• user warning: Table 'cache_filter' is marked as crashed and should be repaired query: SELECT data, created, headers, expire, serialized FROM cache_filter WHERE cid = '3:3c0a625ddd720ab0a87a60747118524b' in /home/tgv/htdocs/includes/cache.inc on line 27.
  • user warning: Table 'cache_filter' is marked as crashed and should be repaired query: UPDATE cache_filter SET data = '<!--paging_filter--><p>\n                     \n</p>\n<p align=\"center\">\n<img src=\"http://school.obec.go.th/pasatwit/Di_li/content/comp/comp_web/lesson3/img1/1_2_2.jpg\" /> \n</p>\n<p align=\"center\">\n&nbsp;\n</p>\n<p align=\"center\">\n รูปจาก   <a href=\"http://school.obec.go.th/pasatwit/Di_li/content/comp/comp_web/lesson3/lesson1_2_2.htm\">http://school.obec.go.th/pasatwit/Di_li/content/comp/comp_web/lesson3/lesson1_2_2.htm</a>\n</p>\n<p align=\"center\">\n&nbsp;\n</p>\n<p align=\"left\">\n<strong> <span style=\"color: #000000\">ข้อมูล</span></strong> คือ ข้อเท็จจริงหรือเหตุการณ์ที่เกี่ยวข้องกับสิ่งต่างๆ เช่น คน สัตว์ สิ่งของ สถานที่ เป็นต้น ข้อมูลจึงเป็นเรื่องที่เกี่ยวกับเหตุการณ์ของสิ่งต่างๆที่เกิดขึ้นอย่างต่อเนื่อง มีการรวบรวม ข้อมูล อย่างเป็นระบบและต่อเนื่องดังจะเห็นจากกระบวนการเลือกตั้งที่ผ่านมาหลายพรรคการเมืองมีการใช้เทคโนโลยีรวบรวมข้อมูลหาวิธีการที่จะให้ได้ข้อมูลอย่างรวดเร็วและเมื่อสถานการณ์บางอย่างเกิดผันแปรขึ้น การเตรียมการแก้สถานการณ์จะดำเนินการ ได้อย่างรวดเร็วทันท่วงที กรรมวิธีการรวบรวมข้อมูลเป็นจุดเริ่มต้นของการดำเนินงาน การรวบรวมข้อมูลที่ดีจะได้ข้อมูลอย่างรวดเร็วถูกต้องแม่นยำครบถ้วน ดังนั้นผู้ดำเนินการต้องให้ความสำคัญที่จุดนี้โดยเฉพาะความรวดเร็วความรวดเร็วของการเก็บข้อมูลจึงผูกพันกับเทคโนโลยีซึ่งมีหลายวิธีเช่นการส่งอีเมลการเชื่อมต่อกับระบบปลายทางเพื่อรับข้อมูลการใช้โทรสารการใช้ระบบอ่านข้อมูลอัตโนมัติเช่นเครื่องสแกนเนอร์อ่านข้อมูลเป็นรหัสบาร์โค้ด\n</p>\n<p align=\"left\">\n <strong>คุณสมบัติของข้อมูลที่ดี</strong><br />\n1. ความถูกต้อง หากมีการเก็บรวบรวมข้อมูลแล้วข้อมูลเหล่านั้นเชื่อถือไม่ได้จะทำให้เกิดผลเสียอย่างมาก ผู้ใช้จะไม่กล้าอ้างอิงหรือนำเอาไปใช้ประโยชน์ ซึ่งเป็นเหตุให้การตัดสินใจของผู้บริหารขาดความแม่นยำ และอาจมีโอกาสผิดพลาดได้ โครงสร้างข้อมูลที่ออกแบบต้องคำนึงถึงกรรมวิธีการดำเนินงานเพื่อให้ได้ความถูก ต้องแม่นยำมากที่สุด โดยปกติความผิดพลาดของสารสนเทศส่วนใหญ่ มาจากข้อมูลที่ไม่มีคามถูกต้องซึ่งอาจมีสาเหตุมาจากคนหรือเครื่องจักร การออกแบบระบบจึงต้องคำนึงถึงในเรื่องนี้ <br />\n2. ความรวดเร็วและเป็นปัจจุบัน การได้มาของข้อมูลจำเป็นต้องให้ทันต่อความต้องการของผู้ใช้ มีการตอบสนองต่อผู้ใช้ได้รวดเร็ว ตีความหมายสารสนเทศได้ทันต่อเหตุการณ์หรือ ความต้องการ มีการออกแบบระบบการเรียกค้น และรายงานตามต้องการของผู้ใช้<br />\n3. ความสมบูรณ์ ความสมบูรณ์ของสารสนเทศขึ้นกับการรวบรวมข้อมูลและวิธีการทางปฏิบัติด้วย ในการดำเนินการจัดทำสารสนเทศต้องสำรวจและสอบถามความต้องการข้อมูล เพื่อให้ได้ข้อมูลที่มีความสมบูรณ์ในระดับหนึ่งที่เหมาะสม <br />\n4. ความชัดเจนและกะทัดรัด การจัดเก็บข้อมูลจำนวนมากจะต้องใช้พื้นที่ในการจัดเก็บ ข้อมูลมากจึงจำเป็นต้องออกแบบโครงสร้างข้อมูลให้ กะทัดรัดสื่อความหมายได้ มีการใช้รหัสหรือย่นย่อข้อมูลให้เหมาะสมเพื่อที่จะ จัดเก็บเข้าไว้ในระบบคอมพิวเตอร์ <br />\n5. ความสอดคล้อง ความต้องการเป็นเรื่องที่สำคัญดังนั้นจึงต้องมีการสำรวจเพื่อหาความต้องการของหน่วยงานหรือองค์การ ดูสภาพการใช้ข้อมูล ความลึกหรือความกว้างของขอบเขตของข้อมูลที่สอดคล้องกับความต้องการ\n</p>\n<p align=\"left\">\n </p>\n<!--pagebreak--><!--pagebreak-->\n<div style=\"text-align: center\">\n<img src=\"http://www.sahavicha.com/UserFiles/Image/DS95634(2).gif\" />\n</div>\n<p align=\"left\">\n                รูปจาก  <a href=\"http://www.sahavicha.com/?name=article&amp;file=readarticle&amp;id=171\">http://www.sahavicha.com/?name=article&amp;file=readarticle&amp;id=171</a>\n</p>\n<p align=\"left\">\n&nbsp;\n</p>\n<p align=\"left\">\n<strong>สารสนเทศ </strong> หมายถึง สิ่งที่ได้จากการนำเอาข้อมูลที่เก็บรวบรวมได้มาประมวลผลเพื่อนำมาใช้ประโยชน์ตามวัตถุประสงค์กล่าวคือข้อมูลที่ผ่านการเลือกสรรให้เหมาะกับการใช้งานให้ทันเวลาและอยู่ในรูปที่ใช้ได้สารสนเทศที่ดีต้องมาจากข้อมูลที่ดีการจัดเก็บข้อมูลและสารสนเทศจะต้องมีการควบคุมดูแลเป็นอย่างดีเช่นอาจจะมีการกำหนดให้ผู้ใดบ้างเป็นผู้มีสิทธิ์ใช้ข้อมูลได้ข้อมูลที่เป็นความลับจะต้องมีระบบขั้นตอนการควบคุมกำหนดสิทธิ์ในการแก้ไข หรือ การกระทำกับข้อมูลว่าจะกระทำได้โดยใครบ้างนอกจากนี้ข้อมูลที่เก็บไว้แล้วต้องไม่เกิดการสูญหายหรือถูกทำลายโดยไม่ได้ตั้งใจ\n</p>\n<p align=\"left\">\nแหล่งอ้างอิง<br />\n<a href=\"http://203.170.244.228/ptweb/wantanee/group2/index.htm\">http://203.170.244.228/ptweb/wantanee/group2/index.htm</a>\n</p>\n<p align=\"left\">\n&nbsp;\n</p>\n<p align=\"left\">\n<!--pagebreak--><!--pagebreak--></p><p> \n</p>\n<p align=\"left\">\n&nbsp;\n</p>\n<p align=\"left\">\n                           <img src=\"http://hrm.siamhrm.com/userimages/HRIS_01.GIF\" />\n</p>\n<p align=\"left\">\n&nbsp;\n</p>\n<p align=\"left\">\n                        รูปจาก <a href=\"http://hrm.siamhrm.com/report/chapter_report.php?max=111\">http://hrm.siamhrm.com/report/chapter_report.php?max=111</a>\n</p>\n<p align=\"left\">\n <strong>ความแตกต่าง &quot;ข้อมูล&quot; และ&quot; สารสนเทศ&quot;</strong>\n</p>\n<p align=\"left\">\n<br />\n&quot;ข้อมูล&quot; คือ ข่าวสาร ข้อความรูปภาพ เสียง หรืออะไรต่างๆ ที่อยู่ในหลายๆ รูปแบบ ซึ่งข้อมูลเหล่านี้ยังไม่ได้ผ่านการประมวลผล หรือจัดกลุ่ม เรียบเรียงอะไรทั้งสิ้น ยังไม่สามารถที่จะนำไปใช้งานได้ จะแตกต่างกับ &quot;สารสนเทศ&quot; นั้นคือ สารสนเทศ เป็นข้อมูลที่ได้รับการกลั่นกรอง หรือประมวลผลในรูปแบบหรือกรรมวิธีต่างๆแล้ว เป็นข้อมูลที่สะดวกต่อการใช้งาน ซึ่งถือว่าเป็นข้อมูลที่ดีที่สุด สามารถนำมาอ้างอึง ใช้งานได้เลย\n</p>\n<p align=\"left\">\nแหล่งอ้างอิง   <a href=\"http://csbsrud1049.blogspot.com/\">http://csbsrud1049.blogspot.com/</a>\n</p>\n<p align=\"left\">\n<!--pagebreak--><!--pagebreak--></p><p> \n</p>\n<p align=\"left\">\n&nbsp;\n</p>\n<p align=\"left\">\n            \n</p>\n<div style=\"text-align: center\">\n<img src=\"http://std.kku.ac.th/5050201567/database2.gif\" />\n</div>\n<p align=\"left\">\n                               รูปจาก <a href=\"http://std.kku.ac.th/5050201567/Dream_left_information_link2.htm\">http://std.kku.ac.th/5050201567/Dream_left_information_link2.htm</a>\n</p>\n<p align=\"left\">\n<strong></strong>\n</p>\n<p align=\"left\">\n<strong>ความหมายของแหล่งข้อมูล<br />\n</strong>แหล่งข้อมูล หมายถึง สถานที่ ต้นกำเนิด หรือ ที่ที่มาของข้อมูล<br />\nแหล่งข้อมูลในชีวิตประจำวัน\n</p>\n<p align=\"left\">\nได้แก่ ใบเสร็จรับเงิน ค่าำไฟฟ้า ค่าน้ำประปา ค่าโทรศัพท์ ฯลฯ การเก็บใบเสร็จรับเงินเหล่านี้\n</p>\n<p align=\"left\">\nมีประโยชน์ต่าง ๆ ดังนี้\n</p>\n<p align=\"left\">\n1. เพื่อเป็นหลักฐานในการชำระเงิน\n</p>\n<p align=\"left\">\n2. เพื่อเป็นข้อมูลการเตรียมค่าใช้จ่ายของครอบครัว\n</p>\n<p align=\"left\">\n3. เพื่อเป็นข้อมูลในการประหยัดค่าใช้จ่ายภายในบ้่าน\n</p>\n<p align=\"left\">\n&nbsp;\n</p>\n<p align=\"left\">\n<strong>แหล่งข้อมูลจากโทรทัศน์</strong>\n</p>\n<p align=\"left\">\nเรารับข้อมูลจากโทรทัศน์ได้ทั้งภาพและเสียง การดูโทรทัศน์นอกจากดูภาพยนตร์ ละคร และการ์ตูนแล้ว ยังต้องดูข่าวและสารคดีต่าง ๆ ด้วย ข่าวช่วยให้เราได้ความรู้ และทันต่อเหตุการณ์ที่เกิดขึ้นในขณะนั้น และสามารถนำเหตุการณ์ ที่เกิดขึ้นมาเตรียมหาวิธีการแก้ไขปัญหา ส่วนสารคดีต่าง ๆ เช่น การท่องเที่ยว สารคดีชีวิตของสัตว์พืชและปรากฏการณ์ต่าง ๆ ทำให้เรารู้ความเป็นไปของเรื่องราวเหล่านั้น\n</p>\n<p align=\"left\">\n <strong>แหล่งข้อมูลจากวิทยุ</strong>\n</p>\n<p align=\"left\">\nวิทยุให้ข้อมูลข่าวสารเป็นเสียงเพียงอย่างเดียว วิทยุมีข้อดีที่สามารถรับฟังได้ทุกพื้นที่ส่วนโทรทัศน์จะรับคลื่นได้เฉพาะในพื้นที่ที่สัญญาณจากสถานีส่ง ส่งคลื่นไปถึง พื่นที่ที่มีตึกสูงหรือ<br />\nพื้นที่ที่อยู่ในหุบเขา จะรับสัญญาณโทรทัศน์ไม่ได้ บางพื้นที่ต้องตั้งเสารับสัญญาณไว้สูงมากจึงจะรับสัญญาณ โทรทัศน์ได้บางช่อง\n</p>\n<p align=\"left\">\n  หากแบ่งแหล่งข้อมูลตามลักษณะการเกิด สามารถแบ่งได้ดังนี้\n</p>\n<p align=\"left\">\nแหล่งข้อมูลปฐมภูมิ (Primary Data) หมายถึง \n</p>\n<p align=\"left\">\nข้อมูลทั่วไปที่ได้จากการรวบรวมหรือบันทึกจากแหล่งข้อมูลโดยตรง อาจเป็นการสอบถาม การสัมภาษณ์ การจดบันทึก <br />\nและการจัดหาด้วยเครื่องอัตโนมัติ\n</p>\n<p align=\"left\">\n แหล่งข้อมูลทุติยภูมิ (Secondary Data) หมายถึง\n</p>\n<p align=\"left\">\nข้อมูลที่ได้มีผู้รวบรวมไว้แล้วในลักษณะเอกสารตีพิมพ์เผยแพร่ และตำราทางวิชาการ เช่นข้อมูลสถิติ ต่าง ๆ\n</p>\n<p align=\"left\">\nแหล่งอ้างอิง<br />\n<a href=\"http://www.acr.ac.th/acr/CAI/cai_gift/unit_1_p5.htm\">http://www.acr.ac.th/acr/CAI/cai_gift/unit_1_p5.htm</a>\n</p>\n<p align=\"left\">\n  </p>\n<!--pagebreak--><!--pagebreak-->\n<p align=\"left\">\n&nbsp;\n</p>\n<p align=\"left\">\n <img src=\"http://www.starconnext.net/images/networkservice.gif\" />\n</p>\n<p align=\"left\">\n&nbsp;\n</p>\n<p align=\"left\">\n           รูปจาก <a href=\"http://www.starconnext.net/tech.php\">http://www.starconnext.net/tech.php</a>\n</p>\n<p align=\"left\">\n&nbsp;\n</p>\n<p align=\"left\">\n<strong>ประเภทของข้อมูล</strong> <br />\nข้อมูลสามารถแบ่งได้หลายลักษณะขึ้นกับว่าจะใช้เกณฑ์ใดในการแบ่ง เช่น<br />\nก.แบ่งตามแหล่งที่มา ได้เป็น 2 ประเภท<br />\n1.ข้อมูลปฐมภูมิ ( Primary Data)คือข้อเท็จจริงหรือรายละเอียดที่ผู้เก็บข้อมูลลงมือเก็บด้วยตนเองได้มาจากแหล่งกำเนิดที่แท้จริง เช่น ข้อมูลจากการสัมภาษณ์ การสังเกต การทดลอง การทดสอบหรือการวัดจากกลุ่มตัวอย่างโดยตรง <br />\n2.ข้อมูลทุติยภูมิ (Secondary Data) คือข้อเท็จจริง หรือรายละเอียดที่ผู้อื่นรวบรวมไว้อย่างเป็นระบบ สามารถนำมาเป็นข้อมูล โดยไม่ต้องลงมือเก็บรวบรวมเอง เช่น ข้อมูลจากระเบียนสะสม รายงานประจำปี สารานุกรม เอกสารเผยแพร่ เป็นต้น <br />\nข.แบ่งตามลักษณะของข้อมูล<br />\n1.ข้อมูลเชิงปริมาณ ( Quantitative Data) คือข้อมูลที่วัดออกมาเป็นตัวเลข เช่นผลสัมฤทธิ์ทางการเรียนวิชาต่าง ๆ ความถนัดด้านต่าง ๆ ที่วัดออกมาเป็นคะแนน คุณลักษณะด้านจิตพิสัย เช่นความสนใจ ความวิตกกังวล<br />\nคุณลักษณะทางกายเช่น ส่วนสูง ความเร็วในการวิ่ง<br />\n2.ข้อมูลเชิงคุณลักษณะหรือเชิงคุณภาพ (Qualitative Data) คือข้อมูลที่ไม่ได้วัดออกมาเป็นตัวเลขแต่จะแสดงถึงคุณลักษณะของสิ่งนั้น เช่น เพศ ฐานะทางเศรษฐกิจ ศาสนา สถานภาพสมรส อาชีพ ข้อความที่เป็นความคิดเห็น ผลการสังเกตที่เขียนในรูปบรรยาย <br />\n3.แบ่งตามสภาพของข้อมูลที่เกี่ยวข้องกับกลุ่มตัวอย่าง ได้ 3 ประเภทดังนี้<br />\n1.ข้อมูลส่วนบุคคล ( Personal Data) คือข้อมูลที่เกี่ยวกับข้อเท็จจริงส่วนตัวของกลุ่มตัวอย่าง เช่น ชื่อสกุล อายุ เพศ อาชีพ ศาสนา เป็นต้น<br />\n2.ข้อมูลสิ่งแวดล้อม ( Environmental Data) คือข้อมูลที่เป็นข้อเท็จจริงเกี่ยวกับสิ่งแวดล้อมของกลุ่มตัวอย่าง เช่น ลักษณะท้องถิ่นที่กลุ่มตัวอย่างอาศัย<br />\n3.ข้อมูลพฤติกรรม ( Behavioral Data) คือข้อมูลที่เป็นคุณลักษณะที่มีอยู่ในตัวของกลุ่มตัวอย่าง เช่น คุณลักษณะด้านความสามารถสมอง ได้แก่ผลสัมฤทธิ์ทางวิชาการ หรือการเรียน เช่น ความรู้ความเข้าใจ การวิเคราะห์ ความถนัด สติปัญญา ความสนใจ ความวิตกกังวล แรงจูงใจใฝ่สัมฤทธิ์ มโนภาพเกี่ยวกับตนเอง การปฏิบัติ การกระทำสิ่งต่าง ๆ  <br />\nการรวบรวมข้อมูลเป็นจุดเริ่มต้นของการดำเนินงาน การรวบรวมข้อมูลที่ดีจะได้ข้อมูลที่รวดเร็ว ถูกต้อง แม่นยำ ครบถ้วน ดังนั้น ความรวดเร็วของข้อมูลจึงผูกพันกับเทคโนโลยีซึ่งมีหลายวิธี เช่นการใช้ไปรษณีย์อิเทคทรอนิกส์ การเชื่อมต่อกับระบบปลายทางเพื่อรับข้อมูล การใช้โทรสาร การใช้ระบบอ่านข้อมูลอัตโนมัติ เช่น เครื่องกราดตรวจ( scaner ) อ่านข้อมูลที่เป็นรหัสแท่ง( bar code) <br />\n    แหล่งอ้างอิง     <a href=\"http://www.kkw.ac.th/kkwweb/teacherhead/webpookie/pensil/lesson5.htm\">http://www.kkw.ac.th/kkwweb/teacherhead/webpookie/pensil/lesson5.htm</a>\n</p>\n<p align=\"left\">\n&nbsp;\n</p>\n<p align=\"left\">\n&nbsp;\n</p>\n<p align=\"left\">\n&nbsp;\n</p>\n', created = 1720213035, expire = 1720299435, headers = '', serialized = 0 WHERE cid = '3:3c0a625ddd720ab0a87a60747118524b' in /home/tgv/htdocs/includes/cache.inc on line 112.
  • user warning: Table 'cache_filter' is marked as crashed and should be repaired query: SELECT data, created, headers, expire, serialized FROM cache_filter WHERE cid = '3:76d1895f9f1c2dbf65e265c60d0e4b11' in /home/tgv/htdocs/includes/cache.inc on line 27.
  • user warning: Table 'cache_filter' is marked as crashed and should be repaired query: UPDATE cache_filter SET data = '<!--paging_filter--><p>\n                     \n</p>\n<p align=\"center\">\n<img src=\"http://school.obec.go.th/pasatwit/Di_li/content/comp/comp_web/lesson3/img1/1_2_2.jpg\" /> \n</p>\n<p align=\"center\">\n&nbsp;\n</p>\n<p align=\"center\">\n รูปจาก   <a href=\"http://school.obec.go.th/pasatwit/Di_li/content/comp/comp_web/lesson3/lesson1_2_2.htm\">http://school.obec.go.th/pasatwit/Di_li/content/comp/comp_web/lesson3/lesson1_2_2.htm</a>\n</p>\n<p align=\"center\">\n&nbsp;\n</p>\n<p align=\"left\">\n<strong> <span style=\"color: #000000\">ข้อมูล</span></strong> คือ ข้อเท็จจริงหรือเหตุการณ์ที่เกี่ยวข้องกับสิ่งต่างๆ เช่น คน สัตว์ สิ่งของ สถานที่ เป็นต้น ข้อมูลจึงเป็นเรื่องที่เกี่ยวกับเหตุการณ์ของสิ่งต่างๆที่เกิดขึ้นอย่างต่อเนื่อง มีการรวบรวม ข้อมูล อย่างเป็นระบบและต่อเนื่องดังจะเห็นจากกระบวนการเลือกตั้งที่ผ่านมาหลายพรรคการเมืองมีการใช้เทคโนโลยีรวบรวมข้อมูลหาวิธีการที่จะให้ได้ข้อมูลอย่างรวดเร็วและเมื่อสถานการณ์บางอย่างเกิดผันแปรขึ้น การเตรียมการแก้สถานการณ์จะดำเนินการ ได้อย่างรวดเร็วทันท่วงที กรรมวิธีการรวบรวมข้อมูลเป็นจุดเริ่มต้นของการดำเนินงาน การรวบรวมข้อมูลที่ดีจะได้ข้อมูลอย่างรวดเร็วถูกต้องแม่นยำครบถ้วน ดังนั้นผู้ดำเนินการต้องให้ความสำคัญที่จุดนี้โดยเฉพาะความรวดเร็วความรวดเร็วของการเก็บข้อมูลจึงผูกพันกับเทคโนโลยีซึ่งมีหลายวิธีเช่นการส่งอีเมลการเชื่อมต่อกับระบบปลายทางเพื่อรับข้อมูลการใช้โทรสารการใช้ระบบอ่านข้อมูลอัตโนมัติเช่นเครื่องสแกนเนอร์อ่านข้อมูลเป็นรหัสบาร์โค้ด\n</p>\n<p align=\"left\">\n <strong>คุณสมบัติของข้อมูลที่ดี</strong><br />\n1. ความถูกต้อง หากมีการเก็บรวบรวมข้อมูลแล้วข้อมูลเหล่านั้นเชื่อถือไม่ได้จะทำให้เกิดผลเสียอย่างมาก ผู้ใช้จะไม่กล้าอ้างอิงหรือนำเอาไปใช้ประโยชน์ ซึ่งเป็นเหตุให้การตัดสินใจของผู้บริหารขาดความแม่นยำ และอาจมีโอกาสผิดพลาดได้ โครงสร้างข้อมูลที่ออกแบบต้องคำนึงถึงกรรมวิธีการดำเนินงานเพื่อให้ได้ความถูก ต้องแม่นยำมากที่สุด โดยปกติความผิดพลาดของสารสนเทศส่วนใหญ่ มาจากข้อมูลที่ไม่มีคามถูกต้องซึ่งอาจมีสาเหตุมาจากคนหรือเครื่องจักร การออกแบบระบบจึงต้องคำนึงถึงในเรื่องนี้ <br />\n2. ความรวดเร็วและเป็นปัจจุบัน การได้มาของข้อมูลจำเป็นต้องให้ทันต่อความต้องการของผู้ใช้ มีการตอบสนองต่อผู้ใช้ได้รวดเร็ว ตีความหมายสารสนเทศได้ทันต่อเหตุการณ์หรือ ความต้องการ มีการออกแบบระบบการเรียกค้น และรายงานตามต้องการของผู้ใช้<br />\n3. ความสมบูรณ์ ความสมบูรณ์ของสารสนเทศขึ้นกับการรวบรวมข้อมูลและวิธีการทางปฏิบัติด้วย ในการดำเนินการจัดทำสารสนเทศต้องสำรวจและสอบถามความต้องการข้อมูล เพื่อให้ได้ข้อมูลที่มีความสมบูรณ์ในระดับหนึ่งที่เหมาะสม <br />\n4. ความชัดเจนและกะทัดรัด การจัดเก็บข้อมูลจำนวนมากจะต้องใช้พื้นที่ในการจัดเก็บ ข้อมูลมากจึงจำเป็นต้องออกแบบโครงสร้างข้อมูลให้ กะทัดรัดสื่อความหมายได้ มีการใช้รหัสหรือย่นย่อข้อมูลให้เหมาะสมเพื่อที่จะ จัดเก็บเข้าไว้ในระบบคอมพิวเตอร์ <br />\n5. ความสอดคล้อง ความต้องการเป็นเรื่องที่สำคัญดังนั้นจึงต้องมีการสำรวจเพื่อหาความต้องการของหน่วยงานหรือองค์การ ดูสภาพการใช้ข้อมูล ความลึกหรือความกว้างของขอบเขตของข้อมูลที่สอดคล้องกับความต้องการ\n</p>\n<p align=\"left\">\n </p>\n', created = 1720213035, expire = 1720299435, headers = '', serialized = 0 WHERE cid = '3:76d1895f9f1c2dbf65e265c60d0e4b11' in /home/tgv/htdocs/includes/cache.inc on line 112.

เรื่องข้อมูล และสารสนเทศ

รูปภาพของ dsp05674

                     

 

 

 รูปจาก   http://school.obec.go.th/pasatwit/Di_li/content/comp/comp_web/lesson3/lesson1_2_2.htm

 

 ข้อมูล คือ ข้อเท็จจริงหรือเหตุการณ์ที่เกี่ยวข้องกับสิ่งต่างๆ เช่น คน สัตว์ สิ่งของ สถานที่ เป็นต้น ข้อมูลจึงเป็นเรื่องที่เกี่ยวกับเหตุการณ์ของสิ่งต่างๆที่เกิดขึ้นอย่างต่อเนื่อง มีการรวบรวม ข้อมูล อย่างเป็นระบบและต่อเนื่องดังจะเห็นจากกระบวนการเลือกตั้งที่ผ่านมาหลายพรรคการเมืองมีการใช้เทคโนโลยีรวบรวมข้อมูลหาวิธีการที่จะให้ได้ข้อมูลอย่างรวดเร็วและเมื่อสถานการณ์บางอย่างเกิดผันแปรขึ้น การเตรียมการแก้สถานการณ์จะดำเนินการ ได้อย่างรวดเร็วทันท่วงที กรรมวิธีการรวบรวมข้อมูลเป็นจุดเริ่มต้นของการดำเนินงาน การรวบรวมข้อมูลที่ดีจะได้ข้อมูลอย่างรวดเร็วถูกต้องแม่นยำครบถ้วน ดังนั้นผู้ดำเนินการต้องให้ความสำคัญที่จุดนี้โดยเฉพาะความรวดเร็วความรวดเร็วของการเก็บข้อมูลจึงผูกพันกับเทคโนโลยีซึ่งมีหลายวิธีเช่นการส่งอีเมลการเชื่อมต่อกับระบบปลายทางเพื่อรับข้อมูลการใช้โทรสารการใช้ระบบอ่านข้อมูลอัตโนมัติเช่นเครื่องสแกนเนอร์อ่านข้อมูลเป็นรหัสบาร์โค้ด

 คุณสมบัติของข้อมูลที่ดี
1. ความถูกต้อง หากมีการเก็บรวบรวมข้อมูลแล้วข้อมูลเหล่านั้นเชื่อถือไม่ได้จะทำให้เกิดผลเสียอย่างมาก ผู้ใช้จะไม่กล้าอ้างอิงหรือนำเอาไปใช้ประโยชน์ ซึ่งเป็นเหตุให้การตัดสินใจของผู้บริหารขาดความแม่นยำ และอาจมีโอกาสผิดพลาดได้ โครงสร้างข้อมูลที่ออกแบบต้องคำนึงถึงกรรมวิธีการดำเนินงานเพื่อให้ได้ความถูก ต้องแม่นยำมากที่สุด โดยปกติความผิดพลาดของสารสนเทศส่วนใหญ่ มาจากข้อมูลที่ไม่มีคามถูกต้องซึ่งอาจมีสาเหตุมาจากคนหรือเครื่องจักร การออกแบบระบบจึงต้องคำนึงถึงในเรื่องนี้
2. ความรวดเร็วและเป็นปัจจุบัน การได้มาของข้อมูลจำเป็นต้องให้ทันต่อความต้องการของผู้ใช้ มีการตอบสนองต่อผู้ใช้ได้รวดเร็ว ตีความหมายสารสนเทศได้ทันต่อเหตุการณ์หรือ ความต้องการ มีการออกแบบระบบการเรียกค้น และรายงานตามต้องการของผู้ใช้
3. ความสมบูรณ์ ความสมบูรณ์ของสารสนเทศขึ้นกับการรวบรวมข้อมูลและวิธีการทางปฏิบัติด้วย ในการดำเนินการจัดทำสารสนเทศต้องสำรวจและสอบถามความต้องการข้อมูล เพื่อให้ได้ข้อมูลที่มีความสมบูรณ์ในระดับหนึ่งที่เหมาะสม
4. ความชัดเจนและกะทัดรัด การจัดเก็บข้อมูลจำนวนมากจะต้องใช้พื้นที่ในการจัดเก็บ ข้อมูลมากจึงจำเป็นต้องออกแบบโครงสร้างข้อมูลให้ กะทัดรัดสื่อความหมายได้ มีการใช้รหัสหรือย่นย่อข้อมูลให้เหมาะสมเพื่อที่จะ จัดเก็บเข้าไว้ในระบบคอมพิวเตอร์
5. ความสอดคล้อง ความต้องการเป็นเรื่องที่สำคัญดังนั้นจึงต้องมีการสำรวจเพื่อหาความต้องการของหน่วยงานหรือองค์การ ดูสภาพการใช้ข้อมูล ความลึกหรือความกว้างของขอบเขตของข้อมูลที่สอดคล้องกับความต้องการ

 

มหาวิทยาลัยศรีปทุม ผู้ใหญ่ใจดี
 

 ช่วยด้วยครับ
นักเรียนที่สร้างบล็อก กรุณาอย่า
คัดลอกข้อมูลจากเว็บอื่นทั้งหมด
ควรนำมาจากหลายๆ เว็บ แล้ววิเคราะห์ สังเคราะห์ และเขียนขึ้นใหม่
หากคัดลอกทั้งหมด จะถูกดำเนินคดี
ตามกฎหมายจากเจ้าของลิขสิทธิ์
มีโทษทั้งจำคุกและปรับในอัตราสูง

ช่วยกันนะครับ 
ไทยกู๊ดวิวจะได้อยู่นานๆ 
ไม่ถูกปิดเสียก่อน

ขอขอบคุณในความร่วมมือครับ

อ่านรายละเอียด

ด่วน...... ขณะนี้
พระราชบัญญัติลิขสิทธิ์ (ฉบับที่ 2) พ.ศ. 2558 
มีผลบังคับใช้แล้ว 
ขอให้นักเรียนและคุณครูที่ใช้งาน
เว็บ thaigoodview ในการส่งการบ้าน
ระมัดระวังการละเมิดลิขสิทธิ์ด้วย
อ่านรายละเอียดที่นี่ครับ

 

สมาชิกที่ออนไลน์

ขณะนี้มี สมาชิก 0 คน และ ผู้เยี่ยมชม 560 คน กำลังออนไลน์