• user warning: Table 'cache_filter' is marked as crashed and should be repaired query: SELECT data, created, headers, expire, serialized FROM cache_filter WHERE cid = '3:a8a4c787488d8c7f64390de1778850e9' in /home/tgv/htdocs/includes/cache.inc on line 27.
  • user warning: Table 'cache_filter' is marked as crashed and should be repaired query: UPDATE cache_filter SET data = '<!--paging_filter--><p style=\"background: #f8fcff; margin: 0cm 0cm 10pt; text-indent: 36pt; line-height: normal\" class=\"MsoNormal\">\n<span style=\"color: #000000\"><span style=\"font-size: 14pt; font-family: \'Angsana New\',\'serif\'\">GMO คือ คือ<a href=\"http://th.wikipedia.org/wiki/สิ่งมีชีวิต\" title=\"สิ่งมีชีวิต\"><span style=\"color: #000000\">สิ่งมีชีวิต</span></a><span style=\"color: #000000\">ที่องค์ประกอบทาง</span><a href=\"http://th.wikipedia.org/wiki/พันธุกรรม\" title=\"พันธุกรรม\"><span style=\"color: #000000\">พันธุกรรม</span></a><span style=\"color: #000000\">ถูกดัดแปลงโดยใช้กลวิธีทาง</span><a href=\"http://th.wikipedia.org/wiki/พันธุวิศวกรรม\" title=\"พันธุวิศวกรรม\"><span style=\"color: #000000\">พันธุวิศวกรรม</span></a><span style=\"color: #000000\">ที่เรียกว่า</span><a href=\"http://th.wikipedia.org/w/index.php?title=%E0%B9%80%E0%B8%97%E0%B8%84%E0%B9%82%E0%B8%99%E0%B9%82%E0%B8%A5%E0%B8%A2%E0%B8%B5%E0%B8%81%E0%B8%B2%E0%B8%A3%E0%B8%A3%E0%B8%B5%E0%B8%84%E0%B8%AD%E0%B8%A1%E0%B8%9A%E0%B8%B4%E0%B9%81%E0%B8%99%E0%B8%99%E0%B8%97%E0%B9%8C%E0%B8%94%E0%B8%B5%E0%B9%80%E0%B8%AD%E0%B9%87%E0%B8%99%E0%B9%80%E0%B8%AD&amp;action=edit&amp;redlink=1\" title=\"เทคโนโลยีการรีคอมบิแนนท์ดีเอ็นเอ (หน้านี้ไม่มี)\" class=\"new\"></a><span style=\"color: #000000\">  เทคโนโลยีการรีคอมบิแนนท์ดีเอ็นเอ(DNA Recombinant) ด้วยเทคโนโลยีดังกล่าว โมเลกุล</span><a href=\"http://th.wikipedia.org/wiki/ดีเอ็นเอ\" title=\"ดีเอ็นเอ\"><span style=\"color: #000000\">ดีเอ็นเอ</span></a><span style=\"color: #000000\">จากต้นกำเนิดต่างๆ กันจะถูกรวมเข้าด้วยกันในหลอดทดลอง แล้วใส่ลงไปในโมเลกุลหนึ่งตัวเพื่อสร้าง</span><a href=\"http://th.wikipedia.org/wiki/ยีน\" title=\"ยีน\"><span style=\"color: #000000\">ยีน</span></a><span style=\"color: #000000\">ขึ้นมาใหม่ จากนั้นดีเอ็นเอที่ถูกดัดแปลงก็จะถูกถ่ายลงไปในสิ่งมีชีวิต ทำให้เกิดการแสดงลักษณะที่เกิดขึ้นจากการดัดแปลงที่แปลกใหม่ หรือ <strong>พืชดัดแปลงพันธุกรรม</strong> คือพืชที่ผ่านกระบวนการทาง<a href=\"http://th.wikipedia.org/wiki/พันธุวิศวกรรม\" title=\"พันธุวิศวกรรม\"><span style=\"color: #000000\">พันธุวิศวกรรม</span></a><span style=\"color: #000000\"> เพื่อให้มีคุณสมบัติหรือคุณลักษณะที่จำเพาะเจาะจงตามต้องการ เช่น มีความต้านทานต่อแมลงศัตรูพืช คงทนต่อสภาพแวดล้อมที่ไม่เหมาะสม หรือมีการเพิ่มขึ้นของสารโภชนาการหรือชีวโมเลกุลบางชนิด เช่น <a href=\"http://th.wikipedia.org/wiki/วิตามิน\" title=\"วิตามิน\"><span style=\"color: #000000\">วิตามิน</span></a><span style=\"color: #000000\"> </span><a href=\"http://th.wikipedia.org/wiki/โปรตีน\" title=\"โปรตีน\"><span style=\"color: #000000\">โปรตีน</span></a><span style=\"color: #000000\"> </span><a href=\"http://th.wikipedia.org/wiki/ไขมัน\" title=\"ไขมัน\"><span style=\"color: #000000\">ไขมัน</span></a><span style=\"color: #000000\"> เป็นต้น พืชดัดแปลงพันธุกรรมถือเป็น</span><a href=\"http://th.wikipedia.org/wiki/สิ่งมีชีวิตดัดแปลงพันธุกรรม\" title=\"สิ่งมีชีวิตดัดแปลงพันธุกรรม\"><span style=\"color: #000000\">สิ่งมีชีวิตดัดแปลงพันธุกรรม</span></a><span style=\"color: #000000\">หรือจี เอ็ม โอ (GMOs – Genetically Modified Organisms) ประเภทหนึ่ง<span class=\"mw-headline\">สัตว์ตัดแต่งพันธุกรรม<span class=\"mw-headline\">สัตว์ตัดแต่งพันธุกรรม</span></span></span></span></span></span></span>\n</p>\n<p style=\"background: #f8fcff; margin: 0cm 0cm 10pt; text-indent: 36pt; line-height: normal\" class=\"MsoNormal\">\n<span style=\"color: #000000\"><span style=\"font-size: 14pt; font-family: \'Angsana New\',\'serif\'\"><span style=\"color: #000000\"><span style=\"color: #000000\"><span style=\"color: #000000\"><span class=\"mw-headline\"><span class=\"mw-headline\"><span class=\"mw-headline\"><strong>สัตว์ตัดแต่งพันธุกรรม</strong></span></span></span></span></span></span></span></span>\n</p>\n<p style=\"background: #f8fcff; margin: 0cm 0cm 10pt; text-indent: 36pt; line-height: normal\" class=\"MsoNormal\">\n<span style=\"color: #000000\"><span style=\"font-size: 14pt; font-family: \'Angsana New\',\'serif\'\"><span style=\"color: #000000\"><span style=\"color: #000000\"><span style=\"color: #000000\"><span class=\"mw-headline\"><span class=\"mw-headline\"><span class=\"mw-headline\">สัตว์ตัดแต่งพันธุกรรมถูกใช้เป็นแบบทดลองในการทดสอบ<a href=\"http://th.wikipedia.org/wiki/ฟีโนไทป์\" title=\"ฟีโนไทป์\" class=\"mw-redirect\"><span style=\"color: #000000\">ฟีโนไทป์</span></a><span style=\"color: #000000\">กับยีนซึ่งไม่ทราบหน้าที่การทำงานหรือเพื่อสร้างสัตว์ที่สามารถรองรับสารประกอบหรือความเครียดได้ในระดับหนึ่งเพื่อใช้สำหรับทดลองในการวิจัย<a href=\"http://th.wikipedia.org/wiki/เครื่องสำอาง\" title=\"เครื่องสำอาง\"><span style=\"color: #000000\">เครื่องสำอาง</span></a><span style=\"color: #000000\">และการแพทย์เชิงชีวภาพ ส่วนการนำไปใช้อื่นๆ รวมไปถึงการผลิตฮอร์โมนของมนุษย์เช่น อินซูลิน เป็นต้น</span></span></span></span></span></span></span></span></span></span>\n</p>\n<p style=\"background: #f8fcff; margin: 0cm 0cm 10pt; text-indent: 36pt; line-height: normal\" class=\"MsoNormal\">\n<span style=\"color: #000000\"><span style=\"font-size: 14pt; font-family: \'Angsana New\',\'serif\'\"><span style=\"color: #000000\"><span style=\"color: #000000\"><span style=\"color: #000000\"><span class=\"mw-headline\"><span class=\"mw-headline\"><span class=\"mw-headline\"><span class=\"mw-headline\"><strong>พืชตัดแต่งพันธุกรรม</strong></span></span></span></span></span></span></span></span></span>\n</p>\n<p style=\"background: #f8fcff; margin: 0cm 0cm 10pt; text-indent: 36pt; line-height: normal\" class=\"MsoNormal\">\n<span style=\"color: #000000\"><span style=\"font-size: 14pt; font-family: \'Angsana New\',\'serif\'\"><span style=\"color: #000000\"><span style=\"color: #000000\"><span style=\"color: #000000\"><span class=\"mw-headline\"><span class=\"mw-headline\"><span class=\"mw-headline\"><span class=\"mw-headline\">พืชตัดแต่งพันธุกรรมถูกพัฒนาขึ้นมาเพื่อใช้ในหลายๆ วัตถุประสงค์ ได้แก่ความต้านทานต่อแมลง, ยากำจัดวัชพืชและสภาพสิ่งแวดล้อมที่เลวร้าย เพื่อเพิ่มระยะเวลาที่พืชสดใหม่ เพิ่มคุณค่าทางโภชนาการ ฯลฯ ตั้งแต่การเพาะปลูกพืชตัดแต่งพันธุกรรมเชิงพาณิชย์ครั้งแรกในปี พ.ศ.2539 พืชตัดแต่งพันธุกรรมที่ทนทานต่อยากำจัดวัชพืชกลูโซฟิเนทและไกลโฟเซท และพันธุ์ที่สามารถผลิตพิษบีที ซึ่งเป็นสารกำจัดแมลง มียอดขายสูงและครองตลาด ไม่นานมานี้ พืชตัดแต่งพันธุกรรมสายพันธุ์ใหม่มีทีท่าที่จะให้ผลกำไรกับลูกค้า และวัตถุประสงค์ทางอุตสาหกรรมนั้นพร้อมแล้วที่จะเข้าสู่ตลาด</span></span></span></span></span></span></span></span></span>\n</p>\n<p style=\"background: #f8fcff; margin: 0cm 0cm 10pt; text-indent: 36pt; line-height: normal\" class=\"MsoNormal\">\n<span style=\"color: #000000\"><span style=\"font-size: 14pt; font-family: \'Angsana New\',\'serif\'\"><span style=\"color: #000000\"><span style=\"color: #000000\"><span style=\"color: #000000\"><span class=\"mw-headline\"><span class=\"mw-headline\"><span class=\"mw-headline\"><span class=\"mw-headline\"><span class=\"mw-headline\"><strong>ตัวอย่างพืชดัดแปลงพันธุกรรม</strong></span></span></span></span></span></span></span></span></span></span>\n</p>\n<p style=\"background: #f8fcff; margin: 0cm 0cm 10pt; text-indent: 36pt; line-height: normal\" class=\"MsoNormal\">\n<span style=\"color: #000000\"><span style=\"font-size: 14pt; font-family: \'Angsana New\',\'serif\'\"><span style=\"color: #000000\"><span style=\"color: #000000\"><span style=\"color: #000000\"><span class=\"mw-headline\"><span class=\"mw-headline\"><span class=\"mw-headline\"><span class=\"mw-headline\"><span class=\"mw-headline\"></span></span></span></span></span></span></span></span></span></span><span style=\"color: #000000\"><span style=\"font-size: 14pt; font-family: \'Angsana New\',\'serif\'\"><span style=\"color: #000000\"><span style=\"color: #000000\"><span style=\"color: #000000\"><span class=\"mw-headline\"><span class=\"mw-headline\"><span class=\"mw-headline\"><span class=\"mw-headline\"><span class=\"mw-headline\"><strong><span class=\"mw-headline\">วอลนัท</span></strong></span></span></span></span></span></span></span></span></span></span>\n</p>\n<p style=\"background: #f8fcff; margin: 0cm 0cm 10pt; text-indent: 36pt; line-height: normal\" class=\"MsoNormal\">\n<span style=\"color: #000000\"><span style=\"font-size: 14pt; font-family: \'Angsana New\',\'serif\'\"><span style=\"color: #000000\"><span style=\"color: #000000\"><span style=\"color: #000000\"><span class=\"mw-headline\"><span class=\"mw-headline\"><span class=\"mw-headline\"><span class=\"mw-headline\"><span class=\"mw-headline\"><span class=\"mw-headline\">หลังจากที่ทำการตัดต่อทางพันธุกรรมแล้ว จึงทำให้เม็ดวอลนัทนั้นมีคุณสมบัติที่ดีขึ้นคือ</span></span></span></span></span></span></span></span></span></span></span>\n</p>\n<p style=\"background: #f8fcff; margin: 0cm 0cm 10pt; text-indent: 36pt; line-height: normal\" class=\"MsoNormal\">\n<span style=\"color: #000000\"><span style=\"font-size: 14pt; font-family: \'Angsana New\',\'serif\'\"><span style=\"color: #000000\"><span style=\"color: #000000\"><span style=\"color: #000000\"><span class=\"mw-headline\"><span class=\"mw-headline\"><span class=\"mw-headline\"><span class=\"mw-headline\"><span class=\"mw-headline\"><span class=\"mw-headline\">1.เม็ดวอลนัทแข็งขึ้น </span></span></span></span></span></span></span></span></span></span></span>\n</p>\n<p style=\"background: #f8fcff; margin: 0cm 0cm 10pt; text-indent: 36pt; line-height: normal\" class=\"MsoNormal\">\n<span style=\"color: #000000\"><span style=\"font-size: 14pt; font-family: \'Angsana New\',\'serif\'\"><span style=\"color: #000000\"><span style=\"color: #000000\"><span style=\"color: #000000\"><span class=\"mw-headline\"><span class=\"mw-headline\"><span class=\"mw-headline\"><span class=\"mw-headline\"><span class=\"mw-headline\"><span class=\"mw-headline\">2.ทนทานต่อโรค </span></span></span></span></span></span></span></span></span></span></span>\n</p>\n<p style=\"background: #f8fcff; margin: 0cm 0cm 10pt; text-indent: 36pt; line-height: normal\" class=\"MsoNormal\">\n<span style=\"color: #000000\"><span style=\"font-size: 14pt; font-family: \'Angsana New\',\'serif\'\"><span style=\"color: #000000\"><span style=\"color: #000000\"><span style=\"color: #000000\"><span class=\"mw-headline\"><span class=\"mw-headline\"><span class=\"mw-headline\"><span class=\"mw-headline\"><span class=\"mw-headline\"><span class=\"mw-headline\"><span class=\"mw-headline\"><strong>มันฝรั่ง</strong></span></span></span></span></span></span></span></span></span></span></span></span>\n</p>\n<p style=\"background: #f8fcff; margin: 0cm 0cm 10pt; text-indent: 36pt; line-height: normal\" class=\"MsoNormal\">\n<span style=\"color: #000000\"><span style=\"font-size: 14pt; font-family: \'Angsana New\',\'serif\'\"><span style=\"color: #000000\"><span style=\"color: #000000\"><span style=\"color: #000000\"><span class=\"mw-headline\"><span class=\"mw-headline\"><span class=\"mw-headline\"><span class=\"mw-headline\"><span class=\"mw-headline\"><span class=\"mw-headline\"><span class=\"mw-headline\">มันฝรั่ง (potato) เป็นพืชเศรษฐกิจที่มีการตัดต่อทางพันธุกรรมเช่นเดียวกันกับข้าวโพด โดยใช้การตัดต่อยีนของแบคทีเรียที่ชื่อว่า Bacillus thuringiensis เข้าไปในยีนของมันฝรั่ง ทำให้มันฝรั่งที่ได้รับการตัดต่อทางพันธุกรรมแล้วมีคุณค่าทางสารอาหารเพิ่มขึ้น (เพิ่มปริมาณโปรตีน) และในบางชนิดยังสามารถผลิตวัคซีนที่เป็นประโยชน์ต่อมนุษย์อีกด้วย</span></span></span></span></span></span></span></span></span></span></span></span>\n</p>\n<p style=\"background: #f8fcff; margin: 0cm 0cm 10pt; text-indent: 36pt; line-height: normal\" class=\"MsoNormal\">\n<span style=\"color: #000000\"><span style=\"font-size: 14pt; font-family: \'Angsana New\',\'serif\'\"><span style=\"color: #000000\"><span style=\"color: #000000\"><span style=\"color: #000000\"><span class=\"mw-headline\"><span class=\"mw-headline\"><span class=\"mw-headline\"><span class=\"mw-headline\"><span class=\"mw-headline\"><span class=\"mw-headline\"><span class=\"mw-headline\"><span class=\"mw-headline\"><strong>ประโยชน์ของ GMO</strong></span></span></span></span></span></span></span></span></span></span></span></span></span>\n</p>\n<p style=\"background: #f8fcff; margin: 0cm 0cm 10pt; text-indent: 36pt; line-height: normal\" class=\"MsoNormal\">\n<span style=\"font-size: large\"><strong> </strong>ตัวอย่างของ<span style=\"color: #000000\">ผลิตภัณฑ์ GMO นั้นมีความหลากหลายอย่างมาก ซึ่งรวมไปถึงสัตว์ทีได้รับการตัดแต่งพันธุกรรมโดยวิธีรีคอมบิแนนท์ดีเอ็นเอเช่น  หนู , ปลา พืชตัดแต่งพันธุกรรม หรือ จุลินทรีย์ หลายชนิดเช่นแบคทีเรีย และ เชื้อรา สาเหตุของการผลิตและการใช้ผลิตภัณฑ์ GMO นั้นมีหลายประการด้วยกัน โดยมีประการสำคัญคือการใช้ผลิตภัณฑ์เหล่านี้ในการวิจัยเพื่อตอบคำถามเชิงพิ้นฐานหรือเชิงประยุกต์<span style=\"color: #000000\">ของ</span></span></span><a href=\"http://th.wikipedia.org/wiki/ชีววิทยา\" title=\"ชีววิทยา\"><span style=\"color: #000000\"><span style=\"font-size: large; color: #000000\">ชีววิทยา</span></span></a><span style=\"color: #000000\"><span style=\"font-size: large; color: #000000\">และวิชา</span></span><a href=\"http://th.wikipedia.org/wiki/แพทยศาสตร์\" title=\"แพทยศาสตร์\"><span style=\"color: #000000\"><span style=\"font-size: large; color: #000000\">แพทยศาสตร์</span></span></a><span style=\"color: #000000\"><span style=\"font-size: large; color: #000000\"> ซึ่งนำไปสู่การผลิต</span></span><a href=\"http://th.wikipedia.org/wiki/เอนไซม์\" title=\"เอนไซม์\"><span style=\"color: #000000\"><span style=\"font-size: large; color: #000000\">เอนไซม์</span></span></a><span style=\"color: #000000\"><span style=\"font-size: large; color: #000000\">ทาง</span></span><a href=\"http://th.wikipedia.org/wiki/เภสัชศาสตร์\" title=\"เภสัชศาสตร์\" class=\"mw-redirect\"><span style=\"color: #000000\"><span style=\"font-size: large; color: #000000\">เภสัชกรรม</span></span></a><span style=\"color: #000000\"><span style=\"font-size: large; color: #000000\">และ</span></span><a href=\"http://th.wikipedia.org/wiki/อุตสาหกรรม\" title=\"อุตสาหกรรม\"><span style=\"color: #000000\"><span style=\"font-size: large; color: #000000\">อุตสาหกรรม</span></span></a><span style=\"font-size: large\"><span style=\"color: #000000\"><span style=\"color: #000000\"> และ</span>การนำไปใช้โดยตรง (ซึ่งมักตกเป็นที่วิพากษ์วิจารณ์) เพื่อการพัฒนาสุขภาพของมนุษย์ (เช่น การบำบัดยีน ) หรือผลผลิตทางเกษตรกรรม (เช่น ข้าวสีทอง) นิยามของคำว่า &quot;สิ่งมีชีวิตดัดแปลงพันธุกรรม&quot; ไม่จำเป็นที่จะต้องรวมไปถึงการบรรจุยีนเป้าหมายจากสายพันธุ์หนึ่งไปยังอีกสายพันธุ์หนึ่งเสมอไป ยกตัวอย่างเช่น ยีน<span style=\"color: #000000\">จาก</span></span></span><a href=\"http://th.wikipedia.org/wiki/แมงกะพรุน\" title=\"แมงกะพรุน\"><span style=\"color: #000000\"><span style=\"font-size: large; color: #000000\">แมงกะพรุน</span></span></a><span style=\"color: #000000\"><span style=\"font-size: large; color: #000000\"> ประกอบไปด้วยโปรตีนเรืองแสงเรียกว่า GFP (Green Fluorescent Protein) ซึ่งสามารถนำไปเชื่อมต่อกับยีนอื่นโดยตรงได้และทำให้ยีนนี้สามารถแสดงลักษณะร่วมกันกับยีนของ</span></span><a href=\"http://th.wikipedia.org/wiki/สัตว์เลี้ยงลูกด้วยนม\" title=\"สัตว์เลี้ยงลูกด้วยนม\" class=\"mw-redirect\"><span style=\"color: #000000\"><span style=\"font-size: large; color: #000000\">สัตว์เลี้ยงลูกด้วยนม</span></span></a><span style=\"color: #000000\"><span style=\"font-size: large; color: #000000\">เพื่อระบุถึงตำแหน่งของโปรตีนที่ถูกสร้างขึ้นโดยยีนที่มี GFP เชื่อมอยู่ในเซลล์ของสัตว์เลี้ยงลูกด้วยนม วิธีการเหล่านี้รวมถึงวิธ๊การอื่นๆ ล้วนเป็นเครื่องมือที่มีประโยชน์ และสำคัญอย่างยิ่งสำหรับนักชีววิทยาในหลายๆ สาขาการวิจัย รวมไปถึงผู้ที่ศึกษากลไกของมนุษย์และโรคอื่นๆ หรือกระบวนการพื้นฐานเชิงชีววิทยาในเซลล์</span></span><a href=\"http://th.wikipedia.org/wiki/ยูคาริโอต\" title=\"ยูคาริโอต\" class=\"mw-redirect\"><span style=\"color: #000000\"><span style=\"font-size: large; color: #000000\">ยูคาริโอต</span></span></a><span style=\"color: #000000\"><span style=\"font-size: large; color: #000000\">และโพรคาริโอด</span></span><span style=\"color: #000000\"><span style=\"font-size: 14pt; font-family: \'Angsana New\',\'serif\'\"><span style=\"color: #000000\"><span style=\"color: #000000\"><span style=\"color: #000000\"><span class=\"mw-headline\"><span class=\"mw-headline\"><span class=\"mw-headline\"><span class=\"mw-headline\"><span class=\"mw-headline\"> </span></span></span></span></span></span></span></span></span></span>\n</p>\n<p><span style=\"color: #000000\"><span style=\"font-size: 14pt; font-family: \'Angsana New\',\'serif\'\"><span style=\"color: #000000\"><span style=\"color: #000000\"><span style=\"color: #000000\"><span class=\"mw-headline\"><span class=\"mw-headline\"><span class=\"mw-headline\"><span class=\"mw-headline\"><span class=\"mw-headline\"><span class=\"mw-headline\"><span class=\"mw-headline\"><span class=\"mw-headline\"><strong>  </strong></span></span></span></span></span></span></span></span></span></span></span></span></span><span style=\"color: #000000\"><span style=\"font-size: 14pt; font-family: \'Angsana New\',\'serif\'\"><span style=\"color: #000000\"><span style=\"color: #000000\"><span style=\"color: #000000\"><span class=\"mw-headline\"><span class=\"mw-headline\"><span class=\"mw-headline\"><span class=\"mw-headline\"><span class=\"mw-headline\"> </span></span></span></span></span></span></span></span></span></span></p>\n<p>\n&nbsp;\n</p>\n<p><span style=\"color: #000000\"><span style=\"font-size: 14pt; font-family: \'Angsana New\',\'serif\'\"><span style=\"color: #000000\"><span style=\"color: #000000\"><span style=\"color: #000000\"></span></span></span></span></span></p>\n<p>\n&nbsp;\n</p>\n<p></p>\n<p>\n<span style=\"color: #000000\"></span>\n</p>\n<p></p>\n', created = 1719632910, expire = 1719719310, headers = '', serialized = 0 WHERE cid = '3:a8a4c787488d8c7f64390de1778850e9' in /home/tgv/htdocs/includes/cache.inc on line 112.
  • user warning: Table 'cache_filter' is marked as crashed and should be repaired query: SELECT data, created, headers, expire, serialized FROM cache_filter WHERE cid = '3:885ee9bfeca12f0c41c8666bcc3489c3' in /home/tgv/htdocs/includes/cache.inc on line 27.
  • user warning: Table 'cache_filter' is marked as crashed and should be repaired query: UPDATE cache_filter SET data = '<!--paging_filter--><p>\nดีค่ะ เนื้อหาดีมาก แต่ขาดแต่ภาพประกอบนะค่ะ\n</p>\n', created = 1719632910, expire = 1719719310, headers = '', serialized = 0 WHERE cid = '3:885ee9bfeca12f0c41c8666bcc3489c3' in /home/tgv/htdocs/includes/cache.inc on line 112.

GMO พืชตัดแปลงพันธุกรรม

รูปภาพของ knw32272

GMO คือ คือสิ่งมีชีวิตที่องค์ประกอบทางพันธุกรรมถูกดัดแปลงโดยใช้กลวิธีทางพันธุวิศวกรรมที่เรียกว่า  เทคโนโลยีการรีคอมบิแนนท์ดีเอ็นเอ(DNA Recombinant) ด้วยเทคโนโลยีดังกล่าว โมเลกุลดีเอ็นเอจากต้นกำเนิดต่างๆ กันจะถูกรวมเข้าด้วยกันในหลอดทดลอง แล้วใส่ลงไปในโมเลกุลหนึ่งตัวเพื่อสร้างยีนขึ้นมาใหม่ จากนั้นดีเอ็นเอที่ถูกดัดแปลงก็จะถูกถ่ายลงไปในสิ่งมีชีวิต ทำให้เกิดการแสดงลักษณะที่เกิดขึ้นจากการดัดแปลงที่แปลกใหม่ หรือ พืชดัดแปลงพันธุกรรม คือพืชที่ผ่านกระบวนการทางพันธุวิศวกรรม เพื่อให้มีคุณสมบัติหรือคุณลักษณะที่จำเพาะเจาะจงตามต้องการ เช่น มีความต้านทานต่อแมลงศัตรูพืช คงทนต่อสภาพแวดล้อมที่ไม่เหมาะสม หรือมีการเพิ่มขึ้นของสารโภชนาการหรือชีวโมเลกุลบางชนิด เช่น วิตามิน โปรตีน ไขมัน เป็นต้น พืชดัดแปลงพันธุกรรมถือเป็นสิ่งมีชีวิตดัดแปลงพันธุกรรมหรือจี เอ็ม โอ (GMOs – Genetically Modified Organisms) ประเภทหนึ่งสัตว์ตัดแต่งพันธุกรรมสัตว์ตัดแต่งพันธุกรรม

สัตว์ตัดแต่งพันธุกรรม

สัตว์ตัดแต่งพันธุกรรมถูกใช้เป็นแบบทดลองในการทดสอบฟีโนไทป์กับยีนซึ่งไม่ทราบหน้าที่การทำงานหรือเพื่อสร้างสัตว์ที่สามารถรองรับสารประกอบหรือความเครียดได้ในระดับหนึ่งเพื่อใช้สำหรับทดลองในการวิจัยเครื่องสำอางและการแพทย์เชิงชีวภาพ ส่วนการนำไปใช้อื่นๆ รวมไปถึงการผลิตฮอร์โมนของมนุษย์เช่น อินซูลิน เป็นต้น

พืชตัดแต่งพันธุกรรม

พืชตัดแต่งพันธุกรรมถูกพัฒนาขึ้นมาเพื่อใช้ในหลายๆ วัตถุประสงค์ ได้แก่ความต้านทานต่อแมลง, ยากำจัดวัชพืชและสภาพสิ่งแวดล้อมที่เลวร้าย เพื่อเพิ่มระยะเวลาที่พืชสดใหม่ เพิ่มคุณค่าทางโภชนาการ ฯลฯ ตั้งแต่การเพาะปลูกพืชตัดแต่งพันธุกรรมเชิงพาณิชย์ครั้งแรกในปี พ.ศ.2539 พืชตัดแต่งพันธุกรรมที่ทนทานต่อยากำจัดวัชพืชกลูโซฟิเนทและไกลโฟเซท และพันธุ์ที่สามารถผลิตพิษบีที ซึ่งเป็นสารกำจัดแมลง มียอดขายสูงและครองตลาด ไม่นานมานี้ พืชตัดแต่งพันธุกรรมสายพันธุ์ใหม่มีทีท่าที่จะให้ผลกำไรกับลูกค้า และวัตถุประสงค์ทางอุตสาหกรรมนั้นพร้อมแล้วที่จะเข้าสู่ตลาด

ตัวอย่างพืชดัดแปลงพันธุกรรม

วอลนัท

หลังจากที่ทำการตัดต่อทางพันธุกรรมแล้ว จึงทำให้เม็ดวอลนัทนั้นมีคุณสมบัติที่ดีขึ้นคือ

1.เม็ดวอลนัทแข็งขึ้น

2.ทนทานต่อโรค

มันฝรั่ง

มันฝรั่ง (potato) เป็นพืชเศรษฐกิจที่มีการตัดต่อทางพันธุกรรมเช่นเดียวกันกับข้าวโพด โดยใช้การตัดต่อยีนของแบคทีเรียที่ชื่อว่า Bacillus thuringiensis เข้าไปในยีนของมันฝรั่ง ทำให้มันฝรั่งที่ได้รับการตัดต่อทางพันธุกรรมแล้วมีคุณค่าทางสารอาหารเพิ่มขึ้น (เพิ่มปริมาณโปรตีน) และในบางชนิดยังสามารถผลิตวัคซีนที่เป็นประโยชน์ต่อมนุษย์อีกด้วย

ประโยชน์ของ GMO

 ตัวอย่างของผลิตภัณฑ์ GMO นั้นมีความหลากหลายอย่างมาก ซึ่งรวมไปถึงสัตว์ทีได้รับการตัดแต่งพันธุกรรมโดยวิธีรีคอมบิแนนท์ดีเอ็นเอเช่น  หนู , ปลา พืชตัดแต่งพันธุกรรม หรือ จุลินทรีย์ หลายชนิดเช่นแบคทีเรีย และ เชื้อรา สาเหตุของการผลิตและการใช้ผลิตภัณฑ์ GMO นั้นมีหลายประการด้วยกัน โดยมีประการสำคัญคือการใช้ผลิตภัณฑ์เหล่านี้ในการวิจัยเพื่อตอบคำถามเชิงพิ้นฐานหรือเชิงประยุกต์ของชีววิทยาและวิชาแพทยศาสตร์ ซึ่งนำไปสู่การผลิตเอนไซม์ทางเภสัชกรรมและอุตสาหกรรม และการนำไปใช้โดยตรง (ซึ่งมักตกเป็นที่วิพากษ์วิจารณ์) เพื่อการพัฒนาสุขภาพของมนุษย์ (เช่น การบำบัดยีน ) หรือผลผลิตทางเกษตรกรรม (เช่น ข้าวสีทอง) นิยามของคำว่า "สิ่งมีชีวิตดัดแปลงพันธุกรรม" ไม่จำเป็นที่จะต้องรวมไปถึงการบรรจุยีนเป้าหมายจากสายพันธุ์หนึ่งไปยังอีกสายพันธุ์หนึ่งเสมอไป ยกตัวอย่างเช่น ยีนจากแมงกะพรุน ประกอบไปด้วยโปรตีนเรืองแสงเรียกว่า GFP (Green Fluorescent Protein) ซึ่งสามารถนำไปเชื่อมต่อกับยีนอื่นโดยตรงได้และทำให้ยีนนี้สามารถแสดงลักษณะร่วมกันกับยีนของสัตว์เลี้ยงลูกด้วยนมเพื่อระบุถึงตำแหน่งของโปรตีนที่ถูกสร้างขึ้นโดยยีนที่มี GFP เชื่อมอยู่ในเซลล์ของสัตว์เลี้ยงลูกด้วยนม วิธีการเหล่านี้รวมถึงวิธ๊การอื่นๆ ล้วนเป็นเครื่องมือที่มีประโยชน์ และสำคัญอย่างยิ่งสำหรับนักชีววิทยาในหลายๆ สาขาการวิจัย รวมไปถึงผู้ที่ศึกษากลไกของมนุษย์และโรคอื่นๆ หรือกระบวนการพื้นฐานเชิงชีววิทยาในเซลล์ยูคาริโอตและโพรคาริโอด

  

 

 

รูปภาพของ knw_32290

เนื้อหาน่าสนใจแบ บ บสุดขั้วดีคั๊บ บ

 

ฝาก Blog. UFO หน่อยนะๆ

http://www.thaigoodview.com/node/41235

:: Virunpat Thokondee :: PATLOM* [3/5]

รูปภาพของ knw32242

ดีค่ะ เนื้อหาดีมาก แต่ขาดแต่ภาพประกอบนะค่ะ

มหาวิทยาลัยศรีปทุม ผู้ใหญ่ใจดี
 

 ช่วยด้วยครับ
นักเรียนที่สร้างบล็อก กรุณาอย่า
คัดลอกข้อมูลจากเว็บอื่นทั้งหมด
ควรนำมาจากหลายๆ เว็บ แล้ววิเคราะห์ สังเคราะห์ และเขียนขึ้นใหม่
หากคัดลอกทั้งหมด จะถูกดำเนินคดี
ตามกฎหมายจากเจ้าของลิขสิทธิ์
มีโทษทั้งจำคุกและปรับในอัตราสูง

ช่วยกันนะครับ 
ไทยกู๊ดวิวจะได้อยู่นานๆ 
ไม่ถูกปิดเสียก่อน

ขอขอบคุณในความร่วมมือครับ

อ่านรายละเอียด

ด่วน...... ขณะนี้
พระราชบัญญัติลิขสิทธิ์ (ฉบับที่ 2) พ.ศ. 2558 
มีผลบังคับใช้แล้ว 
ขอให้นักเรียนและคุณครูที่ใช้งาน
เว็บ thaigoodview ในการส่งการบ้าน
ระมัดระวังการละเมิดลิขสิทธิ์ด้วย
อ่านรายละเอียดที่นี่ครับ

 

สมาชิกที่ออนไลน์

ขณะนี้มี สมาชิก 0 คน และ ผู้เยี่ยมชม 204 คน กำลังออนไลน์