อาณาจักรสัตว์

 


วันวิทยาศาสตร์ 

 

 รัฐบาลไทยกำหนดให้วันที่ 18 สิงหาคม เป็นวันวิทยาศาสตร์แห่งชาติเนื่องจากวันที่ 18 สิงหาคม พ.ศ. 2411พระบาทสมเด็จพระจอมเกล้าเจ้าอยู่หัว ได้เสด็จพระราชดำเนินชลมารคและสถลมารค ทอดพระเนตรสุริยุปราคาเต็มดวงที่ทรงคำนวณพยากรณ์ไว้ล่วงหน้า 2 ปี ว่าจะเกิดในวันอังคาร ขึ้น 1 ค่ำ เดือน 10 ปีมะโรง สัมฤทธิศก จุลศักราช 1230 โดยจะเห็นหมดดวงที่หว้ากอ จ.ประจวบคีรีขันธ์ ตรงเกาะจานขึ้นไปถึงปราณบุรี และลงไปถึง จ.ชุมพร จึงโปรดฯ ให้เจ้าพระยาศรีสุริยวงศ์ (ช่วง บุนนาค) ไปสร้างค่ายหลวงและพลับพลาที่ประทับ มีคณะนักดาราศาสตร์จากประเทศฝรั่งเศส และเซอร์แฮรี ออด เจ้าเมืองสิงคโปร์เดินทางมาเข้าเฝ้าฯ และร่วมในการสังเกตการณ์

อาณาจักรสัตว์

สิ่งมีชีวิตที่จัดอยู่ในอาณาจักรมีมากกว่า 1.7 ล้านสปีชีส์ ในจำนวนนี้เป็นแมลงประมาณ 6 แสนชนิด สัตว์ถือเป็นสิ่งมีชีวิตที่มีความสำคัญต่อระบบนิเวศในแง่ของผู้บริโภค ซึ่งเป็นผลทำให้มีการถ่ายทอดพลังงานไปยังผู้บริโภคระดับต่างๆหลักการจัดจำพวกและการจัดไฟลัมในอาณาจักรสัตว์ สัตว์เลี้ยงลูกด้วยนม นก ปลา สัตว์เลื้อยคลาน และสัตว์ครึ่งบกครึ่งน้ำ เป็นสัตว์มีกระดูกสันหลัง (Invertebrates) หมายความว่ามันไม่มีโครงร่างแข็งอยู่ภายใน
เราอาจจะหาสัตว์ไม่มีกระดูกสันหลัง มาศึกษาได้หลายชนิด โดยหาตามสวนหรืออุทยาน เราสามารถศึกษาได้หลายเรื่อง เช่น มันเป็นสัตว์สปีชีส์ไหน กินอะไรเป็นอาหาร ชอบอาศัยอยู่ในที่แบบใด ทำกิจกรรมเมื่อไร (กลางวันหรือกลางคืน) และมันเคลื่อนที่อย่างไร
โปรโตซัว (Protozoa)

เป็นสัตว์ชนิดเดียวเช่น อะมีบา พารามีเซียม อยู่ในไฟลัมโปรโตซัว โดยทั่วไปจะอาศัยอยู่ในน้ำในทะเล ในสระหรือที่ชื้นแฉะ เช่นตามบ่อ เราจะเห็นมันได้โดยการส่องดูด้วยกล้องจุลทรรศน์


ซีเลนเทอเรต (Coelenterate)

ซีเลนเทอเรตเป็นสัตว์ที่มีลำตัวนิ่ม ภายในกลวงและมีหนวด แมงกะพรุน ซีแอนีโมนี ไฮดราและปะการังเป็นซีเลนเทอเรตทั้งหมด

 


แอนีลิด (Annelid)

ไส้เดือนจัดอยู่ในไฟลัมแอนีลิด สัตว์พวกนี้มีลำตัวนิ่ม ลำตัวแบ่งเป็นวงๆ หรือปล้องเรียงติดกัน ไส้เดือนเคลื่อนที่โดยการคลายตัวและหดของกล้ามเนื้อในร่างกาย


อาร์โทรพอด (Arthropod)

อาร์โทรพอด มีโครงร่างภายนอก (Exoskeletion) ขาและหนวดเป็นข้อๆ ลำตัวมักแบ่งเป็น 3 ส่วน คือ หัว อก และท้อง อาร์โทรพอด แบ่งออกเป็น 4 คลาสหลัก คือ

ครัสเตเชียน (Crustacean)

วูด ไลซ์ และสัตว์ที่มีเปลือก เช่น ปูและกุ้งเป็นครัสเตเชีย สัตว์พวกนี้จะมีขา 10-14 ขา มีหนวด 2 คู่ และหายใจโดยใช้เหงือก


อะแรชนิด (Arachnid)

แมงมุมและแมงป่องเป็นอะแรชนิด สัตว์เหล่านี้มี 8 ขา ไม่มีหนวดและมีตาประกอบอย่างง่ายๆ อะแรชนิดบางชนิดมีการชักใยสำหรับดักจับอาหาร

  

แมลง (Insect)

แมลงมี 6 ขา มีปีก 2 คู่ มีหนวด 1 คู่ และมีตาประกอบ 2 ตา ทราบไหมว่า ประมาณ 70% ของสัตว์ทั้งหมดเป็นแมลง

ไมริเอพอด (Myriapod)

อาร์โทรพอดที่มีขาเป็นจำนวนมาก เช่นตะขาบ และกิ้งกือ เรียกว่า ไมริเอพอด

 

มอลลัสก์ (Mollusc)

มอลลัสก์เป็นสัตว์ที่มีลำตัวนิ่ม มีเปลือกแข็งหุ้มและมีเท้าเดียว หอยทาก ทาก และหอยกาบ ล้วนแต่เป็นมอลลัสก์


เอไคโนเดอร์ม (echinoderm)

เอไคโนเดอร์ม เป็นสัตว์ที่มีผิวเป็นหนาม เช่น ปลาดาว และหอยเม่น

สัตว์มีกระดูกสันหลัง (Vertebrate)

สัตว์ทุกชนิดที่มีกระดูกสันหลังเรียกว่าสัตว์มีกระดูกสันหลัง (Vetrabrate)

ปลา (Fish)

ปลาเป็นสัตว์ที่มีกระดูกสันหลังประเภทสัตว์เลือดเย็น ปลามีเกล็ดและครีบ หายใจโดยใช้เหงือก และอาศัยอยู่ในน้ำ

 


สัตว์ครึ่งบกครึ่งน้ำ (Amphibian)

สัตว์ครึ่งบกครึ่งน้ำจะรวมทั้งกบและตัวนิวด์ (Newt) มันเป็นสัตว์เลือดเย็นที่สามารถ อาศัยอยู่ได้ทั้งบนบกและในน้ำ สัตว์เหล่านี้วางไข่ในน้ำ

สัตว์เลื้อยคลาน (Reptile)

สัตว์เลื้อยคลานประกอบด้วย งู จิ้งจก ตุ๊กแก และเต่า สัตว์พวกนี้มีผิวหนังเป็นเกล็ด และวางไข่ที่มีเปลือกหุ้มบนพื้นดิน

 


นก (Aves)

นกมีขนเป็นแผง และมีปีก สืบพันธุ์โดยการออกไข่


สัตว์เลี้ยงลูกด้วยนม (Mammal)

สัตว์เลี้ยงลูกด้วยนมเป็นสัตว์เลือดอุ่นที่มีกระดูกสันหลัง มีขนเป็นเส้นแบบแฮร์ (Hair) หายใจด้วยปอด มีแขนขา 2 คู่ อาหารขณะเป็นตัวอ่อน คือ น้ำนม

เกณฑ์เฉพาะในการจำแนกสัตว์
1. พิจารณาจากรูปแบบของสมมาตร
1.1 Asymemetry ไม่สมมาตร คือไม่สามารถแบ่งร่างกายออกเป็นสองส่วนที่เหมือนกันได้ เช่น อมีบา
1.2 Bilateral symmetry คือ สามารถแบ่งร่างกายออกเป็นสองส่วนที่เท่า ๆ กันได้
1.3 Radial symmetry สมมาตรในแนวรัศมี คือ สามารถแบ่งร่างกายออกเป็นสองส่วนให้มีลักษณะเหมือนกันได้หลายแนว โดยตัดผ่านจุดศูนย์กลางตามแนวรัศมี เช่น ฟองน้ำบางชนิด แมงกะพรุน และดาวทะเล
1.4 Sperical หรือ Universal symmetry สามารถแบ่งร่างกายออกเป็นสองส่วนที่เหมือนกันได้ทุกระนาบโดยผ่านจุดศูนย์ กลางเช่นกัน ได้แก่ Volvox
2. พิจารณาจากจำนวนชั้นของเนื้อเยื่อ (Germ layer)
2.1 Diploblastica จะมีเนื้อเยื่อเพียงสองชั้นคือ เนื้อเยื่อชั้นนอก(ectoderm) และเนื้อเยื่อชั้นใน(endoderm)
2.2 Triploblastica จะมีเนื้อเยื่อ สามชั้น คือ มีเนื้อเยื่อชั้นกลางเพิ่มเข้ามาคือ Mesoderm ได้แก่ สัตว์จำพวกหนอนตัวแบนขึ้นไป
3. พิจารณาจากช่องว่างภายในลำตัว (coelom)
3.1 Acoelomate animal คือสัตว์ที่ไม่มีช่องว่างภายในลำตัวเช่น หนอนตัวแบน (Phylum Platyhelminthes)
3.2 Psudocoelomate animal (Psudocoelom) คือสัตว์ที่มีช่องว่างแบบเทียม จะมีช่องว่างที่อยู่ระหว่าง เนื้อเยื่อชั้นนอกกับชั้นกลาง หรือเนื้อเยื่อชั้นกลางกับชั้นใน เช่น หนอนตัวกลม (Phylum Nemathehelminthes)
3.3 Eucoelomate animal (True coelom) คือสัตว์ที่มีช่องว่างภายในลำตัวแบบแท้ เกิดจากเนื้อเยื่อชั้นกลางแยกตัวออกไปเป็นช่อง เช่น ไส้เดือนดิน และสัตว์ชั้นสูง เป็นต้น
4. พิจารณาจากการแบ่งส่วนลำตัวเป็นข้อปล้อง (Segmentation)
4.1 Non metameric คือแบ่งเป็นข้อปล้องเฉพาะภายนอก เกิดที่ลำตัวเท่านั้น ไม่ได้เกิดตลอดทั้งตัว เช่น พยาธิตัวตืด,หนอนตัวกลม, เอคไคโนเดิร์ม และมอลลัสกา
4.2 Metameric คือแบ่งเป็นข้อปล้องอย่างแท้จริง โดยเกิดตลอดลำตัว เกิดจากเนื้อเยื่อชั้นกลาง เนื้อเยื่อชั้นอื่นจึงเกิดข้อปล้องไปด้วย เช่น ไส้เดือนดิน กุ้ง ปู และสัตว์ที่มีกระดูกสันหลัง
5. พิจารณาจากการมีระบบเลือด
5.1 สัตว์ที่ยังไม่มีระบบเลือด เช่น ฟองน้ำ,ซีเลนเทอเรต, หนอนตัวแบนและ หนอนตัวกลม
5.2 สัตว์ที่มีระบบเลือดแบบวงจรเปิด เช่น อาร์โทรพอด, มอลลัสก์ และปลาดาว เป็นต้น
5.3 สัตว์ที่มีระบบเลือดแบบวงจรปิด เช่น ไส้เดือนดิน และสัตว์ชั้นสูง
6. พิจารณาจากลักษณะทางเดินอาหาร
6.1 ทางเดินอาหารแบบไม่แท้จริง (Channel network) เป็นเพียงช่องว่างแบบร่างแห เป็นเพียงทางผ่านของน้ำจากภายนอกเข้าสู่ลำตัว เช่น ฟองน้ำ
6.2 ทางเดินอาหารแบบไม่สมบูรณ์ (Incomplete digestive tract) มีลักษณะคล้ายถุง มีช่องเปิดช่องเดียว เป็นทางเข้าและออกของอาหาร เช่นพวกซีเลนเทอเรต และหนอนตัวแบน
6.3 ทางเดินอาหารสมบูรณ์ (Complete digestive tract)เป็นท่อกลวง มีท่อเปิด 2ทาง เป็นทางเข้า และทางออกคนละทางกัน ได้แก่ หนอนตัวกลม, ไส้เดือนดิน, แมลง, มอลลัสก์, สัตว์ชั้นสูง
7. พิจารณาจากแกนพยุงร่างกาย หรือโนโตคอร์ต (Notochord) แล้วจึงกลายเป็นกระดูกสันหลังหรือไม่
8. พิจารณาจากแบบแผนการเจริญเติบโตจากตัวอ่อนว่ามี ช่องเหงือก (Gill slit) หรือไม่

  *** แหล่งที่มา    www.skn.ac.th 

รูปภาพของ knw_32290

เนื้อหาน่าสนใจสุดขั๊ว ว ว

;]]

http://www.thaigoodview.com/node/41235

ฝากคับ บ ฝาก ก*

:: Virunpat Thokondee :: PATLOM* [3/5]

รูปภาพของ knw32089

ดีค๊ะ ๆ ๆ

รูปภาพของ knw32062

ดีมากคัฟ

ได้รู้เกี่ยวกับวันวิทยาศาสตร์มาก

--*

เนื้อหาดี

 

 

มีภาพประกอบสวยๆๆๆ

เนื้อหาดีมากค่ะ ,,
รายละเอียดสั้นง่ายได้ใจความ ม

: )

เนื้อหาละเอียด

 

จัดเป็นระเบียบ

รูปภาพของ knw32084

*ช่วยไป Comment บล๊อก ด้วยนะค่ะ ^^
http://www.thaigoodview.com/node/31363

 

คนเม้นเยอะจังค่ะ ๆ,

รูปเยอะ ดีๆ

รูปสวยค่ะๆ :))

เข้าใจง่ายๆ ,
สวยดีค๊ะๆ ! เหมือนคนทำๆ ^ ^

สวยไปหนาย?????

เริส!!!!!!!!

สวยดี

สวยดี
น่าอ่านมากๆๆๆ
สีสันสดใส
สุดยอด

เนื้อหาน่าอ่านมาก
สวยดี ดูดีมีเสน่ห์^^[ในการอ่าน]

สวยมาก
มีระเบียบ
เนื้อหามีสาระดี

ช่วยแสดงความเห็นให้ด้วยคะ

ทุกคน...

เข้ามากรุณาแสดงความเห็นด้วย

รูปภาพของ knw32084

*ช่วยไป Comment บล๊อก ด้วยนะค่ะ ^^
http://www.thaigoodview.com/node/31363

 

แบนเนอร์สวยมากค่ะ  ๆ,

รูปภาพของ knw32075

เสียเปรียบ ๆ ๆ  เม้นคืนด้วย

http://www.thaigoodview.com/node/31039

สวยจัง เนื้อหาดีด้วย

 

รูปภาพของ knw32075

สาระ เยอะเยะ เลย

http://www.thaigoodview.com/node/31039

รูปภาพของ knw32072

มีสาระจัง

 

^^

สวยมากมายเลยค่ะ

 สอนเราทำบ้างนะ

^^;

สวยดี

ชอบๆๆๆ

รูปภาพของ knw32089

ภาพดีมากค่ะ

เนื้อหาละเอียด

รูปภาพของ knw32062

ดีมากคัฟ

พยายามทำดีที่สุดแล้วนะคะ

 ถ้ามีอะไรผิดพลาดก็ขออภัยด้วย

 ขอบคุณสำหรับทุกๆ

 ความเห็นคะ 

รูปภาพของ knw32077

เนื้อหาเยอะดีค่ะ

ได้ความรู้ 

รูปภาพของ knw32061

ก็ดีน่ะ แต่ก็..http://www.thaigoodview.com/node/31346 อันนี้ดีกว่า ไปเม้นคืนนำ

มหาวิทยาลัยศรีปทุม ผู้ใหญ่ใจดี
 

 ช่วยด้วยครับ
นักเรียนที่สร้างบล็อก กรุณาอย่า
คัดลอกข้อมูลจากเว็บอื่นทั้งหมด
ควรนำมาจากหลายๆ เว็บ แล้ววิเคราะห์ สังเคราะห์ และเขียนขึ้นใหม่
หากคัดลอกทั้งหมด จะถูกดำเนินคดี
ตามกฎหมายจากเจ้าของลิขสิทธิ์
มีโทษทั้งจำคุกและปรับในอัตราสูง

ช่วยกันนะครับ 
ไทยกู๊ดวิวจะได้อยู่นานๆ 
ไม่ถูกปิดเสียก่อน

ขอขอบคุณในความร่วมมือครับ

อ่านรายละเอียด

ด่วน...... ขณะนี้
พระราชบัญญัติลิขสิทธิ์ (ฉบับที่ 2) พ.ศ. 2558 
มีผลบังคับใช้แล้ว 
ขอให้นักเรียนและคุณครูที่ใช้งาน
เว็บ thaigoodview ในการส่งการบ้าน
ระมัดระวังการละเมิดลิขสิทธิ์ด้วย
อ่านรายละเอียดที่นี่ครับ

 

สมาชิกที่ออนไลน์

ขณะนี้มี สมาชิก 0 คน และ ผู้เยี่ยมชม 512 คน กำลังออนไลน์