฟังบรรยายทางวิชาการ  การเข้าชมนิทรรศการ
การสนทนากับบุคคลต่างๆ เป็นต้น

2.การวางแผน
การวางแผนการทำโครงงานจะรวมถึงการเขียนเค้าโครงของโครงงานซึ่งต้องมีการวางแผนไว้ล่วงหน้า เพื่อให้การดำเนินการเป็นไปอย่างรัดกุมและรอบคอบ ไม่สับสน แล้วนำเสนอต่อผู้สอน หรือครูที่ปรึกษา เพื่อขอความเห็นชอบก่อนดำเนินการขั้นต่อไป
การเขียนเค้าโครงของโครงงาน โดยทั่วไปเขียนเพื่อแสดงแนวคิดแผนงาน และขั้นตอนการทำโครงงาน ซึ่งควรประกอบด้วยหัวข้อต่อไปนี้
1)  ชื่อโครงงาน ควรเป็นข้อความที่กะทัดรัด ชัดเจนสื่อความหมายได้ตรง
2)  ชื่อผู้ทำโครงงาน/ชั้น/ปีการศึกษา
3)  ชื่อที่ปรึกษาโครงงาน
4)  หลักการและเหตุผลของโครงงาน เป็นการอธิบายว่าเหตุใดจึงเลือกทำโครงงานเรื่องนี้ มีความสำคัญอย่างไร มีหลักการหรือทฤษฎีอะไรที่เกี่ยวข้อง เรื่องที่ทำเป็นเรื่องใหม่หรือผู้อื่นได้ศึกษา ค้นคว้าเรื่องนี้ไว้บ้างแล้ว ถ้ามีได้ผลอย่างไร เรื่องที่ทำได้ขยายเพิ่มเติมปรับปรุงจากเรื่องที่ผู้อื่นทำไว้อย่างไร หรือเป็นการทำซ้ำเพื่อตรวจสอบผล
5)  จุดมุ่งหมาย/วัตถุประสงค์ ควรมีความเฉพาะเจาะจงและสามารถวัดได้ เป็นการบอกขอบเขตของงานที่จะทำได้ชัดเจนขึ้น
6)  สมมติฐานของการศึกษาค้นคว้า(ถ้ามี) สมมติฐานเป็นคำตอบ หรือคำอธิบายที่คาดไว้ล่วงหน้า ซึ่งอาจจะถูกหรือไม่ก็ได้การเขียนสมมติฐานควรมีเหตุมีผล มีทฤษฎี หรือหลักการ รองรับและที่สำคัญคือเป็นข้อความที่มองเห็นแนวทางการในการดำเนินการทดสอบได้ นอกจากนี้ควรมีความสัมพันธ์ระหว่างตัวแปรอิสระและตัวแปรตามด้วย
7)  วิธีดำเนินงาน/ขั้นตอนการดำเนินงาน จะต้องอธิบายว่าจะออกแบบการทดลองอะไร อย่างไร จะเก็บข้อมูลอะไรบ้าง รวมทั้งระบุวัสดุอุปกรณ์ที่จำเป็นต้องใช้มีอะไรบ้าง
8)  แผนปฏิบัติงาน อธิบายเกี่ยวกับกำหนดเวลาตั้งแต่เริ่มต้นจนเสร็จสิ้นการดำเนินงานในแต่ละขั้นตอน
9)  ผลที่คาดว่าจะได้รับ
10)  เอกสารอ้างอิง

3.การดำเนินงาน
แผนและขั้นตอนของการทำโครงงานนั้น ซึ่งควรประกอบด้วยหัวข้อต่อไปนี้
1. ชื่อโครงงาน
2. ชื่อผู้ทำโครงงาน
3. ชื่อที่ปรึกษาโครงงาน
4. ที่มาและความสำคัญของโครงงาน อธิบายว่าเหตุใดจึงเลือกทำโครงงานนี้โครงงานเรื่องนี้มีความสำคัญอย่างไร  มีหลักการหรือทฤษฏีอะไรที่เกี่ยวข้อง เรื่องที่ทำเป็นเรื่องใหม่หรือมีผู้อื่นได้เคยศึกษา  ค้นคว้าทำนองนี้ไว้บ้างแล้ว  ถ้ามี ได้ผลเป็นอย่างไร หรือเป็นการทำซ้ำเพื่อตรวจสอบผล
5. จุดมุ่งหมายของการศึกษาค้นคว้า
6. สมมุติฐานของการศึกษาค้นคว้า  ( ถ้ามี ) 
7. วิธีดำเนินงาน
   1)  วัสดุอุปกรณ์ที่ต้องใช้ระบุว่ามีอะไรบ้าง จะได้มาจากไหน อะไรบ้างที่จะต้องจัดซื้อ อะไรบ้างที่จัดทำเอง  อะไรบ้างที่ขอยืมได้   
   2)  แนวการศึกษาค้นคว้าอะไร  อย่างไร  จะเก็บข้อมูลอะไรบ้าง  บ่อยครั้งและมากน้อยเพียงใด
8. แผนปฏิบัติงาน  อธิบายเกี่ยวกับเวลาเริ่มต้นและเวลาสิ้นสุดของการดำเนินงานในแต่ละขั้นตอน
9.  ผลที่คาดว่าจะได้รับ
10. เอกสารอ้างอิง การลงมือทำโครงงาน  เมื่อเค้าโครงของโครงงานได้รับความเห็นชอบจากอาจารย์ที่ปรึกษาแล้วก็เสมือนว่างานของนักเรียนเสร็จไปแล้วมากกกว่าครึ่งหนึ่ง    ต่อไปก็เป็นขั้นลงมือปฏิบัติงานตามขั้นตอนที่ระบุไว้ในเค้าโครงที่เสนออาจารย์ที่ปรึกษา ซึ่งควรคำนึงถึงเรื่องต่อไปนี้
 1)  เตรียมวัสดุอุปกรณ์ และสถานที่ให้พร้อมก่อนลงพื้นที่ หรือแหล่งเรียนรู้ในท้องถิ่น
 2)   มีสมุดบันทึกกิจกรรมประจำวันได้ทำอะไรไป   ได้ผลอย่างไร    มีปัญหาและข้อคิดเห็นอย่างไร
 3)   ปฏิบัติการด้วยความละเอียดรอบคอบ   และบันทึกข้อมูลไว้ให้เป็นหลักฐานเป็นระเบียบครบถ้วน
 4)   คำนึงถึงความประหยัดและความปลอดภัยในการทำงาน
 5)   พยายามทำตามแผนงานที่วางไว้ในตอนแรก และอาจเปลี่ยนแปลงหรือเพิ่มเติมบ้าง หลังจากที่ได้เริ่มต้นดำเนินงานไปแล้ว ถ้าคิดว่าจะทำให้ผลงานดีขึ้น
 6)   ควรปฏิบัติการซ้ำเพื่อให้ได้ข้อมูลที่เชื่อถือได้มากที่สุด
 7)   ควรแบ่งงานเป็นส่วนย่อย  ๆ   และทำแต่ละส่วนให้สำเร็จก่อนทำส่วนอื่นต่อไป
 8)   ควรทำงานส่วนที่เป็นหลักสำคัญ  ๆให้เสร็จก่อน จึงจะทำส่วนที่เป็นส่วนประกอบหรือส่วนเสริมแต่งโครงงาน
 9)   อย่าทำต่อเนื่องจนเมื่อยล้า จะทำให้ขาด
ความระมัดระวัง

สร้างโดย: 
ครูสายพิน วงษารัตน์

มหาวิทยาลัยศรีปทุม ผู้ใหญ่ใจดี
 

 ช่วยด้วยครับ
นักเรียนที่สร้างบล็อก กรุณาอย่า
คัดลอกข้อมูลจากเว็บอื่นทั้งหมด
ควรนำมาจากหลายๆ เว็บ แล้ววิเคราะห์ สังเคราะห์ และเขียนขึ้นใหม่
หากคัดลอกทั้งหมด จะถูกดำเนินคดี
ตามกฎหมายจากเจ้าของลิขสิทธิ์
มีโทษทั้งจำคุกและปรับในอัตราสูง

ช่วยกันนะครับ 
ไทยกู๊ดวิวจะได้อยู่นานๆ 
ไม่ถูกปิดเสียก่อน

ขอขอบคุณในความร่วมมือครับ

อ่านรายละเอียด

ด่วน...... ขณะนี้
พระราชบัญญัติลิขสิทธิ์ (ฉบับที่ 2) พ.ศ. 2558 
มีผลบังคับใช้แล้ว 
ขอให้นักเรียนและคุณครูที่ใช้งาน
เว็บ thaigoodview ในการส่งการบ้าน
ระมัดระวังการละเมิดลิขสิทธิ์ด้วย
อ่านรายละเอียดที่นี่ครับ

 

สมาชิกที่ออนไลน์

ขณะนี้มี สมาชิก 0 คน และ ผู้เยี่ยมชม 244 คน กำลังออนไลน์