• user warning: Duplicate entry '536306482' for key 'PRIMARY' query: INSERT INTO accesslog (title, path, url, hostname, uid, sid, timer, timestamp) values('วิทยาศาสตร์, ช่วงชั้น 3 (ม.1-3)', 'taxonomy/term/2,13', '', '13.58.183.216', 0, 'b4a3a2c6a46645bf2154ffd378a0df5b', 228, 1719633583) in /home/tgv/htdocs/modules/statistics/statistics.module on line 63.
  • user warning: Table 'cache_filter' is marked as crashed and should be repaired query: SELECT data, created, headers, expire, serialized FROM cache_filter WHERE cid = '3:2309143e5bbfed5ec1916e37cdec1752' in /home/tgv/htdocs/includes/cache.inc on line 27.
  • user warning: Table 'cache_filter' is marked as crashed and should be repaired query: UPDATE cache_filter SET data = '<!--paging_filter--><p>\n<span style=\"color: #ff0000\"><strong><u>GMO<br />\n</u></strong></span></p>\n<p>ประมาณ 40 ปีที่แล้วในประเทศกำลังพัฒนามีประชาชนผู้หิวโหยอยู่ประมาณ 1000 ล้านคน ซึ่งก็คิดเป็นจำนวนถึง 50% ของประชาการทั้งหมดในประเทศที่กำลังพัฒนานี้ หากว่าอัตราส่วนนี้ไม่เปลี่ยน นั่นก็เท่ากับว่าในปัจจุบันเราจะมีประชาการ ที่ได้รับอาหารไม่เพียงพอต่อวัน เป็นจำนวนเท่ากับ 2000 ล้านคน แต่แท้ที่จริงจากการสำรวจล่าสุดมีเพียงแค่ 800 ล้านคน</p>\n<p>\nบางท่านอาจจะเคยได้ยิน <strong>The Green Revolution</strong> ซึ่งก็คือการปรับปรุงพันธุ์พืชโดยวิธีทางวิทยาศาสตร์ โครงการนี้ได้ถูกเริ่มในปี 1960 พีชที่ได้ถูกปรับปรุงประกอบไปด้วย ข้าว ข้าวสาลี ข้าวโพด ข้าวโอ๊ต หลังจากนั้นไม่นานผลที่ได้ในการเก็บเกี่ยวก็เพิ่มขึ้นในระดับที่ มากกว่าอัตราการเพิ่มของประชากร ผลประโยชน์ต่อเนื่องอีกอย่างหนึ่งคือ ราคาของผลผลิดลดลง จำนวนเงินที่ใช้ในการซื้ออาหารก็ลดลงตามลำดับ เมื่อเทียบกับค่าใช้จ่ายอื่นๆ ประเทศที่มีผลผลิดเหลือก็สามารถส่งออกจำหน่ายยังต่างประเทศได้ แต่สิ่งที่กำลังเกิดขึ้นขณะนี้ก็คือ <span style=\"color: #008000\">อัตราการเพิ่มของผลผลิดลดลง เมื่อเทียบกับอัตราการเพิ่มของประชากร</span> ในประเทศที่กำลังพัฒนา สาเหตุที่อัตราการเพิ่มของผลผลิตลดลงก็มีหลายอย่าง สาเหตุใหญ่ก็คือคุณภาพของดินที่ลดลงเนื่องจากการทำเกษตรกรรมนั่นเอง ซึ่งก็เป็นปกติ</p>\n<p>\nเป็นที่รู้กันดีว่าประเทศที่พัฒนาแล้วนั้นผลิตอาหารมากกว่าความต้องการภายในประเทศ แต่ว่าการส่งออกอาหาจจากประเทศเหล่านี้ไปยังประเทศกำลังพัฒนา นั้นไม่ใช่ทางออก จากที่ผ่านๆมา มันเป็นไปไม่ได้ที่จะใช้โครงสร้างของตลาด หรือการค้าขายในการจัดสรรและกระจายผลผลิต สู่ประเทศยากจน เนื่องจาก<span style=\"color: #008000\">เป้าหมายของตลาดคือผลกำไร</span> จะเห็นได้ว่าประชาชนที่จะได้รับผลประโยชน์ก็คือประชาชนในเมืองนั่นเอง จาก 800 ล้านคนที่รับอาหารไม่เพียงพอนั้น เพียงแค่ 130 ล้านคนที่อาศัยอยู่ในเมือง ที่เหลือกระจัดกระจาย อยู่ใน<span style=\"color: #008000\">ชนบทที่ห่างใกลซึ่งสามารถเข้าถึงเฉพาะผลผลิตในท้องถิ่นนั้นเท่านั้น</span></p>\n<p>\nจากที่กล่าวมาทั้งหมดทุกข้อ จะเห็นว่าเราต้องการ Green Revolution ครั้งที่ 2 โดยที่ผลผลิตนั้นจะต้องเพิ่มขึ้นและจะต้องไม่เป็นผลเสียต่อสิ่งแวดล้อม หลายคนเชื่อว่านี่สามารถที่จะทำได้ หากใช้การเกษตรแบบเพียงพอ (sustainanle agriculture) พร้อมกับความร่วมมือจากเกษตรกรที่ดีในการค้นคว้า และนำพันธุ์พืชไปใช้อย่างถูกวิธิ พร้อมกับการใช้ Bio-technology สมัยใหม่ในการเพิ่มผลผลิตโดยตรง</p>\n<p>\nบทความที่จะกล่าวต่อไปนี้จะเกี่ยวกับ Bio-technology ทั้งหมดที่เกี่ยวกับ <strong>GMO (พันธุวิศวกรรมศาสตร์ )</strong> เราจะแนะนำท่านสู่เทคโนโลยีอันนี้ พร้อมกับบรรยายถึงผลดี ผลเสีย และปัญหาที่กำลังเกิดขึ้นในปัจจุบัน <strong><span style=\"color: #0000ff\">(ไม่เน้นเฉพาะประเทศไทย)</span></strong>\n</p>\n<p>\n<strong><span style=\"color: #0000ff\"></span></strong>\n</p>\n<p>\n<strong><span style=\"color: #0000ff\">Gmo คืออะไร</span></strong>\n</p>\n<p><span style=\"color: #ff0000\">ทำไมถึงได้มีการต่อต้านกันนัก? ได้ยินมานานนักหนาจากหน้าหนังสือพิมท์ โทรทัศท์ ที่ผ่านมาเราได้เห็นเฉพาะที่สื่อมวลชนทั้งหลายนำเสนอ วันนี้เราขอนำเสนอ จีเอ็มโอโดยตรงจากนักวิทยาศาสตร์ด้านพันธุศาสตร์ เราจะมาเริ่มทำความเข้าใจกับธรรมชาติของสิ่งมีชีวิต ความรู้พื้นฐานที่นักวิทยาศาสตร์ได้ทราบกันมานาน และนำมาใช้ในการสร้าง จีเอ็มโอ </span></p>\n<p>\nก่อนอื่นต้องขอพูดถึง DNA ดีเอ็นเอก็คือสารพันธุกรรมที่เป็นตัวส่งข่าวสารจากพ่อ แม่ไปสู่ลูก ทบทวนกันสักนิด &quot;ดีเอ็นเอ&quot; ก็ย่อมาจาก Deoxyribonucleic acid เป็นส่วนประกอบพื้นฐานสำหรับสิ่งมีชีวิตเกือบทุกชนิด ดีเอ็นเอ ประกอบไปด้วย โมเลกุล 4 ชนิด ซึ่งเรียกรวม ๆ ว่า nucleotides โมเลกุลทั้ง 4 ชนิดนั้นเหมือนกันตรงที่ ต่างก็มี น้ำตาล(Deoxyribose) และ กลุ่ม ฟอสเฟต (phosphase) แต่จะต่างกันตรงชนิดของ กลุ่ม เบส (base) ที่ติดอยู่กับแต่ละโมเลกุล ว่าจะเป็น A (จาก Adenine), G (จาก Guanine), C (Cytosine) หรือ T (thymine)จะว่ากันแบบง่าย ๆ </p>\n<p>\nดีเอ็นเอก็มีลักษณะเหมือนเชือกสองเส้นที่ขนานกัน (ดังในรูป ด้านซ้าย) แล้วแต่ละเส้น จะมีโมเลกุล 4 ชนิดคล้ายลูกปัดร้อยอยู่ แต่ละโมเลกุลจะมี A, G, T หรือ C ติดอยู่ อันดับในการเรียงของลูกปัด หรือ โมเลกุล เหล่านี้ มี ความสำคัญมาก (คำอธิบายอยู่ข้างล่าง) เชือกสองเส้นนี้ติดกันอยู่โดยพลังดูดระหว่าง คู่เบส (จำได้หรือเปล่าว่าเบสก็คืv A, T, G หรือ C) ที่อยู่บนเชือกสองเส้น โดย A จะดูดกับ T และ G จะ ดูดกับ C ด้วยแรงดูดระหว่าง คู่เบส (A คุ่กับ T และ G คู่กับ C)และโครงสร้างเฉพาะตัวของแต่ละ nucleotide (เป็นคำรวมเรียกโมเลกุลน้ำตาลและเบศที่เกาะกับน้ำตาลอันนั้น) นี้ทำให้โครงสร้างของ ดีเอ็นเอ มีลักษณะเป็น double helix (double=สอง helix=เส้นเกลียว) หรือเป็น เกลียว 2 เส้นที่ขนานกัน ดังในรูป </p>\n<p>\n<span style=\"color: #008000\"><strong>แล้วดีเอ็นเอนี่ทำอะไรในร่างกายของสิ่งมีชีวิต?</strong></span>คำถามนี้ก็มีคนได้พยายามตอบกันมานานมาก เราก็โชคดีที่บรรพบุรุษผู้ขยันนั้นได้หาคำตอบที่มีการพิสูจน์แล้วว่าจริง มาให้เราเรียบร้อย มาฟังคำตอบกันใน Central Dogma ในวิชาพันธุศาสตร์ (Genetics)</p>\n<p>\nโดยทั่วไปแล้ว คำว่า dogma นั้นใช้กับสิ่งที่ยังไม่ได้พิสูจน์ แต่ central dogma ในวิชาพันธุศาสตร์นั้นได้มีการพิสูจน์แล้วว่าเป็นจริง ใน central dogma นี้ หน้าที่ของ ดีเอ็นเอนั้นคือ เป็นพิมพ์เขียว ในกระบวนการ replication เพื่อที่จะสร้าง ดีเอ็นเอเพิ่มขึ้น กระบวนการ replication นั้นก็คล้ายวิธี ถ่ายเอกสารในแง่ที่เราเพิ่มจำนวน ของสิ่งที่เรามีอยู่ให้มีมากขึ้นโดยอาศัยข้อมูลที่บรรจุในเอกสารอันเก่านั้น ในกระบวนการ replication นั้นเราไม่ใช้เครื่องถ่ายเอกสาร หากเราใช้สิ่งที่เรียกว่า enzymes ซึ่ง ก็คือโปรตีนที่สามารถก่อให้เกิดหรือเร่ง ปฏิกิริยาทางเคมีต่าง ๆ ได้แบบเฉพาะตัว ใน replication เอ็นไซม์ที่ทำหน้าที่ก็ได้รับชื่อเฉพาะว่า DNA polymerase (สร้างโพลิเมอร์ของ ดีเอ็นเอ โดยที่คำว่าโพลิเมอร์หมายถึงสิ่งหรือสารที่สร้างมาจากการเรียงตัวกันหลาย ๆ อันของสิ่งใดสิ่งหนี่งที่มีขนาดเล็กกว่า) นอกเหนือ จากเป็นพิมพ์เขียว สำหรับ replication ดีเอ็นเอ ยังเป็นพิมพ์เขียว ในขบวนการ transcription (transcript เป็นคำนามของสิ่งที่ผ่านการ transcribe ซึงก็คือการแปลข้อมูลนั่นเอง) ดังนั้น transcription ในที่นี้ก็คือการแปลข้อมูลจากภาษา ดีเอ็นเอ เป็น ภาษา อาร์เอ็นเอ โดยใช้ เอ็นไซม์ RNA polymerase (สร้างโพลิเมอร์ของ อาร์เอ็นเอ) </p>\n<p>\n<img src=\"/tech/pictures/A208p2x2.gif\" /></p>\n<p><span style=\"color: #008000\"><a href=\"http://www.vcharkarn.com/varticle/208/2\"><u><span style=\"color: #336666\">http://www.vcharkarn.com/varticle/208/2</span></u></a></span></p>\n<p><strong>&quot;อาร์เอ็นเอ&quot;</strong> นั้นย่อมาจาก ribonucleic acid (จะเห็นได้ว่า คำเต็มคล้ายๆ กับของดีเอ็นเอ ต่างกันตรงที่ ดีเอ็นเอมี Deoxy- เติมอยู่ตรงข้างหน้า ซึ่งมาจากความที่ ดีเอ็นเอมี -H เกาะอยู่กับ C ตัวที่ 2 ในน้ำตาล หาก อาร์เอ็นเอมี -OH เกาะอยู่) โครงสร้างของ อาร์เอ็นเอนั้นคล้ายกับ ดีเอ็นเอ หากต่างกันตรงที่ ชนิดของ น้ำตาล (อาร์เอ็นเอนั้นเป็นน้ำตาล ribose แต่ ดีเอ็นเอเป็น Deoxyribose ต่างกันตรว -OH กับ -H) และ T ใน ดีเอ็นเอจะถูกแปรเป็น U (Uracil) ในอาร์เอ็นเอ หน้าที่ของอาร์เอ็นเอ ก็คือเป็นพิมพ์เขียว ในการสร้าง โปรตีน โดยที่จะสร้างโปรตีนอะไรนั้นขึ้นอยู่กับว่าอันดับของเบส (A, T, G or C) บนสายอาร์เอ็นเอ (ซึ่งเป็นอันดับเดียวกับบน ดีเอ็นเอ) และขบวนการสร้างโปรตีนนี้เรียกว่า translation โดยอาศัยกลุ่มเอ็นไซม์ที่ชื่อว่า ribosome ส่วนของ ดีเอ็นเอ ที่เมื่อผ่านการ transcription และ translation แล้ว ได้ โปรตีน 1 โปรตีนเรียกว่า 1 ยีน (gene) โดยส่วนมากแล้วจะตั้งชื่อของ ยีน ต่าง ๆ ตามหน้าที่ของโปรตีนที่สร้างมาจากข้อมูลในยีนนั้น ๆในเซลล์ ดีเอ็นเอของสิ่งมีชีวิตต่างชนิด จะมีปริมาณและจำนวนของยีน ต่างกัน ส่วนมากปริมาณของดีเอ็นเอจะพูดกันในหน่วยที่ เรียกว่า basepair (bp) โดยที่ 1 bp หมายถึง 1 คู่ของ nucleotide หรือ 1 คู่ของเบส (อย่าลืมว่า ดีเอ็นเอเป็นสายสองเส้นขนานกัน 1 คู่ในที่นี้หมายถึง คู่ของ A-T หรือ คู่ของ G-C) นั่นเอง (เพราะ 1 nucleotide มี 1 เบส) มนุษย์เรานั้น มีดีเอ็นเอประมาณ 3x10^9 bp สิ่งที่น่ารู้อีกอย่างหนึ่งก็คือ ดีเอ็นเอในสิ่งมีชีวิตนั้นมีการจัดเรียงต่างกัน เช่นในแบคทีเรีย ดีเอ็นเอจะเรียงตัวเป็นวงกลม (นึกถึงยางวงที่เราเล่นเป่ากบกัน) แต่ในมนุษย์ ยีสต์หรือสัตว์ที่สูงขึ้นมา ดีเอ็นเอจะจัดตัวเป็นเส้น ๆ เรียกว่า โครโมโซม (chromosome) แล้วจำนวนของโครโมโซมเนี่ยก็จะจำเพาะในแต่ละ สปีชี (specie) มนุษย์เราจะมี 46 โครโมโซม (22 คู่ และ 2 โครโมโซมที่ควบคุมลักษณะทางเพศ โดยที่ X ควบคุมลักษณะเพศหญิง และ Y ควบคุมลักษณะเพศชาย) ในรูปด้านซ้ายมือ แต่ละโครโมโซมได้ผ่านการ replication แล้วเราจึงเห็น โครโมโซม 2 เส้นติดกันอยู่แต่ถ้านับแล้วควรจะครบ 46 อัน </p>\n<p>\nแต่ในแมลงหวี่ จะมี 8 โครโมโซม (3 คู่ และ 2 โครโมโซมที่ควบคุมเพศ) สิ่งมีชีวิตที่มีโครโมโซม 2 ชุด (copy) เช่น มนุษย์ และแมลงหวี่ โดยที่หนึ่งชุดมาจากพ่อ และอีกหนึ่งชุดมาจากแม่ เรียกว่า เป็นพวก diploid แต่ในสิ่งมีชีวิตที่มี แค่ 1 copy เช่น แบคทีเรียซึ่งมีโครโมโซมเป็นวงกลม 1 วง จะ จัดเป็นพวก haploid เนื่องจากเซลล์ของ มนุษย์ พืช และ สัตว์อื่นๆ โดยทั่วไป นั้นมีขนาดเล็กมาก (1-10 micrometer ) ดีเอ็นเอจึงต้องมีการ จัดตัวให้ดี (ดีเอ็นเอของมนุษย์มีความยาวประมาณ 2 เมตร) และการจัดตัวของ ดีเอ็นเอนี้สำเร็จล่วงไปได้ด้วยเจ้า โปรตีนที่ชื่อ ฮิสโตน (histone) </p>\n<p>\n<strong>ข้อดีและตัวอย่าง</strong><span style=\"color: #ff0000\"> </span></p>\n<p>\n<strong></strong>\n</p>\n<p>\nเทคโนโลยีในการตัดต่อดีเอ็นเอ ได้ทำให้นักวิทยาศาสตร์สามารถเปลี่ยนแปลงดีเอ็นเอของสิ่งมีชีวิตหลายชนิด มานานแล้ว ในปัจจุบันนี้ พืชผักผลไม้ที่เราบริโภคอยู่ทุกวัน โดยส่วนมากได้ผ่านการเปลี่ยนแปลงทางพันธุกรรมมาแล้ว อาจจะโดยการปรับปรุงพันธุ์ (breeding program) ซึ่งถ้าพูดกันไปตามหลักวิทยาศาสตร์แล้ว การปรับปรุงหรือคัดเลือกพันธุ์ซึ่งก็คือการที่เราผสมพืชต่างๆ พันธุ์แล้วคัดเลือกเฉพาะต้นที่มีคุณสมบัติที่ต้องการ หรืออีกนัยหนึ่งก็คือการที่เราเลือกต้นพึช ที่มียีนที่ควบคุมลักษณะที่เราต้องการ การถ่ายยีนนี้เป็นไปโดยธรรมชาติ ในกระบวนการที่ ละอองเรณูนำดีเอ็นเอจากต้นพ่อไปสู่ไข่ซึ่งมีดีเอ็นเอในต้นแม่ และในกระบวนการการสร้างลูก ๆ นี้ homologous recombination จะเกิดขึ้นระหว่างดีเอ็นเอจากพ่อและดีเอ็นเอจากแม่ ทำให้ได้ลูกที่มีดีเอ็นเอบางส่วน (หรือบางยีน) จากพ่อและบางส่วนจากแม่ </p>\n<p>\nGMO ต่างกับกระบวนการปรับปรุงพันธุ์แบบที่เราคุ้นเคยตรงที่ว่า <span style=\"color: #ff0000\">นักวิทยาศาสตร์รู้แน่นอนว่า จะเพิ่มหรือลดยีนตัวไหน</span> เพื่อที่จะทำให้ต้นพืชหรือสัตว์มีคุณสมบัติดังที่ต้องการ GMO ที่จะกล่าวถึงนี้ เป็นเพียงส่วนน้อย หากแต่เป็นสิ่งที่มีการพูดถึงมาก </p>\n<p>\n<span style=\"font-size: large; color: #008000\">1. ต้นไม้สารพัดนึก</span></p>\n<p>\nBt toxin เป็นสารเคมีที่ปล่อยออกมาจาก แบคทีเรียที่อยู่ในดินชื่อ Bacillus Thuringiensis ตามธรรมชาติ สารเคมีนี้สามารถยับยั้ง การเติบโตของแมลงศัตรูพืชได้หลายชนิด โดยการจับตัวและทำลายช่องท้องของแมลง Bt toxin นี้ได้มีการผลิตและใช้เป็นสารป้องกันแมลงศัตรูพืชมานานแล้ว หากยังเป็นสารเคมีที่อนุญาตให้ใช้ได้ใน Organic garden (การปลูกพืชปลอดสารพิษ นิยมกันมากที่ต่างประเทศ พืชผักพวกนี้จะมีราคาแพงกว่าธรรมดา) ด้วยความที่ว่า สามารฆ่าแมลงได้อย่างมีประสิทธิภาพหากไม่มีผลกระทบต่อมนุษย์ และด้วยความช่างคิดของนักวิยาศาสตร์ ประจวบกับความพร้อมในเทคโนโลยี ได้มีการใส่ยีนที่ผลิต BT toxin เข้าไปในต้นไม้หลายชนิด เช่นต้น มะเขือ ข้าวโพด มันฝรั่ง เมื่อมี่ยีนนี้แล้ว พืชก็สามารถที่จะผลิต สารเคมีนี้ (โดยอาศัยข้อมูลที่บันทึกอยู่ในดีเอ็นเอส่วนที่ใส่เข้าไป) ได้อย่างมีประสิทธิภาพ และสามารถป้องกันต้นพืชจากแมลงศัตรูต่าง ๆ และ ลดการใช้สารเคมีลงไปได้อย่างมาก </p>\n<p>\n<span style=\"font-size: large; color: #008000\">2. พืชที่ปลูกได้ในถิ่นทุรกันดาร</span></p>\n<p>\nเช่นข้าวที่สามารถทนแล้งได้นานๆ เหมาะสำหรับปลูกใน Sub-Saharan Africa หรือข้าวที่สามารถทนน้ำท่วมใด้เป็นระยะเวลานานๆ พร้อมกันนี้ยังได้มีการค้นคว้าข้าว ที่สามารถปลูก ได้ในดินเค็ม หรือ ข้าวที่สามารถปลูกได้ใน ดินที่มีความหนาแน่นของอลูมิเนียมสูง </p>\n<p>\n<span style=\"font-size: large; color: #008000\">3. ปลาแซลมอนยักษ์ </span></p>\n<p>\nที่เลือกคุยปลาแซลมอนนี้ก็เพราะว่า อยากจะให้เห็นถึงความแพร่หลาย ของการใช้ เทคโนโลยีของการตัดต่อยีน (DNA recombinant technology) และจีเอ็มโอโดยทั่วไปทั้งในพืช และสัตว์ เจ้าปลาแซลมอนยักษ์เนี่ย ก็ตัวโตกว่าปกติ เพราะว่านักวิทยาศาสร์ไดใส่ดีเอ็นเอ ที่สร้างโปรตีน ที่ทำหน้าที่เป็นฮอร์โมนกระตุ้นการเติบโต ของไอ้เจ้าปลาน้อยนี้เข้าไป จะว่ากันไปอย่างคร่าว ๆ ก็คือ ปลาแซลมอนเป็นปลาที่นิยมบริโภคกันมากในต่างประเทศ โดยเฉพาะถ้าเกิดว่าจะย่างปลาเนี่ย พวกผมทองทั้งหลายก็จะไม่ต้องคิดกันไปถึงปลาอื่นเลยแหละ ข่าวล่าสุดจากหนังสือ Nature ประจำเดือนกรกฎาคมปีนี้ ก็คือมีบริษัทหนึ่งในประเทศสหรัฐอเมริกากำลังพยายามอย่างเต็มที่ ที่จะขออนุญาติทำการผลิตและจำหน่ายปลา Atlantic แซลมอน (Salmon salar) ที่มียีนควบคุมการผลิตฮอร์โมนที่ได้มาจากปลา Pacific chinook แซลมอน (Oncorhynchus tshawytscha) ซึ่งไอ้เจ้ายีนนี้ก็ขอรำลึกกันหน่อยว่าก็คือส่วนของดีเอ็นเอ ในที่นี้ก็บรรจุข้อมูลเกียวกับการสร้างฮอร์โมนที่สำคัญ กับการเจริญเติบโตในปลา และเจ้าดีเอ็นเอที่ใส่ใน Pacific salmon นั้นก็ได้นำไปต่อกับดีเอ็นเออีกส่วนหนึ่งที่เรียกว่า promoter ซึ่งมีส่วนสำคัญในการเริ่ม และเร่งกระบวนการ transcription (สร้างอาร์เอ็นเอ จาก ดีเอ็นเอ) เพราะฉะนั้น เจ้า pacific salmon ก็จะสามารถอาศัยข้อมูลในดีเอ็นเอที่ได้รับ (transgene) มาผลิตฮอร์โมนในปริมาณที่มากขึ้นกว่าปกติ ทำให้มีการเจริญเติบโตที่รวดเร็วและมีขนาดใหญ่ขึ้นกว่าปลาที่ไม่มียีนที่เพิ่มขี้นมานี้ (สามารถใหญ่ขึ้นได้ถึงประมาณ 13 เท่า!!) </p>\n<p>\n<span style=\"font-size: large; color: #008000\">4. ข้าวสีทอง</span></p>\n<p>\nอีกในไม่นานหากมีการยอมรับ ผลิตภันท์ จีเอ็มโอมากขึ้น ข้าวที่เราทานอาจะเปลี่ยนแปลงไป่ไม่ขาวจ๋องอย่างที่เราคุ้น ๆ กัน ทั้งนี้ทั้งนั้นก็ไม่ใช่เพราะอะไร นอกเสียจากนักวิยาศาสตร์หัวใสได้คิดขึ้นมาว่า ในเมื่อมีคนบริโภคข้าวมากมายในโลกนี้โดยเฉพาะประเทศในโลกที่ 3 และเพราะด้วยความที่ไม่ค่อยจะมีอะไรจะบริโภค นอกเหนือจากข้าวนี่แหละทำให้คนที่ชอบกินข้าวเหล่านี้ เป็นโรคขาดสารอาหารกันไปเป็นแถว ๆ เพราะฉะนั้น เราก็ทำไมไม่ใส่สารอาหารเข้าไปข้างในเสียเลย โดยอาศัยเทคนิคทาง Genetic engineering ใน ปี 2542 Inko Potrykus (คนบนปก Time magazine July 31, 2000) และคนใช้แรงงานทั้งหลายในห้องทดลองที่ประเทศเยอรมนี ก็สามารถสร้างข้าวสีทอง ขึ้นมาได้เป็นรายแรกของโลก ข้าวพันธุ์นี้ดียังไง มันก็ดีตรงที่ในเมล็ดข้าว นอกจากมีสารอาหารคาร์โบไฮเดรตและอื่นๆ ที่มีอยู่ในข้าวโดยทั่วไปแล้วยังมีวิตามินเอเพิ่มเข้ามาด้วย และเพราะข้าวนี้สามารถสร้างวิตามินเอได้ มันจีงมีสีเหลืองสวยเหมือนทองเพราะว่าในกระบวนการที่สร้างวิตามินเอนี้ต้นข้าวต้องสร้าง beta carotene (มีสีเหลือง) ขึ้นมาก่อน ด้วย Recombinant DNA technology(การตัดต่อยีน)ยีนทั้งหลาย ที่ควบคุมหลายขั้นตอนในกระบวนการทางเคมีที่สร้าง beta carotene จากแบคทีเรีย Erwinia และ ต้น daffodils ก็ได้ถูกใส่เข้าไปในต้นข้าว </p>\n<p></p>\n', created = 1719633594, expire = 1719719994, headers = '', serialized = 0 WHERE cid = '3:2309143e5bbfed5ec1916e37cdec1752' in /home/tgv/htdocs/includes/cache.inc on line 112.
  • user warning: Table 'cache_filter' is marked as crashed and should be repaired query: SELECT data, created, headers, expire, serialized FROM cache_filter WHERE cid = '3:9deb63bfe6a706acc9d42ca80c2f3753' in /home/tgv/htdocs/includes/cache.inc on line 27.
  • user warning: Table 'cache_filter' is marked as crashed and should be repaired query: UPDATE cache_filter SET data = '<!--paging_filter--><p>\nเก่งเนอะๆ\n</p>\n<p>\n ทัมเสดแล้ว\n</p>\n<p>\n<img border=\"0\" src=\"/sites/all/modules/tinymce/tinymce/jscripts/tiny_mce/plugins/emotions/images/smiley-laughing.gif\" alt=\"Laughing\" title=\"Laughing\" />\n</p>\n<p>\n&nbsp;\n</p>\n', created = 1719633594, expire = 1719719994, headers = '', serialized = 0 WHERE cid = '3:9deb63bfe6a706acc9d42ca80c2f3753' in /home/tgv/htdocs/includes/cache.inc on line 112.

GMo

GMO

ประมาณ 40 ปีที่แล้วในประเทศกำลังพัฒนามีประชาชนผู้หิวโหยอยู่ประมาณ 1000 ล้านคน ซึ่งก็คิดเป็นจำนวนถึง 50% ของประชาการทั้งหมดในประเทศที่กำลังพัฒนานี้ หากว่าอัตราส่วนนี้ไม่เปลี่ยน นั่นก็เท่ากับว่าในปัจจุบันเราจะมีประชาการ ที่ได้รับอาหารไม่เพียงพอต่อวัน เป็นจำนวนเท่ากับ 2000 ล้านคน แต่แท้ที่จริงจากการสำรวจล่าสุดมีเพียงแค่ 800 ล้านคน

บางท่านอาจจะเคยได้ยิน The Green Revolution ซึ่งก็คือการปรับปรุงพันธุ์พืชโดยวิธีทางวิทยาศาสตร์ โครงการนี้ได้ถูกเริ่มในปี 1960 พีชที่ได้ถูกปรับปรุงประกอบไปด้วย ข้าว ข้าวสาลี ข้าวโพด ข้าวโอ๊ต หลังจากนั้นไม่นานผลที่ได้ในการเก็บเกี่ยวก็เพิ่มขึ้นในระดับที่ มากกว่าอัตราการเพิ่มของประชากร ผลประโยชน์ต่อเนื่องอีกอย่างหนึ่งคือ ราคาของผลผลิดลดลง จำนวนเงินที่ใช้ในการซื้ออาหารก็ลดลงตามลำดับ เมื่อเทียบกับค่าใช้จ่ายอื่นๆ ประเทศที่มีผลผลิดเหลือก็สามารถส่งออกจำหน่ายยังต่างประเทศได้ แต่สิ่งที่กำลังเกิดขึ้นขณะนี้ก็คือ อัตราการเพิ่มของผลผลิดลดลง เมื่อเทียบกับอัตราการเพิ่มของประชากร ในประเทศที่กำลังพัฒนา สาเหตุที่อัตราการเพิ่มของผลผลิตลดลงก็มีหลายอย่าง สาเหตุใหญ่ก็คือคุณภาพของดินที่ลดลงเนื่องจากการทำเกษตรกรรมนั่นเอง ซึ่งก็เป็นปกติ

เป็นที่รู้กันดีว่าประเทศที่พัฒนาแล้วนั้นผลิตอาหารมากกว่าความต้องการภายในประเทศ แต่ว่าการส่งออกอาหาจจากประเทศเหล่านี้ไปยังประเทศกำลังพัฒนา นั้นไม่ใช่ทางออก จากที่ผ่านๆมา มันเป็นไปไม่ได้ที่จะใช้โครงสร้างของตลาด หรือการค้าขายในการจัดสรรและกระจายผลผลิต สู่ประเทศยากจน เนื่องจากเป้าหมายของตลาดคือผลกำไร จะเห็นได้ว่าประชาชนที่จะได้รับผลประโยชน์ก็คือประชาชนในเมืองนั่นเอง จาก 800 ล้านคนที่รับอาหารไม่เพียงพอนั้น เพียงแค่ 130 ล้านคนที่อาศัยอยู่ในเมือง ที่เหลือกระจัดกระจาย อยู่ในชนบทที่ห่างใกลซึ่งสามารถเข้าถึงเฉพาะผลผลิตในท้องถิ่นนั้นเท่านั้น

จากที่กล่าวมาทั้งหมดทุกข้อ จะเห็นว่าเราต้องการ Green Revolution ครั้งที่ 2 โดยที่ผลผลิตนั้นจะต้องเพิ่มขึ้นและจะต้องไม่เป็นผลเสียต่อสิ่งแวดล้อม หลายคนเชื่อว่านี่สามารถที่จะทำได้ หากใช้การเกษตรแบบเพียงพอ (sustainanle agriculture) พร้อมกับความร่วมมือจากเกษตรกรที่ดีในการค้นคว้า และนำพันธุ์พืชไปใช้อย่างถูกวิธิ พร้อมกับการใช้ Bio-technology สมัยใหม่ในการเพิ่มผลผลิตโดยตรง

บทความที่จะกล่าวต่อไปนี้จะเกี่ยวกับ Bio-technology ทั้งหมดที่เกี่ยวกับ GMO (พันธุวิศวกรรมศาสตร์ ) เราจะแนะนำท่านสู่เทคโนโลยีอันนี้ พร้อมกับบรรยายถึงผลดี ผลเสีย และปัญหาที่กำลังเกิดขึ้นในปัจจุบัน (ไม่เน้นเฉพาะประเทศไทย)

Gmo คืออะไร

ทำไมถึงได้มีการต่อต้านกันนัก? ได้ยินมานานนักหนาจากหน้าหนังสือพิมท์ โทรทัศท์ ที่ผ่านมาเราได้เห็นเฉพาะที่สื่อมวลชนทั้งหลายนำเสนอ วันนี้เราขอนำเสนอ จีเอ็มโอโดยตรงจากนักวิทยาศาสตร์ด้านพันธุศาสตร์ เราจะมาเริ่มทำความเข้าใจกับธรรมชาติของสิ่งมีชีวิต ความรู้พื้นฐานที่นักวิทยาศาสตร์ได้ทราบกันมานาน และนำมาใช้ในการสร้าง จีเอ็มโอ

ก่อนอื่นต้องขอพูดถึง DNA ดีเอ็นเอก็คือสารพันธุกรรมที่เป็นตัวส่งข่าวสารจากพ่อ แม่ไปสู่ลูก ทบทวนกันสักนิด "ดีเอ็นเอ" ก็ย่อมาจาก Deoxyribonucleic acid เป็นส่วนประกอบพื้นฐานสำหรับสิ่งมีชีวิตเกือบทุกชนิด ดีเอ็นเอ ประกอบไปด้วย โมเลกุล 4 ชนิด ซึ่งเรียกรวม ๆ ว่า nucleotides โมเลกุลทั้ง 4 ชนิดนั้นเหมือนกันตรงที่ ต่างก็มี น้ำตาล(Deoxyribose) และ กลุ่ม ฟอสเฟต (phosphase) แต่จะต่างกันตรงชนิดของ กลุ่ม เบส (base) ที่ติดอยู่กับแต่ละโมเลกุล ว่าจะเป็น A (จาก Adenine), G (จาก Guanine), C (Cytosine) หรือ T (thymine)จะว่ากันแบบง่าย ๆ

ดีเอ็นเอก็มีลักษณะเหมือนเชือกสองเส้นที่ขนานกัน (ดังในรูป ด้านซ้าย) แล้วแต่ละเส้น จะมีโมเลกุล 4 ชนิดคล้ายลูกปัดร้อยอยู่ แต่ละโมเลกุลจะมี A, G, T หรือ C ติดอยู่ อันดับในการเรียงของลูกปัด หรือ โมเลกุล เหล่านี้ มี ความสำคัญมาก (คำอธิบายอยู่ข้างล่าง) เชือกสองเส้นนี้ติดกันอยู่โดยพลังดูดระหว่าง คู่เบส (จำได้หรือเปล่าว่าเบสก็คืv A, T, G หรือ C) ที่อยู่บนเชือกสองเส้น โดย A จะดูดกับ T และ G จะ ดูดกับ C ด้วยแรงดูดระหว่าง คู่เบส (A คุ่กับ T และ G คู่กับ C)และโครงสร้างเฉพาะตัวของแต่ละ nucleotide (เป็นคำรวมเรียกโมเลกุลน้ำตาลและเบศที่เกาะกับน้ำตาลอันนั้น) นี้ทำให้โครงสร้างของ ดีเอ็นเอ มีลักษณะเป็น double helix (double=สอง helix=เส้นเกลียว) หรือเป็น เกลียว 2 เส้นที่ขนานกัน ดังในรูป

แล้วดีเอ็นเอนี่ทำอะไรในร่างกายของสิ่งมีชีวิต?คำถามนี้ก็มีคนได้พยายามตอบกันมานานมาก เราก็โชคดีที่บรรพบุรุษผู้ขยันนั้นได้หาคำตอบที่มีการพิสูจน์แล้วว่าจริง มาให้เราเรียบร้อย มาฟังคำตอบกันใน Central Dogma ในวิชาพันธุศาสตร์ (Genetics)

โดยทั่วไปแล้ว คำว่า dogma นั้นใช้กับสิ่งที่ยังไม่ได้พิสูจน์ แต่ central dogma ในวิชาพันธุศาสตร์นั้นได้มีการพิสูจน์แล้วว่าเป็นจริง ใน central dogma นี้ หน้าที่ของ ดีเอ็นเอนั้นคือ เป็นพิมพ์เขียว ในกระบวนการ replication เพื่อที่จะสร้าง ดีเอ็นเอเพิ่มขึ้น กระบวนการ replication นั้นก็คล้ายวิธี ถ่ายเอกสารในแง่ที่เราเพิ่มจำนวน ของสิ่งที่เรามีอยู่ให้มีมากขึ้นโดยอาศัยข้อมูลที่บรรจุในเอกสารอันเก่านั้น ในกระบวนการ replication นั้นเราไม่ใช้เครื่องถ่ายเอกสาร หากเราใช้สิ่งที่เรียกว่า enzymes ซึ่ง ก็คือโปรตีนที่สามารถก่อให้เกิดหรือเร่ง ปฏิกิริยาทางเคมีต่าง ๆ ได้แบบเฉพาะตัว ใน replication เอ็นไซม์ที่ทำหน้าที่ก็ได้รับชื่อเฉพาะว่า DNA polymerase (สร้างโพลิเมอร์ของ ดีเอ็นเอ โดยที่คำว่าโพลิเมอร์หมายถึงสิ่งหรือสารที่สร้างมาจากการเรียงตัวกันหลาย ๆ อันของสิ่งใดสิ่งหนี่งที่มีขนาดเล็กกว่า) นอกเหนือ จากเป็นพิมพ์เขียว สำหรับ replication ดีเอ็นเอ ยังเป็นพิมพ์เขียว ในขบวนการ transcription (transcript เป็นคำนามของสิ่งที่ผ่านการ transcribe ซึงก็คือการแปลข้อมูลนั่นเอง) ดังนั้น transcription ในที่นี้ก็คือการแปลข้อมูลจากภาษา ดีเอ็นเอ เป็น ภาษา อาร์เอ็นเอ โดยใช้ เอ็นไซม์ RNA polymerase (สร้างโพลิเมอร์ของ อาร์เอ็นเอ)

http://www.vcharkarn.com/varticle/208/2

"อาร์เอ็นเอ" นั้นย่อมาจาก ribonucleic acid (จะเห็นได้ว่า คำเต็มคล้ายๆ กับของดีเอ็นเอ ต่างกันตรงที่ ดีเอ็นเอมี Deoxy- เติมอยู่ตรงข้างหน้า ซึ่งมาจากความที่ ดีเอ็นเอมี -H เกาะอยู่กับ C ตัวที่ 2 ในน้ำตาล หาก อาร์เอ็นเอมี -OH เกาะอยู่) โครงสร้างของ อาร์เอ็นเอนั้นคล้ายกับ ดีเอ็นเอ หากต่างกันตรงที่ ชนิดของ น้ำตาล (อาร์เอ็นเอนั้นเป็นน้ำตาล ribose แต่ ดีเอ็นเอเป็น Deoxyribose ต่างกันตรว -OH กับ -H) และ T ใน ดีเอ็นเอจะถูกแปรเป็น U (Uracil) ในอาร์เอ็นเอ หน้าที่ของอาร์เอ็นเอ ก็คือเป็นพิมพ์เขียว ในการสร้าง โปรตีน โดยที่จะสร้างโปรตีนอะไรนั้นขึ้นอยู่กับว่าอันดับของเบส (A, T, G or C) บนสายอาร์เอ็นเอ (ซึ่งเป็นอันดับเดียวกับบน ดีเอ็นเอ) และขบวนการสร้างโปรตีนนี้เรียกว่า translation โดยอาศัยกลุ่มเอ็นไซม์ที่ชื่อว่า ribosome ส่วนของ ดีเอ็นเอ ที่เมื่อผ่านการ transcription และ translation แล้ว ได้ โปรตีน 1 โปรตีนเรียกว่า 1 ยีน (gene) โดยส่วนมากแล้วจะตั้งชื่อของ ยีน ต่าง ๆ ตามหน้าที่ของโปรตีนที่สร้างมาจากข้อมูลในยีนนั้น ๆในเซลล์ ดีเอ็นเอของสิ่งมีชีวิตต่างชนิด จะมีปริมาณและจำนวนของยีน ต่างกัน ส่วนมากปริมาณของดีเอ็นเอจะพูดกันในหน่วยที่ เรียกว่า basepair (bp) โดยที่ 1 bp หมายถึง 1 คู่ของ nucleotide หรือ 1 คู่ของเบส (อย่าลืมว่า ดีเอ็นเอเป็นสายสองเส้นขนานกัน 1 คู่ในที่นี้หมายถึง คู่ของ A-T หรือ คู่ของ G-C) นั่นเอง (เพราะ 1 nucleotide มี 1 เบส) มนุษย์เรานั้น มีดีเอ็นเอประมาณ 3x10^9 bp สิ่งที่น่ารู้อีกอย่างหนึ่งก็คือ ดีเอ็นเอในสิ่งมีชีวิตนั้นมีการจัดเรียงต่างกัน เช่นในแบคทีเรีย ดีเอ็นเอจะเรียงตัวเป็นวงกลม (นึกถึงยางวงที่เราเล่นเป่ากบกัน) แต่ในมนุษย์ ยีสต์หรือสัตว์ที่สูงขึ้นมา ดีเอ็นเอจะจัดตัวเป็นเส้น ๆ เรียกว่า โครโมโซม (chromosome) แล้วจำนวนของโครโมโซมเนี่ยก็จะจำเพาะในแต่ละ สปีชี (specie) มนุษย์เราจะมี 46 โครโมโซม (22 คู่ และ 2 โครโมโซมที่ควบคุมลักษณะทางเพศ โดยที่ X ควบคุมลักษณะเพศหญิง และ Y ควบคุมลักษณะเพศชาย) ในรูปด้านซ้ายมือ แต่ละโครโมโซมได้ผ่านการ replication แล้วเราจึงเห็น โครโมโซม 2 เส้นติดกันอยู่แต่ถ้านับแล้วควรจะครบ 46 อัน

แต่ในแมลงหวี่ จะมี 8 โครโมโซม (3 คู่ และ 2 โครโมโซมที่ควบคุมเพศ) สิ่งมีชีวิตที่มีโครโมโซม 2 ชุด (copy) เช่น มนุษย์ และแมลงหวี่ โดยที่หนึ่งชุดมาจากพ่อ และอีกหนึ่งชุดมาจากแม่ เรียกว่า เป็นพวก diploid แต่ในสิ่งมีชีวิตที่มี แค่ 1 copy เช่น แบคทีเรียซึ่งมีโครโมโซมเป็นวงกลม 1 วง จะ จัดเป็นพวก haploid เนื่องจากเซลล์ของ มนุษย์ พืช และ สัตว์อื่นๆ โดยทั่วไป นั้นมีขนาดเล็กมาก (1-10 micrometer ) ดีเอ็นเอจึงต้องมีการ จัดตัวให้ดี (ดีเอ็นเอของมนุษย์มีความยาวประมาณ 2 เมตร) และการจัดตัวของ ดีเอ็นเอนี้สำเร็จล่วงไปได้ด้วยเจ้า โปรตีนที่ชื่อ ฮิสโตน (histone)

ข้อดีและตัวอย่าง

เทคโนโลยีในการตัดต่อดีเอ็นเอ ได้ทำให้นักวิทยาศาสตร์สามารถเปลี่ยนแปลงดีเอ็นเอของสิ่งมีชีวิตหลายชนิด มานานแล้ว ในปัจจุบันนี้ พืชผักผลไม้ที่เราบริโภคอยู่ทุกวัน โดยส่วนมากได้ผ่านการเปลี่ยนแปลงทางพันธุกรรมมาแล้ว อาจจะโดยการปรับปรุงพันธุ์ (breeding program) ซึ่งถ้าพูดกันไปตามหลักวิทยาศาสตร์แล้ว การปรับปรุงหรือคัดเลือกพันธุ์ซึ่งก็คือการที่เราผสมพืชต่างๆ พันธุ์แล้วคัดเลือกเฉพาะต้นที่มีคุณสมบัติที่ต้องการ หรืออีกนัยหนึ่งก็คือการที่เราเลือกต้นพึช ที่มียีนที่ควบคุมลักษณะที่เราต้องการ การถ่ายยีนนี้เป็นไปโดยธรรมชาติ ในกระบวนการที่ ละอองเรณูนำดีเอ็นเอจากต้นพ่อไปสู่ไข่ซึ่งมีดีเอ็นเอในต้นแม่ และในกระบวนการการสร้างลูก ๆ นี้ homologous recombination จะเกิดขึ้นระหว่างดีเอ็นเอจากพ่อและดีเอ็นเอจากแม่ ทำให้ได้ลูกที่มีดีเอ็นเอบางส่วน (หรือบางยีน) จากพ่อและบางส่วนจากแม่

GMO ต่างกับกระบวนการปรับปรุงพันธุ์แบบที่เราคุ้นเคยตรงที่ว่า นักวิทยาศาสตร์รู้แน่นอนว่า จะเพิ่มหรือลดยีนตัวไหน เพื่อที่จะทำให้ต้นพืชหรือสัตว์มีคุณสมบัติดังที่ต้องการ GMO ที่จะกล่าวถึงนี้ เป็นเพียงส่วนน้อย หากแต่เป็นสิ่งที่มีการพูดถึงมาก

1. ต้นไม้สารพัดนึก

Bt toxin เป็นสารเคมีที่ปล่อยออกมาจาก แบคทีเรียที่อยู่ในดินชื่อ Bacillus Thuringiensis ตามธรรมชาติ สารเคมีนี้สามารถยับยั้ง การเติบโตของแมลงศัตรูพืชได้หลายชนิด โดยการจับตัวและทำลายช่องท้องของแมลง Bt toxin นี้ได้มีการผลิตและใช้เป็นสารป้องกันแมลงศัตรูพืชมานานแล้ว หากยังเป็นสารเคมีที่อนุญาตให้ใช้ได้ใน Organic garden (การปลูกพืชปลอดสารพิษ นิยมกันมากที่ต่างประเทศ พืชผักพวกนี้จะมีราคาแพงกว่าธรรมดา) ด้วยความที่ว่า สามารฆ่าแมลงได้อย่างมีประสิทธิภาพหากไม่มีผลกระทบต่อมนุษย์ และด้วยความช่างคิดของนักวิยาศาสตร์ ประจวบกับความพร้อมในเทคโนโลยี ได้มีการใส่ยีนที่ผลิต BT toxin เข้าไปในต้นไม้หลายชนิด เช่นต้น มะเขือ ข้าวโพด มันฝรั่ง เมื่อมี่ยีนนี้แล้ว พืชก็สามารถที่จะผลิต สารเคมีนี้ (โดยอาศัยข้อมูลที่บันทึกอยู่ในดีเอ็นเอส่วนที่ใส่เข้าไป) ได้อย่างมีประสิทธิภาพ และสามารถป้องกันต้นพืชจากแมลงศัตรูต่าง ๆ และ ลดการใช้สารเคมีลงไปได้อย่างมาก

2. พืชที่ปลูกได้ในถิ่นทุรกันดาร

เช่นข้าวที่สามารถทนแล้งได้นานๆ เหมาะสำหรับปลูกใน Sub-Saharan Africa หรือข้าวที่สามารถทนน้ำท่วมใด้เป็นระยะเวลานานๆ พร้อมกันนี้ยังได้มีการค้นคว้าข้าว ที่สามารถปลูก ได้ในดินเค็ม หรือ ข้าวที่สามารถปลูกได้ใน ดินที่มีความหนาแน่นของอลูมิเนียมสูง

3. ปลาแซลมอนยักษ์

ที่เลือกคุยปลาแซลมอนนี้ก็เพราะว่า อยากจะให้เห็นถึงความแพร่หลาย ของการใช้ เทคโนโลยีของการตัดต่อยีน (DNA recombinant technology) และจีเอ็มโอโดยทั่วไปทั้งในพืช และสัตว์ เจ้าปลาแซลมอนยักษ์เนี่ย ก็ตัวโตกว่าปกติ เพราะว่านักวิทยาศาสร์ไดใส่ดีเอ็นเอ ที่สร้างโปรตีน ที่ทำหน้าที่เป็นฮอร์โมนกระตุ้นการเติบโต ของไอ้เจ้าปลาน้อยนี้เข้าไป จะว่ากันไปอย่างคร่าว ๆ ก็คือ ปลาแซลมอนเป็นปลาที่นิยมบริโภคกันมากในต่างประเทศ โดยเฉพาะถ้าเกิดว่าจะย่างปลาเนี่ย พวกผมทองทั้งหลายก็จะไม่ต้องคิดกันไปถึงปลาอื่นเลยแหละ ข่าวล่าสุดจากหนังสือ Nature ประจำเดือนกรกฎาคมปีนี้ ก็คือมีบริษัทหนึ่งในประเทศสหรัฐอเมริกากำลังพยายามอย่างเต็มที่ ที่จะขออนุญาติทำการผลิตและจำหน่ายปลา Atlantic แซลมอน (Salmon salar) ที่มียีนควบคุมการผลิตฮอร์โมนที่ได้มาจากปลา Pacific chinook แซลมอน (Oncorhynchus tshawytscha) ซึ่งไอ้เจ้ายีนนี้ก็ขอรำลึกกันหน่อยว่าก็คือส่วนของดีเอ็นเอ ในที่นี้ก็บรรจุข้อมูลเกียวกับการสร้างฮอร์โมนที่สำคัญ กับการเจริญเติบโตในปลา และเจ้าดีเอ็นเอที่ใส่ใน Pacific salmon นั้นก็ได้นำไปต่อกับดีเอ็นเออีกส่วนหนึ่งที่เรียกว่า promoter ซึ่งมีส่วนสำคัญในการเริ่ม และเร่งกระบวนการ transcription (สร้างอาร์เอ็นเอ จาก ดีเอ็นเอ) เพราะฉะนั้น เจ้า pacific salmon ก็จะสามารถอาศัยข้อมูลในดีเอ็นเอที่ได้รับ (transgene) มาผลิตฮอร์โมนในปริมาณที่มากขึ้นกว่าปกติ ทำให้มีการเจริญเติบโตที่รวดเร็วและมีขนาดใหญ่ขึ้นกว่าปลาที่ไม่มียีนที่เพิ่มขี้นมานี้ (สามารถใหญ่ขึ้นได้ถึงประมาณ 13 เท่า!!)

4. ข้าวสีทอง

อีกในไม่นานหากมีการยอมรับ ผลิตภันท์ จีเอ็มโอมากขึ้น ข้าวที่เราทานอาจะเปลี่ยนแปลงไป่ไม่ขาวจ๋องอย่างที่เราคุ้น ๆ กัน ทั้งนี้ทั้งนั้นก็ไม่ใช่เพราะอะไร นอกเสียจากนักวิยาศาสตร์หัวใสได้คิดขึ้นมาว่า ในเมื่อมีคนบริโภคข้าวมากมายในโลกนี้โดยเฉพาะประเทศในโลกที่ 3 และเพราะด้วยความที่ไม่ค่อยจะมีอะไรจะบริโภค นอกเหนือจากข้าวนี่แหละทำให้คนที่ชอบกินข้าวเหล่านี้ เป็นโรคขาดสารอาหารกันไปเป็นแถว ๆ เพราะฉะนั้น เราก็ทำไมไม่ใส่สารอาหารเข้าไปข้างในเสียเลย โดยอาศัยเทคนิคทาง Genetic engineering ใน ปี 2542 Inko Potrykus (คนบนปก Time magazine July 31, 2000) และคนใช้แรงงานทั้งหลายในห้องทดลองที่ประเทศเยอรมนี ก็สามารถสร้างข้าวสีทอง ขึ้นมาได้เป็นรายแรกของโลก ข้าวพันธุ์นี้ดียังไง มันก็ดีตรงที่ในเมล็ดข้าว นอกจากมีสารอาหารคาร์โบไฮเดรตและอื่นๆ ที่มีอยู่ในข้าวโดยทั่วไปแล้วยังมีวิตามินเอเพิ่มเข้ามาด้วย และเพราะข้าวนี้สามารถสร้างวิตามินเอได้ มันจีงมีสีเหลืองสวยเหมือนทองเพราะว่าในกระบวนการที่สร้างวิตามินเอนี้ต้นข้าวต้องสร้าง beta carotene (มีสีเหลือง) ขึ้นมาก่อน ด้วย Recombinant DNA technology(การตัดต่อยีน)ยีนทั้งหลาย ที่ควบคุมหลายขั้นตอนในกระบวนการทางเคมีที่สร้าง beta carotene จากแบคทีเรีย Erwinia และ ต้น daffodils ก็ได้ถูกใส่เข้าไปในต้นข้าว

เก่งเนอะๆ

 ทัมเสดแล้ว

Laughing

 

มหาวิทยาลัยศรีปทุม ผู้ใหญ่ใจดี
 

 ช่วยด้วยครับ
นักเรียนที่สร้างบล็อก กรุณาอย่า
คัดลอกข้อมูลจากเว็บอื่นทั้งหมด
ควรนำมาจากหลายๆ เว็บ แล้ววิเคราะห์ สังเคราะห์ และเขียนขึ้นใหม่
หากคัดลอกทั้งหมด จะถูกดำเนินคดี
ตามกฎหมายจากเจ้าของลิขสิทธิ์
มีโทษทั้งจำคุกและปรับในอัตราสูง

ช่วยกันนะครับ 
ไทยกู๊ดวิวจะได้อยู่นานๆ 
ไม่ถูกปิดเสียก่อน

ขอขอบคุณในความร่วมมือครับ

อ่านรายละเอียด

ด่วน...... ขณะนี้
พระราชบัญญัติลิขสิทธิ์ (ฉบับที่ 2) พ.ศ. 2558 
มีผลบังคับใช้แล้ว 
ขอให้นักเรียนและคุณครูที่ใช้งาน
เว็บ thaigoodview ในการส่งการบ้าน
ระมัดระวังการละเมิดลิขสิทธิ์ด้วย
อ่านรายละเอียดที่นี่ครับ

 

สมาชิกที่ออนไลน์

ขณะนี้มี สมาชิก 0 คน และ ผู้เยี่ยมชม 271 คน กำลังออนไลน์