• user warning: Table 'cache_filter' is marked as crashed and should be repaired query: SELECT data, created, headers, expire, serialized FROM cache_filter WHERE cid = '3:7db01a3bb0a0b409e9f9eb8ec5c31c87' in /home/tgv/htdocs/includes/cache.inc on line 27.
  • user warning: Table 'cache_filter' is marked as crashed and should be repaired query: UPDATE cache_filter SET data = '<!--paging_filter--><p>\n    เริ่มที่ยุคแรก สัญญาณภาพขาว-ดำ และเสียง (Black-White Vidio,Audio) จะผสม (mixing)เข้ากับความถี่วิทยุ (Radio Frequency) ในแถบความถี่ (Band) VHF หรือ UHF แล้วส่งเข้าเครื่อง รับโทรทัศน์ของผู้ชมทางบ้าน ซึ่งคุณภาพของภาพค่อนข้างหยาบ  ไม่มีสี ไม่มีเสียง การเคลื่อนไหวเร็วกว่าภาพปกติจริง เนื่องจากจำนวนภาพ (Frame) ต่อเวลาน้อย สาเหตุเกิดจากข้อจำกัดทางเทคโนโลยีของอิเล็กทรอนิกส์ในสมัยนั้น <br />\n    ต่อมาเข้าสู่ยุคของโทรทัศน์สีในปัจจุบัน ซึ่งเป็นความต่อเนื่องของวิวัฒนาการการทำให้สถานีโทรทัศน์ขาว-ดำ เดิมส่งสัญญาณโทรทัศน์สี ไปยังเครื่องรับโทรทัศน์สี ของผู้ชมทางบ้าน โดยมีข้อแม้ทางเทคนิคว่าเครื่องรับโทรทัศน์ที่เป็นขาว-ดำเดิม ต้องรับภาพสัญญาณขาว-ดำ จากเครื่องส่งสัญญาณโทรทัศน์สีได้ โดยไม่ต้องดัดแปลงแก้ไข เครื่องรับขาวดำเดิมใดๆทั้งสิ้น  ยุคนี้ระบบโทรทัศน์ ได้รับการพัฒนาอย่างรวดเร็วมาก ทั้งด้านความคมชัด ความถูกต้องของสี เสียง โดยสามารถรับชมระบบมาตรฐานต่างๆ ได้ทั่วโลก ที่เรียกว่า Multi System ซึ่งทุกระบบนี้เป็นระบบ Analog ซึ่งมีข้อจำกัดทางเทคนิคที่ทำให้ไม่สามารถพัฒนาคุณภาพให้สูงขึ้นได้ จึงมีการพัฒนาระบบ Digital ขึ้นมา เป้นผลให้คุณภาพของสัญญาณภาพ เสียง มุมมอง สูงขึ้นมาก โดยเฉพาะอย่างยิ่งเทคนิคในการผลิตสัญญาณภาพ ที่เรียกว่า animation graphic picture สามารถสร้างภาพเคลื่อนไหวที่คล้ายกับธรรมชาติได้เหมือนจริง<br />\nโทรทัศน์ เป็นระบบโทรคมนาคมสำหรับการกระจายและรับภาพเคลื่อนไหวและเสียงระยะไกล คำนี้ยังหมายถึงรายการโทรทัศน์และการแพร่ภาพอีกด้วย คำว่าโทรทัศน์ในภาษาไทย มีที่มาจากคำในภาษาอังกฤษ คือ television ซึ่งเป็นคำผสมจากคำกรีก tele- (&quot;ระยะไกล&quot; — โทร-) และ -vision ที่มาจากภาษาละติน visio (&quot;การมองเห็น&quot; — ทัศน์) มักเรียกย่อเป็น TV (ทีวี) โทรทัศนขาว-ดำเครื่องแรกของโลก ที่ถูกสร้างขึ้นในปีพ.ศ. 2468 เป็นผลงานการประดิษฐ์ของจอห์น ลอกกี้ เบรียด ชาวสกอตแลนด์ <br />\nในประเทศไทย<br />\n     ประเทศไทยเริ่มมีการแพร่ภาพโทรทัศน์เมื่อ 24 มิถุนายน พ.ศ. 2498 โดย บริษัท ไทยโทรทัศน์ จำกัด แพร่ภาพทาง สถานีโทรทัศน์ไทยทีวี ช่อง 4 ผ่านระบบโทรทัศน์ขาวดำ จาก วังบางขุนพรหม (ปัจจุบันเป็นโมเดิร์นไนน์ ทีวี) ต่อมามีการพัฒนาเป็นระบบโทรทัศน์สี ซึ่งสถานีโทรทัศน์สีแห่งแรกของไทย คือ สถานีโทรทัศน์สีกองทัพบกช่อง 7 หรือช่อง 7 สี เริ่มแพร่ภาพครั้งแรก เมื่อวันที่ 27 พฤศจิกายน พ.ศ. 2510 สำหรับสถานีโทรทัศน์แห่งชาติของไทยนั้น ก็คือ สถานีวิทยุโทรทัศน์แห่งประเทศไทย ทั้งชื่อ ช่อง 11 กรมประชาสัมพันธ์ และ เอ็นบีที เริ่มแพร่ภาพครั้งแรก เมื่อวันที่ 11 กรกฎาคม พ.ศ. 2531 สำหรับสถานีโทรทัศน์สาธารณะของไทยนั้น ก็คือ สถานีโทรทัศน์ทีวีไทย เริ่มแพร่ภาพครั้งแรก เมื่อวันที่ 15 มกราคม พ.ศ. 2551<br />\nหน้าที่ของระบบโทรคมนาคม <br />\n        ทำหน้าที่ในการส่งและรับข้อมูลระหว่างจุดสองจุด  ได้แก่ ผู้ส่งข่าวสาร (Sender) และ ผู้รับข่าวสาร (Receiver) จะดำเนินการจัดการลำเลียงข้อมูลผ่านเส้นทางที่มีประสิทธิภาพที่สุด     จัดการตรวจสอบความถูกต้องของข้อมูลที่จะส่งและรับเข้ามา สามารถปรับเปลี่ยนรูปแบบข้อมูลให้ทั้งสองฝ่ายสามารถเข้าใจได้ตรงกัน  ซึ่งที่กล่าวมานี้ส่วนใหญ่ใช้คอมพิวเตอร์เป็นตัวจัดการ ในระบบโทรคมนาคมส่วนใหญ่ใช้อุปกรณ์ในการรับส่งข้อมูลข่าวสารต่างชนิด ต่างยี่ห้อกัน  แต่สามารถแลกเปลี่ยนข้อมูลระหว่างกันได้เพราะใช้ชุดคำสั่งมาตรฐานชุดเดียวกัน กฎเกณฑ์มาตรฐานในการสื่อสารนี้เราเรียกว่า  “โปรโตคอล (Protocol)”  อุปกรณ์แต่ละชนิดในเครือข่ายเดียวกันต้องใช้โปรโตคอลอย่างเดียวกัน จึงจะสามารถสื่อสารถึงกันและกันได้  หน้าที่พื้นฐานของโปรโตคอล คือ   การทำความรู้จักกับอุปกรณ์ตัวอื่นที่อยู่ในเส้นทางการถ่ายทอดข้อมูล  การตกลงเงื่อนไขในการรับส่งข้อมูล  การตรวจสอบความถูกต้องของข้อมูล การแก้ไขปัญหาข้อมูลที่เกิดการผิดพลาดในขณะที่ส่งออกไปและการแก้ปัญหาการสื่อสารขัดข้องที่อาจเกิดขึ้นโปรโตคอลที่รู้จักกันมาก ได้แก่ โปรโตคอลในระบบเครือข่ายอินเตอร์เนต เช่น  Internet Protocal ; TCP/IP , IP  Address ที่เราใช้กันอยู่ทุกวันนี้<br />\n                   การศึกษาทางไกล การศึกษาทางไกล หมายถึง ระบบการศึกษาที่ผู้เรียนและผู้สอนอยู่ไกลกัน แต่สามารถทำให้เกิดการเรียนรู้ได้โดยอาศัยสื่อการสอนในลักษณะของสื่อประสม หลักการของการศึกษาทางไกล การศึกษาทางไกลเป็นระบบการศึกษาที่ยึดหลักการในเรื่องต่างๆดังนี้\n</p>\n<p>\n1. การศึกษาตลอดชีวิต\n</p>\n<p>\n2. การให้โอกาสเท่าเทียมกันในการศึกษา\n</p>\n<p>\n3. ส่งเสริมการศึกษามวลชน สื่อในการศึกษาทางไกล\n</p>\n<p>\n     สื่อที่ใช้ในการศึกษาทางไกลนี้แยกออกได้เป็น - สื่อหลัก คือ สื่อที่ผู้เรียนสามารถใช้ศึกษาได้ด้วยตนเองตลอดเวลาและทุกสถานที่ - สื่อเสริม คือ สื่อที่จะช่วยเก็บตกต่อเติมความรู้ให้แก่ผู้เรียนให้มีความรู้กระจ่างสมบูรณ์ขึ้น การจัดการศึกษาทางไกล การจัดการศึกษาทางไกลสามารถจัดได้ในรูปแบบและวิธีการต่างๆดังนี้ - อักโพ (Accion Cultural Popular: ACPO) เป็นการจัดการศึกษาทางไกลในประเทศโคลอมเบีย ในรูปแบบของการศึกษานอกระบบ หน้าที่ของอักโพ คือ การเติมช่องว่างในระบบการศึกษาให้แก่ชาวชนบทมีความเชื่อมั่นในตนเอง มีการแบ่งเนื้อหาออกเป็น 5 ประเภท ได้แก่\n</p>\n<p>\nการอ่านออกเขียนได้\n</p>\n<p>\nเศรษฐกิจอาชีพ\n</p>\n<p>\nเลขคณิต สุ\n</p>\n<p>\nขภาพอนามัย\n</p>\n<p>\n และศาสนา\n</p>\n<p>\n    - มหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราช (มสธ.) การจัดหลักสูตรของมสธ. ใช้หลักสูตรบูรณาการเนื้อหาวิชาเข้าด้วยกันในรูปของชุดการสอนเรียกว่า “ชุดวิชา” นอกจากนี้ มสธ. ยังได้พัฒนาคุณภาพด้วยเทคโนโลยีสมัยใหม่เพื่อให้สอดคล้องกับการสอนทางไกลในยุคเทคโนโลยีสารสนเทศ ดังนี้ - การประชุมทางไกลระหว่างประเทศด้วยเสียงพูดผ่านข่ายงานคอมพิวเตอร์ความเร็วสูง - การเผยแพร่สารสนเทศของมหาวิทยาลัยบนข่ายงานอินเทอร์เน็ตผ่านระบบเวิล์ดไวด์เว็บ - การใช้ดาวเทียมในระบบการศึกษาทางไกล - บริการห้องสมุดอัตโนมัติ - การลงทะเบียนเรียนทางโทรศัพท์ผ่านระบบคอมพิวเตอร์สำหรับนักศึกษาทั่วประเทศ - การศึกษาภาคขยายของมหาวิทยาลัยวิสคอนซิน การสอนแบ่งเป็นสองประเภท คือ การสอนที่ส่งเฉพาะเสียงใช้ชื่อว่า Educational Teleconference Network: ETN และการสอนโดยการส่งทั้งภาพและเสียงพร้อมกัน เรียกว่า The Statewide Extension Education Network: SEEN ETN ระบบโทรคมนาคมในการศึกษาทางไกล ระบบโทรคมนาคมที่นิยมใช้กันอย่างแพร่หลายมานานแล้ในการสอนทางไกลแบ่งได้ 2 ระบบ ได้แก่\n</p>\n<p>\n1. ระบบโทรคมนาคมเพื่อการสื่อสารทางเดียว เป็นการใช้วิทยุและโทรทัศน์\n</p>\n<p>\n2. ระบบโทรคมนาคมเพื่อการสื่อสารสองทาง เป็นการใช้โทรศัพท์เพื่อการศึกษาการประชุมทางไกลเพื่อการศึกษา และดาวเทียมเพื่อการศึกษา โทรศัพท์เพื่อการศึกษา\n</p>\n<p>\nการใช้โทรศัพท์เพื่อการศึกษาสามารถแยกตามประเภทของการใช้ได้เป็น 6 ประเภท คือ\n</p>\n<p>\n1. การใช้โทรศัพท์เพื่อการสอนแบบบรรยายทางไกล (Telelecture)\n</p>\n<p>\n2. การใช้โทรศัพท์การศึกษาโดยฝากสัญญาณไปกับคลื่นวิทยุ\n</p>\n<p>\n3. การใช้โทรศัพท์เพื่อเสนอการสอนหรือบทเรียนที่บันทึกเสียงไว้ล่วงหน้า\n</p>\n<p>\n4. การใช้โทรศัพท์เพื่อการสอนเสริม\n</p>\n<p>\n5. การใช้โทรศัพท์ในบทเรียนการสอนใช้คอมพิวเตอร์ช่วย\n</p>\n<p>\n6. การใช้โทรศัพท์ในงานบรรณสารสนเทศ การประชุมทางไกลเพื่อการศึกษา ในกรณีที่ผู้เรียนและผู้สอนไม่สามารถเข้าร่วมอยู่ที่เดียวกันซึ่งอาจอยู่คนละเมืองหรือคนละประเทศก็สามารถเชื่อมโยงบุคคลเหล่านี้ให้เรียนร่วมกันได้ โดยอาศัยอุปกรณ์โทรคมนาคมชนิดต่างๆ เพื่อช่วยให้ผู้ที่อยู่ในที่ต่างกันสามารถพูดและได้ยินเสียงพร้อมๆกันทุกแห่ง วิธีการนี้เรียกว่า “ระบบการประชุมทางไกล” - การประชุมทางไกล (Teleconference) เป็นวิธีการที่บุคคลตั้งแต่ 2 คนขึ้นไป หรือบุคคลเป็นกลุ่มซึ่งอยู่ในสถานที่ต่างๆกันสามารถติดต่อกันในการเรียน อภิปราย หรือการประชุมร่วมกันได้โดยอาศัยอุปกรณ์โทรคมนาคมที่ออกแบบมาเฉพาะเพื่อการประชุม -รูปแบบของการประชุมทางไกลเพื่อการศึกษาทางไกล สามารถใช้ได้ 3 รูปแบบ คือ\n</p>\n<p>\n1. การประชุมทางไกลโดยเสียง (Audio Teleconference) เป็นการประชุมหรือการเรียนการสอนที่พูดคุยติดต่อกันได้ด้วยเสียงแต่ไม่เห็นหน้ากัน\n</p>\n<p>\n 2. การประชุมทางไกลโดยคอมพิวเตอร์ (Computer-Based Teleconference) เป็นการนำคอมพิวเตอร์มาใช้แทนโทรศัพท์ขยายเสียงในสถานที่รับฟัง โดยการใช้เครื่องไมโครคอมพิวเตอร์มาใช้แทนโทรศัพท์แบบกดปุ่มในการติดต่อเป็นการผสมผสานกันในระบบเสียงออดิโอกราฟิก (Audiographics)\n</p>\n<p>\n3. การประชุมทางไกลโดยวีดิทัศน์ (Video Teleconference) เป็นระบบการประชุมหรือการเรียนการสอนที่ต้องอาศัยกล้องวีดิทัศน์ จอโทรทัศน์ และสายโทรศัพท์ในการรับส่งภาพและเสียง การใช้อุปกรณ์วีดิทัศน์ทำให้ระบบมีค่าใช้จ่ายมากกว่าระบบการประชุม 2 รูปแบบที่กล่าวมาแล้ว แต่ก็มีประโยชน์ในการประชุมหรือการเรียนการสอนในลักษณะที่ยุ่งยากซับซ้อน เหมาะแก่การสาธิตหรือแสดงเทคนิคใหม่ๆ ให้ชมเพราะสามารถเห็นภาพได้ด้วย โดยอาจเสนอสิ่งที่บันทึกไว้แล้หรือแสดงในขณะนั้นก็ได้ โทรทัศน์การศึกษา คำว่า “โทรทัศน์” (Television) แปลความหมายได้ว่า “การเห็นในระยะไกล” หมายถึง การส่งภาพและเสียงจากสถานีส่งไปยังผู้รับซึ่งเป็นมวลชนในที่ต่างๆ ที่สามารถรับสัญญาณโทรทัศน์ได้ให้ชมได้พร้อมๆกัน สำหรับคำว่า “โทรทัศน์การสอน” (Instructional Television) หมายถึง การใช้โทรทัศน์เป็นสื่อการเรียนการสอนโดยเฉพาะ โดยอาจจะเป็นการสอนตามหลักสูตรให้ผู้เรียนเรียนอยู่ในห้องเรียนหรืออยู่ที่บ้านก็ได้ ระบบการแพร่ภาพและเสียงของโทรทัศน์แบ่งได้เป็น 2 ระบบ คือ\n</p>\n<p>\n1. การแพร่ภาพและเสียงในระบบวงจรเปิด (Open-Circuit Television หรือ Broadcasting Television) ซึ่งแยกออกเป็น 2 ระบบย่อย คือ 1.1 ระบบ VHF (Very High Frequency) ส่งคลื่นออกอากาศทางสถานีโทรทัศน์ 12 ช่อง 1.2 ระบบ UHF (Ultra High Frequency) ส่งคลื่นออกอากาศทางสถานีโทรทัศน์ 70 ช่อง\n</p>\n<p>\n 2. การแพร่ภาพและเสียงในระบบวงจรปิด (Closed-Circuit Television: CCTV) เป็นการแพร่ภาพและเสียงในบริเวณจำกัดกว่าในระบบแรกเนื่องจากเป็นการแพร่ภาพไปตามสายแทนการออกอากาศ ประเภทของรายการโทรทัศน์ แบ่งออกได้เป็น 3 ประเภท คือ\n</p>\n<p>\n1. รายการโทรทัศน์เพื่อการค้า (Commercial Television: CTV)\n</p>\n<p>\n2. รายการโทรทัศน์การศึกษา (Educational Television: ETV) 3. รายการโทรทัศน์การสอน (Instructional Television: ITV) วัสดุบันทึกที่ใช้กับโทรทัศน์ - วีดิทัศน์ (Video) แบ่งเป็นวัสดุคือ แถบวีดิทัศน์ และอุปกรณ์เครื่องเล่นวีดิทัศน์ แถบวีดิทัศน์เป็นวัสดุที่สามารถใช้บันทึกภาพและเสียงไว้ได้พร้อมกันในแถบเทปในรูปของคลื่นแม่เหล็กไฟฟ้าและยังสามารถลบแล้วบันทึกลงใหม่ได้เช่นเดียวกันกับเทปบันทึกเสียง ข้อดีของการใช้วีดิทัศน์ในการเรียนการสอนคือ สามารถเลือกดูภาพตามที่ต้องการได้โดยการบังคับแถบเทปให้เลื่อนเดินหน้า ถอยหลัง ดูภาพช้าหรือหยุดดูเฉพาะภาพก็ได้ การบันทึกวีดิทัศน์เพื่อใช้เป็นบทเรียนนั้นสามารถทำได้ในห้องสตูดิโอหรือภายในห้องปฏิบัติการ - แผ่นวีดิทัศน์ (Videodisc) มีลักษณะเป็นแผ่บกลมแบนๆคล้ายแผนเสียง แผ่นทำด้วยพลาสติกเมื่อโดนแสงไฟจะแลดูเป็นสีรุ้งสวยงาม สามารถบันทึกภาพและเสียงจากฟิล์มภาพยนตร์ แผ่นวีดิทัศน์มีการส่งสัญญาณภาพและเสียงออกทางจอโทรทัศน์ คุณภาพของภาพคมชัดเจนและเสียงกว่าแถบวีดิทัศน์มาก ข้อดีและข้อจำกัดในการใช้โทรทัศน์การศึกษาและโทรทัศน์การสอน\n</p>\n<p>\n - ข้อดี\n</p>\n<p>\n1. สามารถใช้โทรทัศน์ได้ในสภาพการณ์ที่ผู้เรียนมีจำนวนมากและผู้สอนมีจำนวนจำกัด\n</p>\n<p>\n2. เป็นสื่อการสอนที่สามารถนำสื่อหลายอย่างมาใช้ร่วมกันได้โดยสะดวกในรูปแบบของสื่อประสม\n</p>\n<p>\n3. เป็นสื่อที่ช่วยเพิ่มประสิทธิภาพทางการเรียนการสอนได้โดยการเชิญผู้เชี่ยวชาญ\n</p>\n<p>\n4. สามารถสาธิตได้อย่างชัดเจน\n</p>\n<p>\n5. ช่วยปรับปรุงเทคนิคการสอนของครูประจำและครูฝึกสอน\n</p>\n<p>\n 6. เป็นสื่อที่สามารถนำรูปธรรมมาประกอบการสอนได้สะดวกรวดเร็ว\n</p>\n<p>\n- ข้อจำกัด\n</p>\n<p>\n1. การใช้โทรทัศน์เป็นสื่อทางเดียวผู้เรียนและผู้สอนไม่สามารถพูดจาโต้ตอบกันได้\n</p>\n<p>\n 2. โทรทัศน์มิใช่เป็นอุปกรณ์ที่ใช้แทนผู้สอนได้อย่างสิ้นเชิง\n</p>\n<p>\n3. อาจเกิดอุปสรรคในด้านการสื่อสาร\n</p>\n<p>\n4. การผลิตรายการอาจไม่ดีพอ\n</p>\n<p>\n5. มีค่าใช้จ่ายสูงในการจัดซื้ออุปกรณ์ที่สามารถถ่ายทำและใช้เทคนิควิธีการในการผลิตรายการที่มีคุณภาพ\n</p>\n<p>\n     ระบบการส่งโทรทัศน์การศึกษาและโทรทัศน์การสอน\n</p>\n<p>\n1. การส่งรายการทางสถานีโทรทัศน์เพื่อการค้า (Broadcasting by commercial Station)\n</p>\n<p>\n2. การส่งรายการทางสถานีโทรทัศน์ที่มิใช่เพื่อการค้า (Broadcasting by Non-Commercial Station)\n</p>\n<p>\n3. การส่งโทรทัศน์วงจรปิด (Closed Circuit Television)\n</p>\n<p>\n4. การส่งโทรทัศน์ทางสายเคเบิลหรือเคเบิลทีวี (Cable Television)\n</p>\n<p>\n5. การส่งโทรทัศน์ด้วยคลื่นไมโครเวฟ (Microwave Transmission)\n</p>\n<p>\n6. การส่งสัญญาณผ่านดาวเทียม (Satellite Transmission)\n</p>\n<p>\n7. การประชุมทางไกล (Teleconference)\n</p>\n<p>\n 8. วีดีสาร (Videotext)\n</p>\n<p>\n 9. โทรภาพสาร (Teletext) อ้างอิง กิดานันท์ มลิทอง.เทคโนโลยีการศึกษาและนวัตกรรม.กรุงเทพมหานคร: สำนักพิมพ์แห่งจุฬาลงกรณ์\n</p>\n<p>\n<img border=\"0\" width=\"440\" src=\"/files/u9013/3-31-08-w4000_lcd.jpg\" height=\"322\" />\n</p>\n<p>\n&nbsp;\n</p>\n', created = 1729453007, expire = 1729539407, headers = '', serialized = 0 WHERE cid = '3:7db01a3bb0a0b409e9f9eb8ec5c31c87' in /home/tgv/htdocs/includes/cache.inc on line 112.
  • user warning: Table 'cache_filter' is marked as crashed and should be repaired query: SELECT data, created, headers, expire, serialized FROM cache_filter WHERE cid = '3:d90426d43af72f55e70d904092364af1' in /home/tgv/htdocs/includes/cache.inc on line 27.
  • user warning: Table 'cache_filter' is marked as crashed and should be repaired query: UPDATE cache_filter SET data = '<!--paging_filter--><p>\nแก้ไขงานด้วยตุล\n</p>\n<p>\n-ไม่ยอมแบ่งหน้า\n</p>\n<p>\n-ภาพ..............\n</p>\n', created = 1729453007, expire = 1729539407, headers = '', serialized = 0 WHERE cid = '3:d90426d43af72f55e70d904092364af1' in /home/tgv/htdocs/includes/cache.inc on line 112.

โทรทัศน์

รูปภาพของ dsp7259

    เริ่มที่ยุคแรก สัญญาณภาพขาว-ดำ และเสียง (Black-White Vidio,Audio) จะผสม (mixing)เข้ากับความถี่วิทยุ (Radio Frequency) ในแถบความถี่ (Band) VHF หรือ UHF แล้วส่งเข้าเครื่อง รับโทรทัศน์ของผู้ชมทางบ้าน ซึ่งคุณภาพของภาพค่อนข้างหยาบ  ไม่มีสี ไม่มีเสียง การเคลื่อนไหวเร็วกว่าภาพปกติจริง เนื่องจากจำนวนภาพ (Frame) ต่อเวลาน้อย สาเหตุเกิดจากข้อจำกัดทางเทคโนโลยีของอิเล็กทรอนิกส์ในสมัยนั้น
    ต่อมาเข้าสู่ยุคของโทรทัศน์สีในปัจจุบัน ซึ่งเป็นความต่อเนื่องของวิวัฒนาการการทำให้สถานีโทรทัศน์ขาว-ดำ เดิมส่งสัญญาณโทรทัศน์สี ไปยังเครื่องรับโทรทัศน์สี ของผู้ชมทางบ้าน โดยมีข้อแม้ทางเทคนิคว่าเครื่องรับโทรทัศน์ที่เป็นขาว-ดำเดิม ต้องรับภาพสัญญาณขาว-ดำ จากเครื่องส่งสัญญาณโทรทัศน์สีได้ โดยไม่ต้องดัดแปลงแก้ไข เครื่องรับขาวดำเดิมใดๆทั้งสิ้น  ยุคนี้ระบบโทรทัศน์ ได้รับการพัฒนาอย่างรวดเร็วมาก ทั้งด้านความคมชัด ความถูกต้องของสี เสียง โดยสามารถรับชมระบบมาตรฐานต่างๆ ได้ทั่วโลก ที่เรียกว่า Multi System ซึ่งทุกระบบนี้เป็นระบบ Analog ซึ่งมีข้อจำกัดทางเทคนิคที่ทำให้ไม่สามารถพัฒนาคุณภาพให้สูงขึ้นได้ จึงมีการพัฒนาระบบ Digital ขึ้นมา เป้นผลให้คุณภาพของสัญญาณภาพ เสียง มุมมอง สูงขึ้นมาก โดยเฉพาะอย่างยิ่งเทคนิคในการผลิตสัญญาณภาพ ที่เรียกว่า animation graphic picture สามารถสร้างภาพเคลื่อนไหวที่คล้ายกับธรรมชาติได้เหมือนจริง
โทรทัศน์ เป็นระบบโทรคมนาคมสำหรับการกระจายและรับภาพเคลื่อนไหวและเสียงระยะไกล คำนี้ยังหมายถึงรายการโทรทัศน์และการแพร่ภาพอีกด้วย คำว่าโทรทัศน์ในภาษาไทย มีที่มาจากคำในภาษาอังกฤษ คือ television ซึ่งเป็นคำผสมจากคำกรีก tele- ("ระยะไกล" — โทร-) และ -vision ที่มาจากภาษาละติน visio ("การมองเห็น" — ทัศน์) มักเรียกย่อเป็น TV (ทีวี) โทรทัศนขาว-ดำเครื่องแรกของโลก ที่ถูกสร้างขึ้นในปีพ.ศ. 2468 เป็นผลงานการประดิษฐ์ของจอห์น ลอกกี้ เบรียด ชาวสกอตแลนด์
ในประเทศไทย
     ประเทศไทยเริ่มมีการแพร่ภาพโทรทัศน์เมื่อ 24 มิถุนายน พ.ศ. 2498 โดย บริษัท ไทยโทรทัศน์ จำกัด แพร่ภาพทาง สถานีโทรทัศน์ไทยทีวี ช่อง 4 ผ่านระบบโทรทัศน์ขาวดำ จาก วังบางขุนพรหม (ปัจจุบันเป็นโมเดิร์นไนน์ ทีวี) ต่อมามีการพัฒนาเป็นระบบโทรทัศน์สี ซึ่งสถานีโทรทัศน์สีแห่งแรกของไทย คือ สถานีโทรทัศน์สีกองทัพบกช่อง 7 หรือช่อง 7 สี เริ่มแพร่ภาพครั้งแรก เมื่อวันที่ 27 พฤศจิกายน พ.ศ. 2510 สำหรับสถานีโทรทัศน์แห่งชาติของไทยนั้น ก็คือ สถานีวิทยุโทรทัศน์แห่งประเทศไทย ทั้งชื่อ ช่อง 11 กรมประชาสัมพันธ์ และ เอ็นบีที เริ่มแพร่ภาพครั้งแรก เมื่อวันที่ 11 กรกฎาคม พ.ศ. 2531 สำหรับสถานีโทรทัศน์สาธารณะของไทยนั้น ก็คือ สถานีโทรทัศน์ทีวีไทย เริ่มแพร่ภาพครั้งแรก เมื่อวันที่ 15 มกราคม พ.ศ. 2551
หน้าที่ของระบบโทรคมนาคม
        ทำหน้าที่ในการส่งและรับข้อมูลระหว่างจุดสองจุด  ได้แก่ ผู้ส่งข่าวสาร (Sender) และ ผู้รับข่าวสาร (Receiver) จะดำเนินการจัดการลำเลียงข้อมูลผ่านเส้นทางที่มีประสิทธิภาพที่สุด     จัดการตรวจสอบความถูกต้องของข้อมูลที่จะส่งและรับเข้ามา สามารถปรับเปลี่ยนรูปแบบข้อมูลให้ทั้งสองฝ่ายสามารถเข้าใจได้ตรงกัน  ซึ่งที่กล่าวมานี้ส่วนใหญ่ใช้คอมพิวเตอร์เป็นตัวจัดการ ในระบบโทรคมนาคมส่วนใหญ่ใช้อุปกรณ์ในการรับส่งข้อมูลข่าวสารต่างชนิด ต่างยี่ห้อกัน  แต่สามารถแลกเปลี่ยนข้อมูลระหว่างกันได้เพราะใช้ชุดคำสั่งมาตรฐานชุดเดียวกัน กฎเกณฑ์มาตรฐานในการสื่อสารนี้เราเรียกว่า  “โปรโตคอล (Protocol)”  อุปกรณ์แต่ละชนิดในเครือข่ายเดียวกันต้องใช้โปรโตคอลอย่างเดียวกัน จึงจะสามารถสื่อสารถึงกันและกันได้  หน้าที่พื้นฐานของโปรโตคอล คือ   การทำความรู้จักกับอุปกรณ์ตัวอื่นที่อยู่ในเส้นทางการถ่ายทอดข้อมูล  การตกลงเงื่อนไขในการรับส่งข้อมูล  การตรวจสอบความถูกต้องของข้อมูล การแก้ไขปัญหาข้อมูลที่เกิดการผิดพลาดในขณะที่ส่งออกไปและการแก้ปัญหาการสื่อสารขัดข้องที่อาจเกิดขึ้นโปรโตคอลที่รู้จักกันมาก ได้แก่ โปรโตคอลในระบบเครือข่ายอินเตอร์เนต เช่น  Internet Protocal ; TCP/IP , IP  Address ที่เราใช้กันอยู่ทุกวันนี้
                   การศึกษาทางไกล การศึกษาทางไกล หมายถึง ระบบการศึกษาที่ผู้เรียนและผู้สอนอยู่ไกลกัน แต่สามารถทำให้เกิดการเรียนรู้ได้โดยอาศัยสื่อการสอนในลักษณะของสื่อประสม หลักการของการศึกษาทางไกล การศึกษาทางไกลเป็นระบบการศึกษาที่ยึดหลักการในเรื่องต่างๆดังนี้

1. การศึกษาตลอดชีวิต

2. การให้โอกาสเท่าเทียมกันในการศึกษา

3. ส่งเสริมการศึกษามวลชน สื่อในการศึกษาทางไกล

     สื่อที่ใช้ในการศึกษาทางไกลนี้แยกออกได้เป็น - สื่อหลัก คือ สื่อที่ผู้เรียนสามารถใช้ศึกษาได้ด้วยตนเองตลอดเวลาและทุกสถานที่ - สื่อเสริม คือ สื่อที่จะช่วยเก็บตกต่อเติมความรู้ให้แก่ผู้เรียนให้มีความรู้กระจ่างสมบูรณ์ขึ้น การจัดการศึกษาทางไกล การจัดการศึกษาทางไกลสามารถจัดได้ในรูปแบบและวิธีการต่างๆดังนี้ - อักโพ (Accion Cultural Popular: ACPO) เป็นการจัดการศึกษาทางไกลในประเทศโคลอมเบีย ในรูปแบบของการศึกษานอกระบบ หน้าที่ของอักโพ คือ การเติมช่องว่างในระบบการศึกษาให้แก่ชาวชนบทมีความเชื่อมั่นในตนเอง มีการแบ่งเนื้อหาออกเป็น 5 ประเภท ได้แก่

การอ่านออกเขียนได้

เศรษฐกิจอาชีพ

เลขคณิต สุ

ขภาพอนามัย

 และศาสนา

    - มหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราช (มสธ.) การจัดหลักสูตรของมสธ. ใช้หลักสูตรบูรณาการเนื้อหาวิชาเข้าด้วยกันในรูปของชุดการสอนเรียกว่า “ชุดวิชา” นอกจากนี้ มสธ. ยังได้พัฒนาคุณภาพด้วยเทคโนโลยีสมัยใหม่เพื่อให้สอดคล้องกับการสอนทางไกลในยุคเทคโนโลยีสารสนเทศ ดังนี้ - การประชุมทางไกลระหว่างประเทศด้วยเสียงพูดผ่านข่ายงานคอมพิวเตอร์ความเร็วสูง - การเผยแพร่สารสนเทศของมหาวิทยาลัยบนข่ายงานอินเทอร์เน็ตผ่านระบบเวิล์ดไวด์เว็บ - การใช้ดาวเทียมในระบบการศึกษาทางไกล - บริการห้องสมุดอัตโนมัติ - การลงทะเบียนเรียนทางโทรศัพท์ผ่านระบบคอมพิวเตอร์สำหรับนักศึกษาทั่วประเทศ - การศึกษาภาคขยายของมหาวิทยาลัยวิสคอนซิน การสอนแบ่งเป็นสองประเภท คือ การสอนที่ส่งเฉพาะเสียงใช้ชื่อว่า Educational Teleconference Network: ETN และการสอนโดยการส่งทั้งภาพและเสียงพร้อมกัน เรียกว่า The Statewide Extension Education Network: SEEN ETN ระบบโทรคมนาคมในการศึกษาทางไกล ระบบโทรคมนาคมที่นิยมใช้กันอย่างแพร่หลายมานานแล้ในการสอนทางไกลแบ่งได้ 2 ระบบ ได้แก่

1. ระบบโทรคมนาคมเพื่อการสื่อสารทางเดียว เป็นการใช้วิทยุและโทรทัศน์

2. ระบบโทรคมนาคมเพื่อการสื่อสารสองทาง เป็นการใช้โทรศัพท์เพื่อการศึกษาการประชุมทางไกลเพื่อการศึกษา และดาวเทียมเพื่อการศึกษา โทรศัพท์เพื่อการศึกษา

การใช้โทรศัพท์เพื่อการศึกษาสามารถแยกตามประเภทของการใช้ได้เป็น 6 ประเภท คือ

1. การใช้โทรศัพท์เพื่อการสอนแบบบรรยายทางไกล (Telelecture)

2. การใช้โทรศัพท์การศึกษาโดยฝากสัญญาณไปกับคลื่นวิทยุ

3. การใช้โทรศัพท์เพื่อเสนอการสอนหรือบทเรียนที่บันทึกเสียงไว้ล่วงหน้า

4. การใช้โทรศัพท์เพื่อการสอนเสริม

5. การใช้โทรศัพท์ในบทเรียนการสอนใช้คอมพิวเตอร์ช่วย

6. การใช้โทรศัพท์ในงานบรรณสารสนเทศ การประชุมทางไกลเพื่อการศึกษา ในกรณีที่ผู้เรียนและผู้สอนไม่สามารถเข้าร่วมอยู่ที่เดียวกันซึ่งอาจอยู่คนละเมืองหรือคนละประเทศก็สามารถเชื่อมโยงบุคคลเหล่านี้ให้เรียนร่วมกันได้ โดยอาศัยอุปกรณ์โทรคมนาคมชนิดต่างๆ เพื่อช่วยให้ผู้ที่อยู่ในที่ต่างกันสามารถพูดและได้ยินเสียงพร้อมๆกันทุกแห่ง วิธีการนี้เรียกว่า “ระบบการประชุมทางไกล” - การประชุมทางไกล (Teleconference) เป็นวิธีการที่บุคคลตั้งแต่ 2 คนขึ้นไป หรือบุคคลเป็นกลุ่มซึ่งอยู่ในสถานที่ต่างๆกันสามารถติดต่อกันในการเรียน อภิปราย หรือการประชุมร่วมกันได้โดยอาศัยอุปกรณ์โทรคมนาคมที่ออกแบบมาเฉพาะเพื่อการประชุม -รูปแบบของการประชุมทางไกลเพื่อการศึกษาทางไกล สามารถใช้ได้ 3 รูปแบบ คือ

1. การประชุมทางไกลโดยเสียง (Audio Teleconference) เป็นการประชุมหรือการเรียนการสอนที่พูดคุยติดต่อกันได้ด้วยเสียงแต่ไม่เห็นหน้ากัน

 2. การประชุมทางไกลโดยคอมพิวเตอร์ (Computer-Based Teleconference) เป็นการนำคอมพิวเตอร์มาใช้แทนโทรศัพท์ขยายเสียงในสถานที่รับฟัง โดยการใช้เครื่องไมโครคอมพิวเตอร์มาใช้แทนโทรศัพท์แบบกดปุ่มในการติดต่อเป็นการผสมผสานกันในระบบเสียงออดิโอกราฟิก (Audiographics)

3. การประชุมทางไกลโดยวีดิทัศน์ (Video Teleconference) เป็นระบบการประชุมหรือการเรียนการสอนที่ต้องอาศัยกล้องวีดิทัศน์ จอโทรทัศน์ และสายโทรศัพท์ในการรับส่งภาพและเสียง การใช้อุปกรณ์วีดิทัศน์ทำให้ระบบมีค่าใช้จ่ายมากกว่าระบบการประชุม 2 รูปแบบที่กล่าวมาแล้ว แต่ก็มีประโยชน์ในการประชุมหรือการเรียนการสอนในลักษณะที่ยุ่งยากซับซ้อน เหมาะแก่การสาธิตหรือแสดงเทคนิคใหม่ๆ ให้ชมเพราะสามารถเห็นภาพได้ด้วย โดยอาจเสนอสิ่งที่บันทึกไว้แล้หรือแสดงในขณะนั้นก็ได้ โทรทัศน์การศึกษา คำว่า “โทรทัศน์” (Television) แปลความหมายได้ว่า “การเห็นในระยะไกล” หมายถึง การส่งภาพและเสียงจากสถานีส่งไปยังผู้รับซึ่งเป็นมวลชนในที่ต่างๆ ที่สามารถรับสัญญาณโทรทัศน์ได้ให้ชมได้พร้อมๆกัน สำหรับคำว่า “โทรทัศน์การสอน” (Instructional Television) หมายถึง การใช้โทรทัศน์เป็นสื่อการเรียนการสอนโดยเฉพาะ โดยอาจจะเป็นการสอนตามหลักสูตรให้ผู้เรียนเรียนอยู่ในห้องเรียนหรืออยู่ที่บ้านก็ได้ ระบบการแพร่ภาพและเสียงของโทรทัศน์แบ่งได้เป็น 2 ระบบ คือ

1. การแพร่ภาพและเสียงในระบบวงจรเปิด (Open-Circuit Television หรือ Broadcasting Television) ซึ่งแยกออกเป็น 2 ระบบย่อย คือ 1.1 ระบบ VHF (Very High Frequency) ส่งคลื่นออกอากาศทางสถานีโทรทัศน์ 12 ช่อง 1.2 ระบบ UHF (Ultra High Frequency) ส่งคลื่นออกอากาศทางสถานีโทรทัศน์ 70 ช่อง

 2. การแพร่ภาพและเสียงในระบบวงจรปิด (Closed-Circuit Television: CCTV) เป็นการแพร่ภาพและเสียงในบริเวณจำกัดกว่าในระบบแรกเนื่องจากเป็นการแพร่ภาพไปตามสายแทนการออกอากาศ ประเภทของรายการโทรทัศน์ แบ่งออกได้เป็น 3 ประเภท คือ

1. รายการโทรทัศน์เพื่อการค้า (Commercial Television: CTV)

2. รายการโทรทัศน์การศึกษา (Educational Television: ETV) 3. รายการโทรทัศน์การสอน (Instructional Television: ITV) วัสดุบันทึกที่ใช้กับโทรทัศน์ - วีดิทัศน์ (Video) แบ่งเป็นวัสดุคือ แถบวีดิทัศน์ และอุปกรณ์เครื่องเล่นวีดิทัศน์ แถบวีดิทัศน์เป็นวัสดุที่สามารถใช้บันทึกภาพและเสียงไว้ได้พร้อมกันในแถบเทปในรูปของคลื่นแม่เหล็กไฟฟ้าและยังสามารถลบแล้วบันทึกลงใหม่ได้เช่นเดียวกันกับเทปบันทึกเสียง ข้อดีของการใช้วีดิทัศน์ในการเรียนการสอนคือ สามารถเลือกดูภาพตามที่ต้องการได้โดยการบังคับแถบเทปให้เลื่อนเดินหน้า ถอยหลัง ดูภาพช้าหรือหยุดดูเฉพาะภาพก็ได้ การบันทึกวีดิทัศน์เพื่อใช้เป็นบทเรียนนั้นสามารถทำได้ในห้องสตูดิโอหรือภายในห้องปฏิบัติการ - แผ่นวีดิทัศน์ (Videodisc) มีลักษณะเป็นแผ่บกลมแบนๆคล้ายแผนเสียง แผ่นทำด้วยพลาสติกเมื่อโดนแสงไฟจะแลดูเป็นสีรุ้งสวยงาม สามารถบันทึกภาพและเสียงจากฟิล์มภาพยนตร์ แผ่นวีดิทัศน์มีการส่งสัญญาณภาพและเสียงออกทางจอโทรทัศน์ คุณภาพของภาพคมชัดเจนและเสียงกว่าแถบวีดิทัศน์มาก ข้อดีและข้อจำกัดในการใช้โทรทัศน์การศึกษาและโทรทัศน์การสอน

 - ข้อดี

1. สามารถใช้โทรทัศน์ได้ในสภาพการณ์ที่ผู้เรียนมีจำนวนมากและผู้สอนมีจำนวนจำกัด

2. เป็นสื่อการสอนที่สามารถนำสื่อหลายอย่างมาใช้ร่วมกันได้โดยสะดวกในรูปแบบของสื่อประสม

3. เป็นสื่อที่ช่วยเพิ่มประสิทธิภาพทางการเรียนการสอนได้โดยการเชิญผู้เชี่ยวชาญ

4. สามารถสาธิตได้อย่างชัดเจน

5. ช่วยปรับปรุงเทคนิคการสอนของครูประจำและครูฝึกสอน

 6. เป็นสื่อที่สามารถนำรูปธรรมมาประกอบการสอนได้สะดวกรวดเร็ว

- ข้อจำกัด

1. การใช้โทรทัศน์เป็นสื่อทางเดียวผู้เรียนและผู้สอนไม่สามารถพูดจาโต้ตอบกันได้

 2. โทรทัศน์มิใช่เป็นอุปกรณ์ที่ใช้แทนผู้สอนได้อย่างสิ้นเชิง

3. อาจเกิดอุปสรรคในด้านการสื่อสาร

4. การผลิตรายการอาจไม่ดีพอ

5. มีค่าใช้จ่ายสูงในการจัดซื้ออุปกรณ์ที่สามารถถ่ายทำและใช้เทคนิควิธีการในการผลิตรายการที่มีคุณภาพ

     ระบบการส่งโทรทัศน์การศึกษาและโทรทัศน์การสอน

1. การส่งรายการทางสถานีโทรทัศน์เพื่อการค้า (Broadcasting by commercial Station)

2. การส่งรายการทางสถานีโทรทัศน์ที่มิใช่เพื่อการค้า (Broadcasting by Non-Commercial Station)

3. การส่งโทรทัศน์วงจรปิด (Closed Circuit Television)

4. การส่งโทรทัศน์ทางสายเคเบิลหรือเคเบิลทีวี (Cable Television)

5. การส่งโทรทัศน์ด้วยคลื่นไมโครเวฟ (Microwave Transmission)

6. การส่งสัญญาณผ่านดาวเทียม (Satellite Transmission)

7. การประชุมทางไกล (Teleconference)

 8. วีดีสาร (Videotext)

 9. โทรภาพสาร (Teletext) อ้างอิง กิดานันท์ มลิทอง.เทคโนโลยีการศึกษาและนวัตกรรม.กรุงเทพมหานคร: สำนักพิมพ์แห่งจุฬาลงกรณ์

 

รูปภาพของ dsp7253

แก้ไขงานด้วยตุล

-ไม่ยอมแบ่งหน้า

-ภาพ..............

มหาวิทยาลัยศรีปทุม ผู้ใหญ่ใจดี
 

 ช่วยด้วยครับ
นักเรียนที่สร้างบล็อก กรุณาอย่า
คัดลอกข้อมูลจากเว็บอื่นทั้งหมด
ควรนำมาจากหลายๆ เว็บ แล้ววิเคราะห์ สังเคราะห์ และเขียนขึ้นใหม่
หากคัดลอกทั้งหมด จะถูกดำเนินคดี
ตามกฎหมายจากเจ้าของลิขสิทธิ์
มีโทษทั้งจำคุกและปรับในอัตราสูง

ช่วยกันนะครับ 
ไทยกู๊ดวิวจะได้อยู่นานๆ 
ไม่ถูกปิดเสียก่อน

ขอขอบคุณในความร่วมมือครับ

อ่านรายละเอียด

ด่วน...... ขณะนี้
พระราชบัญญัติลิขสิทธิ์ (ฉบับที่ 2) พ.ศ. 2558 
มีผลบังคับใช้แล้ว 
ขอให้นักเรียนและคุณครูที่ใช้งาน
เว็บ thaigoodview ในการส่งการบ้าน
ระมัดระวังการละเมิดลิขสิทธิ์ด้วย
อ่านรายละเอียดที่นี่ครับ

 

สมาชิกที่ออนไลน์

ขณะนี้มี สมาชิก 0 คน และ ผู้เยี่ยมชม 390 คน กำลังออนไลน์