• user warning: Table 'cache_filter' is marked as crashed and should be repaired query: SELECT data, created, headers, expire, serialized FROM cache_filter WHERE cid = '3:92e702b793a802c47f1f8a29df4dd767' in /home/tgv/htdocs/includes/cache.inc on line 27.
  • user warning: Table 'cache_filter' is marked as crashed and should be repaired query: UPDATE cache_filter SET data = '<!--paging_filter--><p>\n   <span style=\"color: #ff6600\">ข้อมูล (data)</span> หรือ ข้อมูลดิบ หมายถึง ข้อเท็จจริง หรือเหตุการณ์ต่าง ๆ ที่เกิดขึ้น อาจจะเป็นตัวเลข ตัวอักษร หรือสัญลักษณ์ก็ได้. ข้อมูลที่ดีจะต้องมีความถูกต้องแม่นยำ และเป็นปัจจุบัน เช่น ปริมาณ ระยะทาง ชื่อ ที่อยู่ เบอร์โทรศัพท์ คะแนนของนักเรียน รายงาน บันทึก ฯลฯ\n</p>\n<p>\n   <span style=\"color: #ff6600\">สารสนเทศ (information)</span>  เป็นผลลัพธ์ของกระบวนการและการจัดการข้อมูลโดยการรวมความรู้เข้าไปต่อผู้รับสารสนเทศนั้น สารสนเทศมีความหมายหรือแนวคิดที่กว้าง และหลากหลาย ตั้งแต่การใช้คำว่าสารสนเทศในชีวิตประจำวัน จนถึงความหมายเชิงเทคนิค ตามปกติในภาษาพูด  สารสนเทศ หมายถึง ข้อมูลที่ผ่านการเลือกสรรให้เหมาะสมกับการใช้งานให้ทันเวลา และอยู่ในรูปที่ใช้ได้ สารสนเทศที่ดีต้องมาจากข้อมูลที่ดี การจัดเก็บข้อมูลและสารสนเทศจะต้องมีการควบคุมดูแลเป็นอย่างดี เช่น อาจจะมีการกำหนดให้ผู้ใดบ้างเป็นผู้มีสิทธิ์ใช้ข้อมูลได้ ข้อมูลที่เป็นความลับจะต้องมีระบบขั้นตอนการควบคุม กำหนดสิทธิ์ในการแก้ไขหรือการกระทำกับข้อมูลว่าจะกระทำได้โดยใครบ้าง นอกจากนี้ข้อมูลที่เก็บไว้แล้วต้องไม่เกิดการสูญหายหรือถูกทำลายโดยไม่ได้ตั้งใจ การจัดเก็บข้อมูลที่ดี จะต้องมีการกำหนดรูปแบบของข้อมูลให้มีลักษณะง่ายต่อการจัดเก็บ และมีรูปแบบเดียวกัน ข้อมูลแต่ละชุดควรมีความหมายและมีความเป็นอิสระในตัวเอง นอกจากนี้ไม่ควรมีการเก็บข้อมูลซ้ำซ้อนเพราะจะเป็นการสิ้นเปลืองเนื้อที่เก็บข้อมูล\n</p>\n<p>\n   <span style=\"color: #ff6600\">ความแตกต่างของข้อมูล และสารสนเทศ</span>  คือ ข้อมูลเป็นส่วนที่จะมาก่อนสารสนเทศ  หรือเป็นต้นกำหนดของสารสนเทศ ส่วนสารสนเทศ จะเกิดจากการนำข้อมูลที่ได้รวบรวมจากแหล่งข้อมูล  ทั้งภายในและภายนอกองค์กร ผ่านขั้นตอน  หรือกระบวนการในการประมวลผลข้อมูล  เพื่อให้ได้สารสนเทศ เพื่อนำมาใช้ประกอบการตัดสินใจได้\n</p>\n<p>\n   <span style=\"color: #ff6600\">ประเภทของข้อมูล<br />\n</span>ข้อมูลมีทั้งหมด 4 ประเภท คือ<br />\n 1. ข้อมูลตัวอักษร คือ ข้อมูลที่ประกอบด้วยตัวอักษรและตัวเลขที่ไม่ใช้ในการคำนวณ ทั้งภาษาไทย ภาษาอังกฤษ และภาษาต่างประเทศ เช่น ทะเบียนรถยนต์ ชื่อ นามสกุล หมายเลขโทรทัศน์ บ้านเลขที่ เป็นต้น<br />\n 2. ข้อมูลที่เป็นตัวเลข คือ ข้อมูลที่ประกอบด้วยตัวเลข 0 ถึง 9 ใช้ในการคำนวณได้ เช่น คะแนน จำนวนเงิน ราคาสินค้า เป็นต้น<br />\n 3. ข้อมูลภาพ คือข้อมูลที่เป็นภาพอาจเป็นภาพนิ่ง เช่นภาพถ่าย ภาพวาด ภาพเคลื่อไหว เช่น ภาพจากวิดีทัศน์ เป็นต้น อาจเก็บไว้ในคอมพิวเตอร์ หรือแผ่นซีดี เป็นต้น<br />\n4. ข้อมูลเสียง คือ ข้อมูลที่รับรู้ด้วยการได้ยิน จัดเก็บอยู่ในสื่อคอมพิวเตอร์สามารถแสดงผลข้อมูลเสียงด้วยลำโพง\n</p>\n<p>\n    <img border=\"0\" width=\"248\" src=\"/files/u9013/img7.gif\" height=\"93\" style=\"width: 155px; height: 70px\" />    <img border=\"0\" width=\"232\" src=\"/files/u9013/img8.gif\" height=\"127\" style=\"width: 153px; height: 65px\" />   <img border=\"0\" width=\"80\" src=\"/files/u9013/a_cat_stripe.gif\" height=\"70\" style=\"width: 106px; height: 70px\" />        <img border=\"0\" width=\"105\" src=\"/files/u9013/musical_notes_bubbling_md_wht.gif\" height=\"115\" style=\"width: 121px; height: 63px\" />\n</p>\n<p>\n    <span style=\"color: #ff6600\">ประเภทของแหล่งข้อมูล<br />\n</span> แบ่งเป็น 2 ประเภทใหญ่ๆคือ<br />\n 1. แหล่งข้อมูลปฐมภูมิ ( Primary Source ) เป็นหลักฐานเบื้องต้นที่ได้รับจากบุคคลโดยตรง ซึ่งยังไม่ได้ผ่าน สื่อใดๆ  เช่น ประสบการณ์ของตนเอง บันทึก จดหมาย<br />\n 2. แหล่งข้อมูลทุติยภูมิ ( Secondary Source ) เป็นหลักฐานอันดับรองที่นำข้อมูลขั้นแรกมาเสนออีกรูปแบบหนึ่ง ได้แก่ หนังสือ และวัสดุที่เป็นผลผลิตของการค้นคว้าจากหลักฐานเบื้องต้น\n</p>\n<p>\n<span style=\"color: #ff0000\"> ที่มา: <a href=\"http://th.wikipedia.org/wiki/ข้อมูล\">http://th.wikipedia.org/wiki/%E0%B8%82%E0%B9%89%E0%B8%AD%E0%B8%A1%E0%B8%B9%E0%B8%A5</a></span>\n</p>\n<p>\n<span style=\"color: #ff0000\">      : <a href=\"http://th.wikipedia.org/wiki/สารสนเทศ\">http://th.wikipedia.org/wiki/%E0%B8%AA%E0%B8%B2%E0%B8%A3%E0%B8%AA%E0%B8%99%E0%B9%80%E0%B8%97%E0%B8%A8</a></span>\n</p>\n<p>\n<span style=\"color: #ff0000\">      : <a href=\"http://www.lcc.ac.th/WEB_T/noi/Templates/Untitled-333.htm\">http://www.lcc.ac.th/WEB_T/noi/Templates/Untitled-333.htm</a></span>\n</p>\n<p>\n<span style=\"color: #ff0000\">      : <a href=\"/library/teachershow/lopburi/napaporn_pr/com/sec01p02.html\">http://www.thaigoodview.com/library/teachershow/lopburi/napaporn_pr/com/sec01p02.html</a><br />\n</span>\n</p>\n', created = 1729453105, expire = 1729539505, headers = '', serialized = 0 WHERE cid = '3:92e702b793a802c47f1f8a29df4dd767' in /home/tgv/htdocs/includes/cache.inc on line 112.

เรื่อง ข้อมูลและสารสนเทศ

รูปภาพของ dsp7259

   ข้อมูล (data) หรือ ข้อมูลดิบ หมายถึง ข้อเท็จจริง หรือเหตุการณ์ต่าง ๆ ที่เกิดขึ้น อาจจะเป็นตัวเลข ตัวอักษร หรือสัญลักษณ์ก็ได้. ข้อมูลที่ดีจะต้องมีความถูกต้องแม่นยำ และเป็นปัจจุบัน เช่น ปริมาณ ระยะทาง ชื่อ ที่อยู่ เบอร์โทรศัพท์ คะแนนของนักเรียน รายงาน บันทึก ฯลฯ

   สารสนเทศ (information)  เป็นผลลัพธ์ของกระบวนการและการจัดการข้อมูลโดยการรวมความรู้เข้าไปต่อผู้รับสารสนเทศนั้น สารสนเทศมีความหมายหรือแนวคิดที่กว้าง และหลากหลาย ตั้งแต่การใช้คำว่าสารสนเทศในชีวิตประจำวัน จนถึงความหมายเชิงเทคนิค ตามปกติในภาษาพูด  สารสนเทศ หมายถึง ข้อมูลที่ผ่านการเลือกสรรให้เหมาะสมกับการใช้งานให้ทันเวลา และอยู่ในรูปที่ใช้ได้ สารสนเทศที่ดีต้องมาจากข้อมูลที่ดี การจัดเก็บข้อมูลและสารสนเทศจะต้องมีการควบคุมดูแลเป็นอย่างดี เช่น อาจจะมีการกำหนดให้ผู้ใดบ้างเป็นผู้มีสิทธิ์ใช้ข้อมูลได้ ข้อมูลที่เป็นความลับจะต้องมีระบบขั้นตอนการควบคุม กำหนดสิทธิ์ในการแก้ไขหรือการกระทำกับข้อมูลว่าจะกระทำได้โดยใครบ้าง นอกจากนี้ข้อมูลที่เก็บไว้แล้วต้องไม่เกิดการสูญหายหรือถูกทำลายโดยไม่ได้ตั้งใจ การจัดเก็บข้อมูลที่ดี จะต้องมีการกำหนดรูปแบบของข้อมูลให้มีลักษณะง่ายต่อการจัดเก็บ และมีรูปแบบเดียวกัน ข้อมูลแต่ละชุดควรมีความหมายและมีความเป็นอิสระในตัวเอง นอกจากนี้ไม่ควรมีการเก็บข้อมูลซ้ำซ้อนเพราะจะเป็นการสิ้นเปลืองเนื้อที่เก็บข้อมูล

   ความแตกต่างของข้อมูล และสารสนเทศ  คือ ข้อมูลเป็นส่วนที่จะมาก่อนสารสนเทศ  หรือเป็นต้นกำหนดของสารสนเทศ ส่วนสารสนเทศ จะเกิดจากการนำข้อมูลที่ได้รวบรวมจากแหล่งข้อมูล  ทั้งภายในและภายนอกองค์กร ผ่านขั้นตอน  หรือกระบวนการในการประมวลผลข้อมูล  เพื่อให้ได้สารสนเทศ เพื่อนำมาใช้ประกอบการตัดสินใจได้

   ประเภทของข้อมูล
ข้อมูลมีทั้งหมด 4 ประเภท คือ
 1. ข้อมูลตัวอักษร คือ ข้อมูลที่ประกอบด้วยตัวอักษรและตัวเลขที่ไม่ใช้ในการคำนวณ ทั้งภาษาไทย ภาษาอังกฤษ และภาษาต่างประเทศ เช่น ทะเบียนรถยนต์ ชื่อ นามสกุล หมายเลขโทรทัศน์ บ้านเลขที่ เป็นต้น
 2. ข้อมูลที่เป็นตัวเลข คือ ข้อมูลที่ประกอบด้วยตัวเลข 0 ถึง 9 ใช้ในการคำนวณได้ เช่น คะแนน จำนวนเงิน ราคาสินค้า เป็นต้น
 3. ข้อมูลภาพ คือข้อมูลที่เป็นภาพอาจเป็นภาพนิ่ง เช่นภาพถ่าย ภาพวาด ภาพเคลื่อไหว เช่น ภาพจากวิดีทัศน์ เป็นต้น อาจเก็บไว้ในคอมพิวเตอร์ หรือแผ่นซีดี เป็นต้น
4. ข้อมูลเสียง คือ ข้อมูลที่รับรู้ด้วยการได้ยิน จัดเก็บอยู่ในสื่อคอมพิวเตอร์สามารถแสดงผลข้อมูลเสียงด้วยลำโพง

                  

    ประเภทของแหล่งข้อมูล
 แบ่งเป็น 2 ประเภทใหญ่ๆคือ
 1. แหล่งข้อมูลปฐมภูมิ ( Primary Source ) เป็นหลักฐานเบื้องต้นที่ได้รับจากบุคคลโดยตรง ซึ่งยังไม่ได้ผ่าน สื่อใดๆ  เช่น ประสบการณ์ของตนเอง บันทึก จดหมาย
 2. แหล่งข้อมูลทุติยภูมิ ( Secondary Source ) เป็นหลักฐานอันดับรองที่นำข้อมูลขั้นแรกมาเสนออีกรูปแบบหนึ่ง ได้แก่ หนังสือ และวัสดุที่เป็นผลผลิตของการค้นคว้าจากหลักฐานเบื้องต้น

 ที่มา: http://th.wikipedia.org/wiki/%E0%B8%82%E0%B9%89%E0%B8%AD%E0%B8%A1%E0%B8%B9%E0%B8%A5

      : http://th.wikipedia.org/wiki/%E0%B8%AA%E0%B8%B2%E0%B8%A3%E0%B8%AA%E0%B8%99%E0%B9%80%E0%B8%97%E0%B8%A8

      : http://www.lcc.ac.th/WEB_T/noi/Templates/Untitled-333.htm

      : http://www.thaigoodview.com/library/teachershow/lopburi/napaporn_pr/com/sec01p02.html

มหาวิทยาลัยศรีปทุม ผู้ใหญ่ใจดี
 

 ช่วยด้วยครับ
นักเรียนที่สร้างบล็อก กรุณาอย่า
คัดลอกข้อมูลจากเว็บอื่นทั้งหมด
ควรนำมาจากหลายๆ เว็บ แล้ววิเคราะห์ สังเคราะห์ และเขียนขึ้นใหม่
หากคัดลอกทั้งหมด จะถูกดำเนินคดี
ตามกฎหมายจากเจ้าของลิขสิทธิ์
มีโทษทั้งจำคุกและปรับในอัตราสูง

ช่วยกันนะครับ 
ไทยกู๊ดวิวจะได้อยู่นานๆ 
ไม่ถูกปิดเสียก่อน

ขอขอบคุณในความร่วมมือครับ

อ่านรายละเอียด

ด่วน...... ขณะนี้
พระราชบัญญัติลิขสิทธิ์ (ฉบับที่ 2) พ.ศ. 2558 
มีผลบังคับใช้แล้ว 
ขอให้นักเรียนและคุณครูที่ใช้งาน
เว็บ thaigoodview ในการส่งการบ้าน
ระมัดระวังการละเมิดลิขสิทธิ์ด้วย
อ่านรายละเอียดที่นี่ครับ

 

สมาชิกที่ออนไลน์

ขณะนี้มี สมาชิก 0 คน และ ผู้เยี่ยมชม 383 คน กำลังออนไลน์