• user warning: Table 'cache_filter' is marked as crashed and should be repaired query: SELECT data, created, headers, expire, serialized FROM cache_filter WHERE cid = '3:b28684c5d5226df152798df2255bf7f0' in /home/tgv/htdocs/includes/cache.inc on line 27.
  • user warning: Table 'cache_filter' is marked as crashed and should be repaired query: UPDATE cache_filter SET data = '<!--paging_filter--><p align=\"center\">\n<span style=\"font-size: x-large; color: #ff3333\">GMO </span>\n</p>\n<blockquote><p>\n <span style=\"font-size: xx-small\">GMO เป็นตัวย่อของชื่อเต็มที่เรียกว่า Genetically Modified Organism ซึ่งแปล</span><span><span style=\"font-size: xx-small\">เป็นไทยได้ว่า .<span style=\"color: #009900\">สิ่งมีชีวิต ที่ได้จากการเปลี่ยนถ่ายหน่วยพันธุกรรม (gene)</span> . สิ่งมีชีวิตที่ว่านี้ อาจจะเป็นพืชหรือสัตว์ก็ได้ แต่ขณะนี้ นิยมการเปลี่ยนถ่ายหน่วยพันธุกรรมของพืช เพราะได้ประโยชน์ในทางเศรษฐกิจ นอกจากนี้ ยังทำได้ง่ายกว่า และสามารถศึกษาผลกระทบที่ได้จากหลายชั่วอายุของพืช โดยใช้เวลาน้อยกว่าการศึกษาในสัตว์ซึ่งแต่ละชั่วอายุสัตว(generation) จะต้องใช้เวลานาน</span></span>\n </p>\n<p>\n <span><span style=\"font-size: xx-small; color: #3333ff\">อาหารที่ได้จาก GMO นั้น เรียกว่า GM Foods หรือ GE Foods(Genetic Engineering Foods)</span></span>\n </p>\n</blockquote>\n<p><span><u></u></span></p>\n<p>\n<span style=\"font-size: xx-small; color: #9900cc\">วิธีการเปลี่ยนถ่ายหน่วยพันธุกรรมนั้น ทำอย่างไร ?</span><span style=\"font-size: xx-small\"> </span>\n</p>\n<p></p>\n<blockquote><p>\n <span><span style=\"font-size: xx-small\">     วิธีการเปลี่ยนถ่ายหน่วยพันธุกรรม หรือที่เรียกกันว่า การตัดต่อยีนนั้น สามารถทำได้โดยใช้เทคโนโลยีที่เรียกว่า พันธุวิศวกรรม (Genetic Engineering) ซึ่งเป็นส่วนหนึ่งของวิชาเทคโนโลยีชีวภาพ (Biotechnology) ซึ่งเป็นวิธีการคัดเลือกสายพันธ์โดยตรง แทนที่วิธีการตามธรรมชาติซึ่งใช้เวลานาน โดยการค้นหา gene ตัวใหม่ ที่กำหนดลักษณะเฉพาะ(Traits)ตามที่เราต้องการ ซึ่งอาจเป็น gene จากพืช สัตว์ หรือ bacteria ก็ได้ ซึ่งวิธีค้นหานั้นมีรายละเอียดอีกมาก จากนั้นทำการถ่ายแบบ (copy) ยีนดังกล่าว ลงไปใน chromozome ซึ่งมีจำนวน 2 n และอยู่ในรูป double herix ของ cell พืชเพียง cell เดียว </span></span>\n </p>\n<p>\n <span><span style=\"font-size: xx-small\">      การถ่ายทอด gene ที่ถูกถ่ายแบบมาลงไปใน DNA ซึ่งอยู่ใน chromozome ของ cell ใหม่นั้น ต้องอาศัยตัวช่วย 2 ตัว คือ 35S - promotor และ NOS . terminator ซึ่งทำหน้าที่เป็นตัวกำหนดให้เริ่มต้น และยุติการถ่ายแบบ ซึ่งทั้ง 35S-promotor และ NOS . terminator นั้น เป็นสารพันธุกรรมอย่างหนี่ง (genetic elements) ที่จะคงอยู่ใน cell ใหม่ และเพิ่มจำนวนตามจำนวน cell ใหม่ที่เพิ่มขึ้น นอกจากสารพันธุกรรม ทั้ง 2 ตัวดังกล่าวแล้ว ยังมี gene หรือหน่วยพันธุกรรมอีกตัวหนึ่ง ที่จำเป็นจะต้องใส่เข้าไปด้วยทุกครั้งที่มีการเปลี่ยนถ่ายหน่วยพันธุกรรม (genetical modification) เรียกว่า .<span style=\"color: #ff6666\">marker gene</span> . </span></span></p>\n<p> <img width=\"569\" src=\"http://www.fda.moph.go.th/fda-net/html/product/food/food_web/gmomain_files/head_files/chart.gif\" height=\"184\" /> \n </p>\n<p>\n <span><span style=\"font-size: xx-small; color: #ff6666\">     Marker Gene</span><span style=\"font-size: xx-small\"> เป็น gene ที่ทำให้สิ่งมีชีวิตใหม่นั้น มีความต้านทานต่อ herbicide insect และ antibiotic ได้ เพราะ cell ใหม่เพียง cell เดียว ที่ได้นั้น จะไม่สามารถเจริญเติบโตต่อไปในอาหารที่มีสาร antibiotic เพื่อฆ่าเชื้อ bacteria และสาร herbicide ที่ติดมากับอาหารได้ อีกทั้งต้องการ ให้มีความต้านทานต่อแมลง และยาฆ่าวัชพืช (marker gene แบ่งออกได้เป็นหลายชนิด) ทั้ง 3 ตัวนี้ จึงมีบทบาทที่สำคัญ และจะได้กล่าวถึง รายละเอียดในส่วนที่เกี่ยวข้อง ต่อไป<br />\n </span></span>\n </p>\n</blockquote>\n<ul>\n<li>      <span style=\"font-size: small\"><b>ความหวั่นวิตกเกี่ยวกับเรื่องของหน่วยพันธุกรรม </b></span>\n </li>\n</ul>\n<p>\n<span style=\"font-size: xx-small\">          พันธุวิศวกรรม เป็นวิทยาการใหม่ที่มนุษย์เพิ่งจะเริ่มต้นศึกษา การวิจัย ยังอยู่ในขั้นพื้นฐาน ยังไม่เป็นที่ยอมรับหรือปฏิเสธ และเป็นวิทยาการที่มีอันตรายแฝงอยู่ในตัว ซึ่งถูกผลักดันเข้าสู่สังคมของโลก ในรูปการค้าโดยไม่มีหลักฐานอ้างอิงที่เพียงพอ ถึงความจำเป็น</span>\n</p>\n<p><span></span></p>\n<p>\n<span style=\"font-size: xx-small; color: #006600\">อันตรายของอาหารเปลี่ยนถ่ายหน่วยพันธุกรรม (GM Foods)ประกอบด้วย</span>\n</p>\n<p></p>\n<blockquote><p>\n <span><span style=\"font-size: xx-small\">1. เกิดธัญพืช และวัชพืชพันธ์ใหม่ที่มีความต้านทานต่อแมลง<br />\n 2. ทำให้ความหลากหลายของหน่วยพันธุกรรมลดลง<br />\n 3. เกิดการผสมข้ามเผ่าพันธ์ของเชื้อ virus และ bacteria โดยไม่ทราบผลกระทบที่จะตามมา <br />\n 4. ถ้ามีการ Integrate ของ gene จาก GMO เข้าไปใน cells ของมนุษย์ จะทำให้มนุษย์ และสัตว์ให้มีความต้านทานต่อสาร antibiotic<br />\n 5. เกิดอันตรายอย่างร้ายแรงต่อเผ่าพันธ์แมลงต่างๆ เช่น แมลงเต่าทอง และแมลงในตระกูล Chrysopidae ซึ่งมีปีกเป็นลายตาข่าย<br />\n 6. ถ้าเกิดความผิดพลาดในการเปลี่ยนถ่ายหน่วยพันธุกรรมแล้ว จะไม่สามารถถ่ายหรือล้างกลับได้ และจะคงอยู่กับสิ่งมีชีวิตใหม่และแพร่พันธ์ต่อไปตลอดทุกชั่วอายุ <br />\n 7.เกิดการถ่ายทอดสารพันธุกรรมแปลกปลอมไปสู่ธัญพืชอื่นๆได้<br />\n 8. ทำให้การกสิกรรมต้องพึ่งพาทางเคมีมากเกินไป<br />\n 9.เกิดความล้มเหลวในการควบคุมแปลงทดลองปลูกพืช GMO เช่น กรณี bollguard cotton ใน USA ประเทศที่เป็นผู้ส่งออก GMO รายใหญ่<br />\n 10. ทำให้เกิดสารเคมีตกค้างในพืชมากเกินไป<br />\n 11. เกิดการชี้นำกสิกรรมของโลกโดยบริษัทฯผู้ผลิตเมล็ดพันธ์ที่ได้จากการเปลี่ยนถ่ายหน่วยพันธุกรรม และบริษัทฯผู้ขายเคมีที่ใช้ในการเปลี่ยนถ่ายหน่วยพันธุกรรม<br />\n 12. เกิดการฆ่าทำลายแมลง นก สัตว์ป่า ฯลฯ โดยธัญพืชพันธ์ใหม่ที่จะขยายและกระจายไปทั่วโลกโดยไม่สามารถควบคุมได้ มีตัวอย่างให้เห็นในแปลงทดลองปลูกพืชตัวอย่างที่ได้จากการเปลี่ยนถ่ายหน่วนพันธุกรรม</span></span><span> </span></p>\n<p>\n <span><span style=\"font-size: x-small; color: #ff0033\">กลุ่มที่คัดค้าน</span></span>\n </p>\n<p>\n <span><span style=\"font-size: xx-small\">The Soil Association are campaigning for a ban.</span></span>\n </p>\n<p>\n <span><span style=\"font-size: xx-small\">Greenpeace – ban.</span></span>\n </p>\n<p>\n <span><span style=\"font-size: xx-small\">Friends of the Earth </span></span>\n </p>\n<p>\n <span><span style=\"font-size: xx-small\">– 5 year moratorium.</span></span>\n </p>\n<p>\n <span style=\"font-size: medium\">อ้างอิง ประธาน ประเสริฐวิทยาการ (คบ.เขต 12)</span>\n </p>\n<p>\n <a href=\"http://www.fda.moph.go.th/fda-net/html/product/food/food_web/gmomain_files/gmo1.htm\">http://www.fda.moph.go.th/fda-net/html/product/food/food_web/gmomain_files/gmo1.htm</a>\n </p>\n<p>\n &nbsp;\n </p>\n<p align=\"center\">\n  <strong>GMO ในสัตว์</strong>\n </p>\n<p>\n &nbsp;\n </p>\n<p>\n <span style=\"font-size: x-small; color: #004040; font-family: MS Sans Serif\">1. GMO เพื่อเพิ่มผลผลิตปศุสัตว์ เพิ่มคุณภาพผลิตภัณฑ์จากสัตว์ และทำให้ปศุสัตว์มีความทนทานต่อโรคเพิ่มขึ้น</span>\n </p>\n<div align=\"center\">\n <center>\n<table border=\"0\" width=\"94%\">\n<tbody>\n<tr>\n<td width=\"100%\"><span style=\"font-size: x-small; color: #004040; font-family: MS Sans Serif\"><strong>1.1 การเพิ่มผลผลิตปศุสัตว์</strong></span></td>\n</tr>\n<tr>\n<td width=\"100%\">\n<div align=\"center\">\n <center>\n<table border=\"0\" width=\"93%\">\n<tbody>\n<tr>\n<td width=\"100%\"><span style=\"font-size: x-small; font-family: MS Sans Serif\">1) <b>สุกร</b> มีการฉีดยีนของฮอร์โมนเร่งการเจริญเติบโต (growth hormone) <br />\n      ข้อดี : สุกรโตเร็วขึ้น และมีขนาดใหญ่กว่าปกติ 2-3 เท่าตัว<br />\n      ข้อเสีย : สุกรมีปัญหาเรื่องขาและข้อ ทำให้สุกรเดินกระเผลก หรือเดินไม่ได้</span></td>\n</tr>\n<tr>\n<td width=\"100%\">\n<p align=\"justify\">\n <span style=\"font-size: x-small; font-family: MS Sans Serif\">2) <b>โคนม</b> มีการใช้ฮอร์โมนเร่งการเจริญเติบโต (bovine somatotropin, bST)<br />\n      ซึ่งได้จากการตัดต่อยีนแล้วใส่เข้าไปในแบคทีเรียเพื่อแบคทีเรียผลิต และทำการสกัดเพื่อนำไปฉีดในโค<br />\n      ข้อดี : ทำให้โคนมผลิตน้ำนมได้มากกว่าปกติประมาณ 10-30%<br />\n      ข้อถกเถียง : ยังไม่มีการศึกษาถึงผลกระทบ แต่ปกติแล้วโคนมจะมีการหลั่งฮอร์โมนตัวนี้อยู่แล้ว<br />\n      ถ้ามีการฉีดฮอร์โมนตัวนี้อาจทำให้มีการหลั่งฮอร์โมนตัวนี้เพิ่มขึ้น ซึ่งอาจจะมีผลกระทบต่อผู้บริโภค</span>\n </p>\n</td>\n</tr>\n<tr>\n<td width=\"100%\"><span style=\"font-size: x-small; font-family: MS Sans Serif\">3) <b>สุกร</b> เร่งการเจริญเติบโต และเพิ่มปริมาณเนื้อแดง โดยการใช้ฮอร์โมน parcine somatotropin (pST) </span></td>\n</tr>\n<tr>\n<td width=\"100%\"><span style=\"font-size: x-small; font-family: MS Sans Serif\">4) <b>แกะ</b> เพื่อคุณภาพ ความแข็งแรง และทนทานของขนแกะประเทศออสเตรเลียได้ทำการฉีดยีนของเคอร์ราติน (keratin) เพื่อสร้าง<br />\n      transgenic sheep </span></td>\n</tr>\n</tbody>\n</table>\n<p> </p></center>\n </div>\n</td>\n</tr>\n<tr>\n<td width=\"100%\"><span style=\"font-size: x-small; color: #004040; font-family: MS Sans Serif\"><b>1.2 การผลิตสัตว์ให้มีความทนทานต่อโรคเพิ่มขึ้น</b></span></td>\n</tr>\n<tr>\n<td width=\"100%\">\n<div align=\"center\">\n <center>\n<table border=\"0\" width=\"93%\">\n<tbody>\n<tr>\n<td width=\"100%\"><span style=\"font-size: x-small; font-family: MS Sans Serif\">1) มีการตัดต่อยีนที่ทำให้สัตว์สร้างภูมิคุ้มกันได้ดีขึ้น</span></td>\n</tr>\n<tr>\n<td width=\"100%\"><span style=\"font-size: x-small; font-family: MS Sans Serif\">2) มีการตัดต่อยีนที่ทำให้ดื้อต่อเชื้อโรคนั้น ๆ ในสัตว์นั้น ๆ โดยยีนเฉพาะ และยีนที่มีขั้วตรงข้ามกับเชื้อที่จำเพาะ (hammer head<br />\n     ribozyme) เพื่อทำลายเชื้อไวรัสที่เข้ามาในเซลล์ ตัวอย่างของโรคคือ โรคมะเร็งเม็ดเลือดขาวในโคและโรคปากและเท้าเปื่อย</span></td>\n</tr>\n</tbody>\n</table>\n<p> </p></center>\n </div>\n</td>\n</tr>\n<tr>\n<td width=\"100%\"></td>\n</tr>\n</tbody>\n</table>\n<p> </p></center>\n </div>\n<p> <b></b></p>\n<p align=\"justify\">\n <span style=\"font-size: x-small; color: #004040; font-family: MS Sans Serif\">2. GMO เพื่อผลิตยารักษาโรค ชีวภัณฑ์ และอวัยวะสำหรับมนุษย์</span>\n </p>\n<p> </p>\n<div align=\"center\">\n <center>\n<table border=\"0\" width=\"94%\">\n<tbody>\n<tr>\n<td width=\"100%\">\n<p align=\"justify\">\n <span style=\"font-size: x-small; font-family: MS Sans Serif\">2.1 การผลิตยารักษาโรคที่ใช้ในมนุษย์ ปกติจะใช้แบคทีเรีย ยีสต์ หรือ cell culture เพื่อการผลิตโดยการฉีดยีนที่ตัดต่อ แล้วให้แบคทีเรีย ยีสต์หรือ <br />\n       cell culture เป็นตัวสร้าง แต่เนื่องจากยารักษาโรคบางอย่างสิ่งมีชีวิตอื่น ๆ ไม่สามารถสร้างได้และต้นทุนผลิตสูงนอกจากนี้การทำการสกัดและ<br />\n       ทำให้บริสุทธิ์ยากและผลิตได้น้อย จึงได้มีความคิดที่จะใช้สัตว์ในการผลิตยารักษาโรคต่าง ๆ<br />\n       ข้อดี : สามารถผลิตยารักษาโรคต่าง ๆ ได้อย่างมีประสิทธิภาพ ต้นทุนต่ำ ทำให้บริสุทธิ์ง่าย<br />\n       ข้อถกเถียง : ยังไม่มีการศึกษาถึงผลข้างเคียง</span>\n </p>\n</td>\n</tr>\n<tr>\n<td width=\"100%\"><span style=\"font-size: x-small; font-family: MS Sans Serif\">2.2 การผลิตเนื้อเยื่อ และอวัยวะที่ใช้ในมนุษย์</span></td>\n</tr>\n<tr>\n<td width=\"100%\">\n<div align=\"center\">\n <center>\n<table border=\"0\" width=\"91%\" height=\"93\">\n<tbody>\n<tr>\n<td height=\"67\" width=\"100%\">\n<p align=\"justify\">\n <span style=\"font-size: x-small; font-family: MS Sans Serif\">1) สุกรเป็นสัตว์อุดมคติที่จะเป็นตัวให้อวัยวะ เนื้อเยื่อและเซลล์ได้มีการฉีดยีนฮีโมโกลบินของคนในสุกรทำให้สามารถใช้เลือดสุกร<br />\n     ทดแทนเลือดคน <br />\n     ข้อดี : ลดการขาดแคลนเลือด ลดการติดต่อโรคระหว่างมนุษย์ทางโรค<br />\n     ข้อถกเถียง : ยังไม่มีการศึกษา เนื่องจากยังไม่มีการใช้ทางการค้า (commercially use)</span>\n </p>\n</td>\n</tr>\n<tr>\n<td height=\"18\" width=\"100%\">\n<p align=\"justify\">\n <span style=\"font-size: x-small; font-family: MS Sans Serif\">2) มีการใช้เซลล์สมองสุกร เซลล์ตับ และผิวหนัง เพื่อรักษาคน</span>\n </p>\n</td>\n</tr>\n</tbody>\n</table>\n<p> </p></center>\n </div>\n</td>\n</tr>\n</tbody>\n</table>\n<p> </p></center>\n </div>\n<p> <b></b></p>\n<p align=\"justify\">\n <span style=\"font-size: x-small; color: #004040; font-family: MS Sans Serif\">3. GMO เพื่อผลิตวัคซีนเพื่อป้องกัน และรักษาโรค</span>\n </p>\n<p> </p>\n<div align=\"center\">\n <center>\n<table border=\"0\" width=\"94%\" height=\"132\">\n<tbody>\n<tr>\n<td height=\"66\" width=\"100%\">\n<p align=\"justify\">\n <span style=\"font-size: x-small; font-family: MS Sans Serif\"><span style=\"color: #004040\"><strong>3.1 DNA vaccine</strong></span> คือ วัคซีนที่เกิดการตัดต่อยีนของไวรัสหรือแบคทีเรียที่จะประสงค์เข้าไปเชื่อมต่อยีนของไวรัสที่เป็นพาหะ (vector)<br />\n         ได้มีการผลิตและศึกษา DNA vaccine ต่าง ๆ หลายชนิด ซึ่งบางชนิดก็เริ่มมีการใช้ในมนุษย์ <br />\n         ข้อดี : สามารถกระตุ้นให้ร่างกายสร้างภูมิคุ้มกันได้เหมือนวัคซีนธรรมดา<br />\n         ข้อถกเถียง : ยังไม่มีการศึกษาถึงผลที่แน่นอน</span>\n </p>\n</td>\n</tr>\n<tr>\n<td height=\"18\" width=\"100%\"><span style=\"font-size: x-small; font-family: MS Sans Serif\"><strong><span style=\"color: #004040\">3.2 DNA vaccine</span> </strong>ในสัตว์ มีมากมายหลายชนิดเช่นเดียวกับคน ทั้งข้อดีและข้อถกเถียงเหมือน DNA vaccine ในมนุษย์</span></td>\n</tr>\n<tr>\n<td height=\"36\" width=\"100%\">\n<p>\n <span style=\"font-size: x-small; font-family: MS Sans Serif\"><span style=\"color: #004040\"><strong>3.3 Edible vaccine</strong></span> เป็นการผลิตวัคซีนโดยใช้พืช การทำเหมือน GMO ในพืช เพียงแต่ยีนที่ตัดต่อและใส่เข้าไปในพืชเป็นยีนของแบคทีเรีย<br />\n         หรือไวรัส แทนยีนที่เพิ่มผลผลิตมี Edible vaccine หลายชนิด ซึ่งบางชนิดได้เริ่มมีการใช้ในมนุษย์และ</span><span style=\"font-size: x-small; font-family: MS Sans Serif\">สัตว์</span>\n </p>\n</td>\n</tr>\n</tbody>\n</table>\n<p> </p></center>\n </div>\n<p> \n</p></blockquote>\n<p>\n&nbsp;\n</p>\n<p>\n&nbsp;\n</p>\n<p>\nอ้างอิง <a href=\"http://www.rdi.ku.ac.th/GMOs/GMOs1/index2/index1_3.htm\">http://www.rdi.ku.ac.th/GMOs/GMOs1/index2/index1_3.htm</a>\n</p>\n<p>\n&nbsp;\n</p>\n<p>\n  <span style=\"color: #ff0000\"><strong>ขอคอมเม้นด้วยนะครับ สักนิด</strong></span>\n</p>\n', created = 1719633457, expire = 1719719857, headers = '', serialized = 0 WHERE cid = '3:b28684c5d5226df152798df2255bf7f0' in /home/tgv/htdocs/includes/cache.inc on line 112.
  • user warning: Table 'cache_filter' is marked as crashed and should be repaired query: SELECT data, created, headers, expire, serialized FROM cache_filter WHERE cid = '3:287d234dd1ae31520bc027cc011852db' in /home/tgv/htdocs/includes/cache.inc on line 27.
  • user warning: Table 'cache_filter' is marked as crashed and should be repaired query: UPDATE cache_filter SET data = '<!--paging_filter--><p>\n<sup>ตัวหนังสือเล็กจัง</sup>\n</p>\n<p>\n<sup></sup>\n</p>\n<p>\n<sup>มองไม่เห็น -*-</sup>\n</p>\n', created = 1719633457, expire = 1719719857, headers = '', serialized = 0 WHERE cid = '3:287d234dd1ae31520bc027cc011852db' in /home/tgv/htdocs/includes/cache.inc on line 112.
  • user warning: Table 'cache_filter' is marked as crashed and should be repaired query: SELECT data, created, headers, expire, serialized FROM cache_filter WHERE cid = '3:e7090c333d6720198e5e0480ec45c311' in /home/tgv/htdocs/includes/cache.inc on line 27.
  • user warning: Table 'cache_filter' is marked as crashed and should be repaired query: UPDATE cache_filter SET data = '<!--paging_filter--><p>\nก้อดีค่ะ\n</p>\n<p>\n&nbsp;\n</p>\n<p>\n&nbsp;\n</p>\n<p>\n^^\n</p>\n', created = 1719633457, expire = 1719719857, headers = '', serialized = 0 WHERE cid = '3:e7090c333d6720198e5e0480ec45c311' in /home/tgv/htdocs/includes/cache.inc on line 112.
  • user warning: Table 'cache_filter' is marked as crashed and should be repaired query: SELECT data, created, headers, expire, serialized FROM cache_filter WHERE cid = '3:b648daaabbbb82ff57385accf06ea3d9' in /home/tgv/htdocs/includes/cache.inc on line 27.
  • user warning: Table 'cache_filter' is marked as crashed and should be repaired query: UPDATE cache_filter SET data = '<!--paging_filter--><p align=\"center\">\n<span style=\"color: #ff00ff\"><strong>แวะมาหาความรู้</strong></span>\n</p>\n<p align=\"center\">\n<span style=\"color: #ff00ff\"><strong>______________________________________________________________________ I\'m Angle I Love ♥Super Junior Shinee Wonder Girls</strong></span>\n</p>\n', created = 1719633457, expire = 1719719857, headers = '', serialized = 0 WHERE cid = '3:b648daaabbbb82ff57385accf06ea3d9' in /home/tgv/htdocs/includes/cache.inc on line 112.

GMO และ GMO ในสัตว์

GMO

GMO เป็นตัวย่อของชื่อเต็มที่เรียกว่า Genetically Modified Organism ซึ่งแปลเป็นไทยได้ว่า .สิ่งมีชีวิต ที่ได้จากการเปลี่ยนถ่ายหน่วยพันธุกรรม (gene) . สิ่งมีชีวิตที่ว่านี้ อาจจะเป็นพืชหรือสัตว์ก็ได้ แต่ขณะนี้ นิยมการเปลี่ยนถ่ายหน่วยพันธุกรรมของพืช เพราะได้ประโยชน์ในทางเศรษฐกิจ นอกจากนี้ ยังทำได้ง่ายกว่า และสามารถศึกษาผลกระทบที่ได้จากหลายชั่วอายุของพืช โดยใช้เวลาน้อยกว่าการศึกษาในสัตว์ซึ่งแต่ละชั่วอายุสัตว(generation) จะต้องใช้เวลานาน

อาหารที่ได้จาก GMO นั้น เรียกว่า GM Foods หรือ GE Foods(Genetic Engineering Foods)

วิธีการเปลี่ยนถ่ายหน่วยพันธุกรรมนั้น ทำอย่างไร ?

     วิธีการเปลี่ยนถ่ายหน่วยพันธุกรรม หรือที่เรียกกันว่า การตัดต่อยีนนั้น สามารถทำได้โดยใช้เทคโนโลยีที่เรียกว่า พันธุวิศวกรรม (Genetic Engineering) ซึ่งเป็นส่วนหนึ่งของวิชาเทคโนโลยีชีวภาพ (Biotechnology) ซึ่งเป็นวิธีการคัดเลือกสายพันธ์โดยตรง แทนที่วิธีการตามธรรมชาติซึ่งใช้เวลานาน โดยการค้นหา gene ตัวใหม่ ที่กำหนดลักษณะเฉพาะ(Traits)ตามที่เราต้องการ ซึ่งอาจเป็น gene จากพืช สัตว์ หรือ bacteria ก็ได้ ซึ่งวิธีค้นหานั้นมีรายละเอียดอีกมาก จากนั้นทำการถ่ายแบบ (copy) ยีนดังกล่าว ลงไปใน chromozome ซึ่งมีจำนวน 2 n และอยู่ในรูป double herix ของ cell พืชเพียง cell เดียว

      การถ่ายทอด gene ที่ถูกถ่ายแบบมาลงไปใน DNA ซึ่งอยู่ใน chromozome ของ cell ใหม่นั้น ต้องอาศัยตัวช่วย 2 ตัว คือ 35S - promotor และ NOS . terminator ซึ่งทำหน้าที่เป็นตัวกำหนดให้เริ่มต้น และยุติการถ่ายแบบ ซึ่งทั้ง 35S-promotor และ NOS . terminator นั้น เป็นสารพันธุกรรมอย่างหนี่ง (genetic elements) ที่จะคงอยู่ใน cell ใหม่ และเพิ่มจำนวนตามจำนวน cell ใหม่ที่เพิ่มขึ้น นอกจากสารพันธุกรรม ทั้ง 2 ตัวดังกล่าวแล้ว ยังมี gene หรือหน่วยพันธุกรรมอีกตัวหนึ่ง ที่จำเป็นจะต้องใส่เข้าไปด้วยทุกครั้งที่มีการเปลี่ยนถ่ายหน่วยพันธุกรรม (genetical modification) เรียกว่า .marker gene .

     Marker Gene เป็น gene ที่ทำให้สิ่งมีชีวิตใหม่นั้น มีความต้านทานต่อ herbicide insect และ antibiotic ได้ เพราะ cell ใหม่เพียง cell เดียว ที่ได้นั้น จะไม่สามารถเจริญเติบโตต่อไปในอาหารที่มีสาร antibiotic เพื่อฆ่าเชื้อ bacteria และสาร herbicide ที่ติดมากับอาหารได้ อีกทั้งต้องการ ให้มีความต้านทานต่อแมลง และยาฆ่าวัชพืช (marker gene แบ่งออกได้เป็นหลายชนิด) ทั้ง 3 ตัวนี้ จึงมีบทบาทที่สำคัญ และจะได้กล่าวถึง รายละเอียดในส่วนที่เกี่ยวข้อง ต่อไป

  •       ความหวั่นวิตกเกี่ยวกับเรื่องของหน่วยพันธุกรรม

          พันธุวิศวกรรม เป็นวิทยาการใหม่ที่มนุษย์เพิ่งจะเริ่มต้นศึกษา การวิจัย ยังอยู่ในขั้นพื้นฐาน ยังไม่เป็นที่ยอมรับหรือปฏิเสธ และเป็นวิทยาการที่มีอันตรายแฝงอยู่ในตัว ซึ่งถูกผลักดันเข้าสู่สังคมของโลก ในรูปการค้าโดยไม่มีหลักฐานอ้างอิงที่เพียงพอ ถึงความจำเป็น

อันตรายของอาหารเปลี่ยนถ่ายหน่วยพันธุกรรม (GM Foods)ประกอบด้วย

1. เกิดธัญพืช และวัชพืชพันธ์ใหม่ที่มีความต้านทานต่อแมลง
2. ทำให้ความหลากหลายของหน่วยพันธุกรรมลดลง
3. เกิดการผสมข้ามเผ่าพันธ์ของเชื้อ virus และ bacteria โดยไม่ทราบผลกระทบที่จะตามมา
4. ถ้ามีการ Integrate ของ gene จาก GMO เข้าไปใน cells ของมนุษย์ จะทำให้มนุษย์ และสัตว์ให้มีความต้านทานต่อสาร antibiotic
5. เกิดอันตรายอย่างร้ายแรงต่อเผ่าพันธ์แมลงต่างๆ เช่น แมลงเต่าทอง และแมลงในตระกูล Chrysopidae ซึ่งมีปีกเป็นลายตาข่าย
6. ถ้าเกิดความผิดพลาดในการเปลี่ยนถ่ายหน่วยพันธุกรรมแล้ว จะไม่สามารถถ่ายหรือล้างกลับได้ และจะคงอยู่กับสิ่งมีชีวิตใหม่และแพร่พันธ์ต่อไปตลอดทุกชั่วอายุ
7.เกิดการถ่ายทอดสารพันธุกรรมแปลกปลอมไปสู่ธัญพืชอื่นๆได้
8. ทำให้การกสิกรรมต้องพึ่งพาทางเคมีมากเกินไป
9.เกิดความล้มเหลวในการควบคุมแปลงทดลองปลูกพืช GMO เช่น กรณี bollguard cotton ใน USA ประเทศที่เป็นผู้ส่งออก GMO รายใหญ่
10. ทำให้เกิดสารเคมีตกค้างในพืชมากเกินไป
11. เกิดการชี้นำกสิกรรมของโลกโดยบริษัทฯผู้ผลิตเมล็ดพันธ์ที่ได้จากการเปลี่ยนถ่ายหน่วยพันธุกรรม และบริษัทฯผู้ขายเคมีที่ใช้ในการเปลี่ยนถ่ายหน่วยพันธุกรรม
12. เกิดการฆ่าทำลายแมลง นก สัตว์ป่า ฯลฯ โดยธัญพืชพันธ์ใหม่ที่จะขยายและกระจายไปทั่วโลกโดยไม่สามารถควบคุมได้ มีตัวอย่างให้เห็นในแปลงทดลองปลูกพืชตัวอย่างที่ได้จากการเปลี่ยนถ่ายหน่วนพันธุกรรม

กลุ่มที่คัดค้าน

The Soil Association are campaigning for a ban.

Greenpeace – ban.

Friends of the Earth

– 5 year moratorium.

อ้างอิง ประธาน ประเสริฐวิทยาการ (คบ.เขต 12)

http://www.fda.moph.go.th/fda-net/html/product/food/food_web/gmomain_files/gmo1.htm

 

 GMO ในสัตว์

 

1. GMO เพื่อเพิ่มผลผลิตปศุสัตว์ เพิ่มคุณภาพผลิตภัณฑ์จากสัตว์ และทำให้ปศุสัตว์มีความทนทานต่อโรคเพิ่มขึ้น

1.1 การเพิ่มผลผลิตปศุสัตว์
1) สุกร มีการฉีดยีนของฮอร์โมนเร่งการเจริญเติบโต (growth hormone)
     ข้อดี : สุกรโตเร็วขึ้น และมีขนาดใหญ่กว่าปกติ 2-3 เท่าตัว
     ข้อเสีย : สุกรมีปัญหาเรื่องขาและข้อ ทำให้สุกรเดินกระเผลก หรือเดินไม่ได้

2) โคนม มีการใช้ฮอร์โมนเร่งการเจริญเติบโต (bovine somatotropin, bST)
     ซึ่งได้จากการตัดต่อยีนแล้วใส่เข้าไปในแบคทีเรียเพื่อแบคทีเรียผลิต และทำการสกัดเพื่อนำไปฉีดในโค
     ข้อดี : ทำให้โคนมผลิตน้ำนมได้มากกว่าปกติประมาณ 10-30%
     ข้อถกเถียง : ยังไม่มีการศึกษาถึงผลกระทบ แต่ปกติแล้วโคนมจะมีการหลั่งฮอร์โมนตัวนี้อยู่แล้ว
     ถ้ามีการฉีดฮอร์โมนตัวนี้อาจทำให้มีการหลั่งฮอร์โมนตัวนี้เพิ่มขึ้น ซึ่งอาจจะมีผลกระทบต่อผู้บริโภค

3) สุกร เร่งการเจริญเติบโต และเพิ่มปริมาณเนื้อแดง โดยการใช้ฮอร์โมน parcine somatotropin (pST)
4) แกะ เพื่อคุณภาพ ความแข็งแรง และทนทานของขนแกะประเทศออสเตรเลียได้ทำการฉีดยีนของเคอร์ราติน (keratin) เพื่อสร้าง
     transgenic sheep

1.2 การผลิตสัตว์ให้มีความทนทานต่อโรคเพิ่มขึ้น
1) มีการตัดต่อยีนที่ทำให้สัตว์สร้างภูมิคุ้มกันได้ดีขึ้น
2) มีการตัดต่อยีนที่ทำให้ดื้อต่อเชื้อโรคนั้น ๆ ในสัตว์นั้น ๆ โดยยีนเฉพาะ และยีนที่มีขั้วตรงข้ามกับเชื้อที่จำเพาะ (hammer head
    ribozyme) เพื่อทำลายเชื้อไวรัสที่เข้ามาในเซลล์ ตัวอย่างของโรคคือ โรคมะเร็งเม็ดเลือดขาวในโคและโรคปากและเท้าเปื่อย

2. GMO เพื่อผลิตยารักษาโรค ชีวภัณฑ์ และอวัยวะสำหรับมนุษย์

2.1 การผลิตยารักษาโรคที่ใช้ในมนุษย์ ปกติจะใช้แบคทีเรีย ยีสต์ หรือ cell culture เพื่อการผลิตโดยการฉีดยีนที่ตัดต่อ แล้วให้แบคทีเรีย ยีสต์หรือ
      cell culture เป็นตัวสร้าง แต่เนื่องจากยารักษาโรคบางอย่างสิ่งมีชีวิตอื่น ๆ ไม่สามารถสร้างได้และต้นทุนผลิตสูงนอกจากนี้การทำการสกัดและ
      ทำให้บริสุทธิ์ยากและผลิตได้น้อย จึงได้มีความคิดที่จะใช้สัตว์ในการผลิตยารักษาโรคต่าง ๆ
      ข้อดี : สามารถผลิตยารักษาโรคต่าง ๆ ได้อย่างมีประสิทธิภาพ ต้นทุนต่ำ ทำให้บริสุทธิ์ง่าย
      ข้อถกเถียง : ยังไม่มีการศึกษาถึงผลข้างเคียง

2.2 การผลิตเนื้อเยื่อ และอวัยวะที่ใช้ในมนุษย์

1) สุกรเป็นสัตว์อุดมคติที่จะเป็นตัวให้อวัยวะ เนื้อเยื่อและเซลล์ได้มีการฉีดยีนฮีโมโกลบินของคนในสุกรทำให้สามารถใช้เลือดสุกร
    ทดแทนเลือดคน
    ข้อดี : ลดการขาดแคลนเลือด ลดการติดต่อโรคระหว่างมนุษย์ทางโรค
    ข้อถกเถียง : ยังไม่มีการศึกษา เนื่องจากยังไม่มีการใช้ทางการค้า (commercially use)

2) มีการใช้เซลล์สมองสุกร เซลล์ตับ และผิวหนัง เพื่อรักษาคน

3. GMO เพื่อผลิตวัคซีนเพื่อป้องกัน และรักษาโรค

3.1 DNA vaccine คือ วัคซีนที่เกิดการตัดต่อยีนของไวรัสหรือแบคทีเรียที่จะประสงค์เข้าไปเชื่อมต่อยีนของไวรัสที่เป็นพาหะ (vector)
        ได้มีการผลิตและศึกษา DNA vaccine ต่าง ๆ หลายชนิด ซึ่งบางชนิดก็เริ่มมีการใช้ในมนุษย์
        ข้อดี : สามารถกระตุ้นให้ร่างกายสร้างภูมิคุ้มกันได้เหมือนวัคซีนธรรมดา
        ข้อถกเถียง : ยังไม่มีการศึกษาถึงผลที่แน่นอน

3.2 DNA vaccine ในสัตว์ มีมากมายหลายชนิดเช่นเดียวกับคน ทั้งข้อดีและข้อถกเถียงเหมือน DNA vaccine ในมนุษย์

3.3 Edible vaccine เป็นการผลิตวัคซีนโดยใช้พืช การทำเหมือน GMO ในพืช เพียงแต่ยีนที่ตัดต่อและใส่เข้าไปในพืชเป็นยีนของแบคทีเรีย
        หรือไวรัส แทนยีนที่เพิ่มผลผลิตมี Edible vaccine หลายชนิด ซึ่งบางชนิดได้เริ่มมีการใช้ในมนุษย์และ
สัตว์

 

 

อ้างอิง http://www.rdi.ku.ac.th/GMOs/GMOs1/index2/index1_3.htm

 

  ขอคอมเม้นด้วยนะครับ สักนิด

รูปภาพของ knw32296

ตัวหนังสือเล็กจัง

มองไม่เห็น -*-

รูปภาพของ knw32294

ก้อดีค่ะ

 

 

^^

แวะมาหาความรู้

______________________________________________________________________ I'm Angle I Love ♥Super Junior Shinee Wonder Girls

มหาวิทยาลัยศรีปทุม ผู้ใหญ่ใจดี
 

 ช่วยด้วยครับ
นักเรียนที่สร้างบล็อก กรุณาอย่า
คัดลอกข้อมูลจากเว็บอื่นทั้งหมด
ควรนำมาจากหลายๆ เว็บ แล้ววิเคราะห์ สังเคราะห์ และเขียนขึ้นใหม่
หากคัดลอกทั้งหมด จะถูกดำเนินคดี
ตามกฎหมายจากเจ้าของลิขสิทธิ์
มีโทษทั้งจำคุกและปรับในอัตราสูง

ช่วยกันนะครับ 
ไทยกู๊ดวิวจะได้อยู่นานๆ 
ไม่ถูกปิดเสียก่อน

ขอขอบคุณในความร่วมมือครับ

อ่านรายละเอียด

ด่วน...... ขณะนี้
พระราชบัญญัติลิขสิทธิ์ (ฉบับที่ 2) พ.ศ. 2558 
มีผลบังคับใช้แล้ว 
ขอให้นักเรียนและคุณครูที่ใช้งาน
เว็บ thaigoodview ในการส่งการบ้าน
ระมัดระวังการละเมิดลิขสิทธิ์ด้วย
อ่านรายละเอียดที่นี่ครับ

 

สมาชิกที่ออนไลน์

ขณะนี้มี สมาชิก 0 คน และ ผู้เยี่ยมชม 263 คน กำลังออนไลน์