• user warning: Table 'cache_filter' is marked as crashed and should be repaired query: SELECT data, created, headers, expire, serialized FROM cache_filter WHERE cid = '3:39523f804e9e9965fccdcf721c575cd1' in /home/tgv/htdocs/includes/cache.inc on line 27.
  • user warning: Table 'cache_filter' is marked as crashed and should be repaired query: UPDATE cache_filter SET data = '<!--paging_filter--><div align=\"center\">\n<span style=\"color: #2d3ad2\"><b>คำประสม</b></span>\n</div>\n<p>\nแม้ว่าภาษาไทยจะเป็นภาษาคำโดด แต่ก็ปรากฏว่าเรามี “คำประสม” ใช้อยู่ในภาษาไทยมากมาย ทั้งนี้ย่อมแสดงให้เห็นความฉลาดสามารถของบรรพบุรุษของเราที่ท่านมีวิธีสร้างคำใหม่ ๆ ขึ้นมาได้มากมาย ทั้งจากภาษาไทยล้วน ๆ หรืออาจประสมกับคำภาษาอื่น หรืออาจเอาคำภาษาอื่นมาผสมเป็นคำไทยก็ได้</p>\n<p>“คำประสม” ได้แก่ คำที่เกิดจากการนำเอาคำมูลหรือคำหลักตั้งแต่ ๒ คำขึ้นไปมาประสมกัน จะเป็นคำภาษาเดียวกัน คือ จะเป็นคำไทยกับคำไทย คำบาลีกับคำบาลี คำสันสกฤตกับคำสันสกฤต หรือจะเป็นคำไทยกับคำภาษาอื่น ๆ เช่น ไทยกับบาลี ไทยกับสันสกฤต ไทยกับเขมร หรือจะเป็นภาษาต่างประเทศด้วยกัน เช่น บาลีกับบาลี สันสกฤตกับสันสกฤต บาลีกับสันสกฤต เขมรกับบาลี หรือเขมรกับสันสกฤต เป็นต้น ก็ได้ ดังนี้</p>\n<p>๑. คำประสมที่เป็นคำไทยกับคำไทย เช่น พ่อ + ตา เป็น พ่อตา แม่ + ยาย เป็น แม่ยาย พ่อ + ผัว เป็น พ่อผัว แม่ + ผัว เป็น แม่ผัว โรง + แรม เป็น โรงแรม ฯลฯ</p>\n<p>๒. คำประสมที่เป็นคำไทยกับคำบาลี เช่น ไทย + ยาม เป็น ไทยยาม หลัก + ฐาน เป็น หลักฐาน แผน + การ เป็น แผนการ หลัก + การ เป็น หลักการ ฯลฯ</p>\n<p>๓. คำประสมที่เป็นคำไทยกับคำสันสกฤต เช่น ทุน + ทรัพย์ เป็น ทุนทรัพย์ ไม้ + ตรี เป็น ไม้ตรี เสียง + จัตวา เป็น เสียงจัตวา ยก + ครู เป็น ยกครู ฯลฯ</p>\n<p>๔. คำประสมที่เป็นคำไทยกับคำเขมร เช่น ยก + ทรง เป็น ยกทรง รับ + ขวัญ เป็น รับขวัญ วัน + เพ็ญ เป็น วันเพ็ญ เชี่ยว + ชาญ เป็น เชี่ยวชาญ ฯลฯ</p>\n<p>๕. คำประสมที่เป็นคำบาลีกับคำไทย เช่น มูล + ค่า เป็น มูลค่า ผล + ไม้ เป็น ผลไม้ พล + เมือง เป็น พลเมือง ราช + วัง เป็น ราชวัง พุทธ + เจ้า เป็น พุทธเจ้า ฯลฯ</p>\n<p>๖. คำประสมที่เป็นคำสันสกฤตกับคำไทย เช่น ทรัพย์ + สิน เป็น ทรัพย์สิน ฉัตร + ชั้น เป็น ฉัตรชั้น ศักดิ + นา เป็น ศักดินา ฯลฯ</p>\n<p>๗. คำประสมที่เป็นคำบาลีกับคำบาลี เช่น ราช +การ เป็น ราชการ สุข + อุทัย เป็น สุโขทัย ปฐม + วัย เป็น ปฐมวัย ปทุม + ธานี เป็น ปทุมธานี ฯลฯ</p>\n<p>๘. คำประสมที่เป็นคำบาลีกับคำสันสกฤต เช่น ปฐม + บุรุษ เป็น ปฐมบุรุษ พจน + อนุกรม เป็น พจนานุกรม รัฐ + ศาสตร์ เป็น รัฐศาสตร์ จิต + วิทยา เป็น จิตวิทยา ฯลฯ</p>\n<p>๙. คำประสมที่เป็นคำสันสกฤตกับคำสันสกฤต เช่น มัธยม + ศึกษา เป็น มัธยมศึกษา เกษตร + กรรม เป็น เกษตรกรรม ศิลป + ศาสตร์ เป็น ศิลปศาสตร์ วรรณ + กรรม เป็น วรรณกรรม ฯลฯ</p>\n<p>๑๐. คำประสมที่เป็นคำสันสกฤตกับคำบาลี เช่น ฉัตร + ชัย เป็น ฉัตรชัย ศาสน + สมบัติ เป็น ศาสนสมบัติ อากาศ + ธาตุ เป็น อากาศธาตุ ฯลฯ</p>\n<p>๑๑. คำประสมที่เป็นคำเขมรกับคำบาลี เช่น นัก + บุญ เป็น นักบุญ ผจญ + ภัย เป็น ผจญภัย สรวม + ชีพ เป็น สรวมชีพ ชาญ + ชัย เป็น ชาญชัย ฯลฯ</p>\n<p>๑๒. คำประสมที่เป็นคำเขมรกับคำสันสกฤต เช่น สนอง + โอษฐ์ เป็น สนองโอษฐ์ นัก + ปราชญ์ เป็น นักปราชญ์ สรวง + สวรรค์ เป็น สรวงสวรรค์ ฯลฯ</p>\n', created = 1715864243, expire = 1715950643, headers = '', serialized = 0 WHERE cid = '3:39523f804e9e9965fccdcf721c575cd1' in /home/tgv/htdocs/includes/cache.inc on line 112.

คำประสม

รูปภาพของ snspatchara
คำประสม

แม้ว่าภาษาไทยจะเป็นภาษาคำโดด แต่ก็ปรากฏว่าเรามี “คำประสม” ใช้อยู่ในภาษาไทยมากมาย ทั้งนี้ย่อมแสดงให้เห็นความฉลาดสามารถของบรรพบุรุษของเราที่ท่านมีวิธีสร้างคำใหม่ ๆ ขึ้นมาได้มากมาย ทั้งจากภาษาไทยล้วน ๆ หรืออาจประสมกับคำภาษาอื่น หรืออาจเอาคำภาษาอื่นมาผสมเป็นคำไทยก็ได้

“คำประสม” ได้แก่ คำที่เกิดจากการนำเอาคำมูลหรือคำหลักตั้งแต่ ๒ คำขึ้นไปมาประสมกัน จะเป็นคำภาษาเดียวกัน คือ จะเป็นคำไทยกับคำไทย คำบาลีกับคำบาลี คำสันสกฤตกับคำสันสกฤต หรือจะเป็นคำไทยกับคำภาษาอื่น ๆ เช่น ไทยกับบาลี ไทยกับสันสกฤต ไทยกับเขมร หรือจะเป็นภาษาต่างประเทศด้วยกัน เช่น บาลีกับบาลี สันสกฤตกับสันสกฤต บาลีกับสันสกฤต เขมรกับบาลี หรือเขมรกับสันสกฤต เป็นต้น ก็ได้ ดังนี้

๑. คำประสมที่เป็นคำไทยกับคำไทย เช่น พ่อ + ตา เป็น พ่อตา แม่ + ยาย เป็น แม่ยาย พ่อ + ผัว เป็น พ่อผัว แม่ + ผัว เป็น แม่ผัว โรง + แรม เป็น โรงแรม ฯลฯ

๒. คำประสมที่เป็นคำไทยกับคำบาลี เช่น ไทย + ยาม เป็น ไทยยาม หลัก + ฐาน เป็น หลักฐาน แผน + การ เป็น แผนการ หลัก + การ เป็น หลักการ ฯลฯ

๓. คำประสมที่เป็นคำไทยกับคำสันสกฤต เช่น ทุน + ทรัพย์ เป็น ทุนทรัพย์ ไม้ + ตรี เป็น ไม้ตรี เสียง + จัตวา เป็น เสียงจัตวา ยก + ครู เป็น ยกครู ฯลฯ

๔. คำประสมที่เป็นคำไทยกับคำเขมร เช่น ยก + ทรง เป็น ยกทรง รับ + ขวัญ เป็น รับขวัญ วัน + เพ็ญ เป็น วันเพ็ญ เชี่ยว + ชาญ เป็น เชี่ยวชาญ ฯลฯ

๕. คำประสมที่เป็นคำบาลีกับคำไทย เช่น มูล + ค่า เป็น มูลค่า ผล + ไม้ เป็น ผลไม้ พล + เมือง เป็น พลเมือง ราช + วัง เป็น ราชวัง พุทธ + เจ้า เป็น พุทธเจ้า ฯลฯ

๖. คำประสมที่เป็นคำสันสกฤตกับคำไทย เช่น ทรัพย์ + สิน เป็น ทรัพย์สิน ฉัตร + ชั้น เป็น ฉัตรชั้น ศักดิ + นา เป็น ศักดินา ฯลฯ

๗. คำประสมที่เป็นคำบาลีกับคำบาลี เช่น ราช +การ เป็น ราชการ สุข + อุทัย เป็น สุโขทัย ปฐม + วัย เป็น ปฐมวัย ปทุม + ธานี เป็น ปทุมธานี ฯลฯ

๘. คำประสมที่เป็นคำบาลีกับคำสันสกฤต เช่น ปฐม + บุรุษ เป็น ปฐมบุรุษ พจน + อนุกรม เป็น พจนานุกรม รัฐ + ศาสตร์ เป็น รัฐศาสตร์ จิต + วิทยา เป็น จิตวิทยา ฯลฯ

๙. คำประสมที่เป็นคำสันสกฤตกับคำสันสกฤต เช่น มัธยม + ศึกษา เป็น มัธยมศึกษา เกษตร + กรรม เป็น เกษตรกรรม ศิลป + ศาสตร์ เป็น ศิลปศาสตร์ วรรณ + กรรม เป็น วรรณกรรม ฯลฯ

๑๐. คำประสมที่เป็นคำสันสกฤตกับคำบาลี เช่น ฉัตร + ชัย เป็น ฉัตรชัย ศาสน + สมบัติ เป็น ศาสนสมบัติ อากาศ + ธาตุ เป็น อากาศธาตุ ฯลฯ

๑๑. คำประสมที่เป็นคำเขมรกับคำบาลี เช่น นัก + บุญ เป็น นักบุญ ผจญ + ภัย เป็น ผจญภัย สรวม + ชีพ เป็น สรวมชีพ ชาญ + ชัย เป็น ชาญชัย ฯลฯ

๑๒. คำประสมที่เป็นคำเขมรกับคำสันสกฤต เช่น สนอง + โอษฐ์ เป็น สนองโอษฐ์ นัก + ปราชญ์ เป็น นักปราชญ์ สรวง + สวรรค์ เป็น สรวงสวรรค์ ฯลฯ

สร้างโดย: 
snspatchara

มหาวิทยาลัยศรีปทุม ผู้ใหญ่ใจดี
 

 ช่วยด้วยครับ
นักเรียนที่สร้างบล็อก กรุณาอย่า
คัดลอกข้อมูลจากเว็บอื่นทั้งหมด
ควรนำมาจากหลายๆ เว็บ แล้ววิเคราะห์ สังเคราะห์ และเขียนขึ้นใหม่
หากคัดลอกทั้งหมด จะถูกดำเนินคดี
ตามกฎหมายจากเจ้าของลิขสิทธิ์
มีโทษทั้งจำคุกและปรับในอัตราสูง

ช่วยกันนะครับ 
ไทยกู๊ดวิวจะได้อยู่นานๆ 
ไม่ถูกปิดเสียก่อน

ขอขอบคุณในความร่วมมือครับ

อ่านรายละเอียด

ด่วน...... ขณะนี้
พระราชบัญญัติลิขสิทธิ์ (ฉบับที่ 2) พ.ศ. 2558 
มีผลบังคับใช้แล้ว 
ขอให้นักเรียนและคุณครูที่ใช้งาน
เว็บ thaigoodview ในการส่งการบ้าน
ระมัดระวังการละเมิดลิขสิทธิ์ด้วย
อ่านรายละเอียดที่นี่ครับ

 

สมาชิกที่ออนไลน์

ขณะนี้มี สมาชิก 0 คน และ ผู้เยี่ยมชม 227 คน กำลังออนไลน์