• user warning: Table 'cache_filter' is marked as crashed and should be repaired query: SELECT data, created, headers, expire, serialized FROM cache_filter WHERE cid = '3:e742d14694e8250770173e433f4ca455' in /home/tgv/htdocs/includes/cache.inc on line 27.
  • user warning: Table 'cache_filter' is marked as crashed and should be repaired query: UPDATE cache_filter SET data = '<!--paging_filter--><p> <span style=\"font-size: 16pt; line-height: 115%; font-family: \'Angsana New\',\'serif\'\"><o:p></o:p></span></p>\n<p>\n<span style=\"color: #ff00ff\"></span>\n</p>\n<p>\n<span style=\"color: #ff00ff\"></span>\n</p>\n<p align=\"center\" style=\"margin: 0cm 0cm 10pt\" class=\"MsoNormal\">\n<span style=\"font-size: 16pt; line-height: 115%; font-family: \'Angsana New\',\'serif\'\" lang=\"TH\"><span style=\"color: #008000\">พระประจำวันพุธ (กลางวัน) ได้แก่ ปางอุ้มบาตร<span> </span></span></span>\n</p>\n<p align=\"center\" style=\"margin: 0cm 0cm 10pt\" class=\"MsoNormal\">\n<span style=\"font-size: 16pt; line-height: 115%; font-family: \'Angsana New\',\'serif\'\" lang=\"TH\"><span style=\"color: #008000\"><span><img border=\"0\" width=\"283\" src=\"http://gotoknow.org/file/traiyawong/04_44.jpg\" height=\"400\" style=\"width: 171px; height: 243px\" />   </span></span></span> \n</p>\n<p style=\"margin: 0cm 0cm 10pt\" class=\"MsoNormal\">\n<span style=\"color: #008000\"><span style=\"font-size: 16pt; line-height: 115%; font-family: \'Angsana New\',\'serif\'\" lang=\"TH\"><span> </span>ลักษณะพระพุทธรูป  เป็นพระพุทธรูปอยู่ในพระอริยาบถยืน พระหัตถ์ทั้งสองประคองบาตรราวสะเอว</span></span>\n</p>\n<p><span style=\"color: #008000\"><span style=\"font-size: 16pt; line-height: 115%; font-family: \'Angsana New\',\'serif\'\" lang=\"TH\"></span><span style=\"font-size: 16pt; line-height: 115%; font-family: \'Angsana New\',\'serif\'\"><o:p></o:p></span></span><span style=\"color: #008000\"><span style=\"font-size: 16pt; line-height: 115%; font-family: \'Angsana New\',\'serif\'\" lang=\"TH\">ความเป็นมา</span><span style=\"font-size: 16pt; line-height: 115%; font-family: \'Angsana New\',\'serif\'\"><o:p></o:p></span></span><span style=\"color: #008000\"><span style=\"font-size: 16pt; line-height: 115%; font-family: \'Angsana New\',\'serif\'\" lang=\"TH\"><span>     </span>เมื่อพระพุทธเจ้าได้สำแดงอิทธิปาฏิหารย์ เหาะขึ้นไปในอากาศต่อหน้าพระประยูรญาติทั้งหลาย เพื่อให้พระญาติผู้ใหญ่ได้เห็น และละทิฐิถวายบังคมแล้ว จึงได้ตรัสเทศนาเรื่องพระมหาเวสสันดรชาดก ครั้นแล้วพระญาติทั้งหลายก็แยกย้ายกันกลับโดยไม่มีใครทูลอาราธนาฉันพระกระยาหารเช้าในวันรุ่งขึ้น ด้วยเข้าใจผิดคิดว่าพระองค์เป็นราชโอรสและพระสงฆ์ก็เป็นศิษย์ คงต้องฉันภัตตาหารที่จัดเตรียมไว้ในพระราชนิเวศน์เอง แต่พระพุทธองค์กลับพาพระภิกษุสงฆ์สาวกเสด็จจาริกไปตามถนนหลวงในเมือง เพื่อโปรดเวไนยสัตว์ (ผู้ที่พึงสั่งสอนได้)อันเป็นกิจของสงฆ์ และนับเป็นครั้งแรกที่ชาวเมืองกบิลพัสดุ์ได้มีโอกาสชมพระพุทธจริยาวัตรขณะทรงอุ้มบาตรโปรดสัตว์ ประชาชนจึงต่างแซ่ซ้องอภิวาทอย่างสุดซึ้ง แต่ปรากฏว่าพระเจ้าสุทโธทนะ พุทธบิดาทรงทราบเข้า ก็เข้าใจผิดและโกรธพระพุทธองค์ หาว่าออกไปขอทานชาวบ้าน ไม่ฉันภัตตาหารที่เตรียมไว้ พระพุทธเจ้าจึงต้องทรงอธิบายว่า การออกบิณฑบาตรเป็นการไปโปรดสัตว์ มิใช่การขอทาน จึงเป็นที่เข้าใจกันในที่สุด </span><span style=\"font-size: 16pt; line-height: 115%; font-family: \'Angsana New\',\'serif\'\"><o:p></o:p></span></span><span style=\"color: #008000\"><span style=\"font-size: 16pt; line-height: 115%; font-family: \'Angsana New\',\'serif\'\"><span>       </span></span><span style=\"font-size: 16pt; line-height: 115%; font-family: \'Angsana New\',\'serif\'\"><o:p> </o:p></span></span> </p>\n<p align=\"center\" style=\"margin: 0cm 0cm 10pt\" class=\"MsoNormal\">\n<span style=\"font-size: 16pt; line-height: 115%; font-family: \'Angsana New\',\'serif\'\" lang=\"TH\"><span style=\"color: #008000\"><span>          </span>พระประจำวันพุธ (กลางคืน)ได้แก่ ปางป่าเลไลยก์</span></span>\n</p>\n<p>\n<span style=\"color: #008000\"><span style=\"font-size: 16pt; line-height: 115%; font-family: \'Angsana New\',\'serif\'\" lang=\"TH\"> (ผู้ที่เกิดระหว่างเวลา </span><span style=\"font-size: 16pt; line-height: 115%; font-family: \'Angsana New\',\'serif\'\">18.00<span lang=\"TH\"> น. ของวันพุธถึง </span>06.00<span lang=\"TH\"> น.ของวันพฤหัสบดี หรือบางคนก็นับตั้งแต่ </span>18.00 – 24.00<span lang=\"TH\"> น.ของวันพุธ (สุดแต่ความเชื่อ)</span></span></span>\n</p>\n<p><span style=\"color: #008000\"><span style=\"font-size: 16pt; line-height: 115%; font-family: \'Angsana New\',\'serif\'\"><span lang=\"TH\"><span></span></span></span></span></p>\n<div style=\"text-align: center\">\n<img border=\"0\" width=\"306\" src=\"http://gotoknow.org/file/traiyawong/05_31.jpg\" height=\"380\" style=\"width: 188px; height: 247px\" />\n</div>\n<p>  <o:p></o:p><span style=\"font-size: 16pt; line-height: 115%; font-family: \'Angsana New\',\'serif\'\"><span style=\"color: #008000\"><span> </span></span></span> </p>\n<p>\n<span style=\"font-size: 16pt; line-height: 115%; font-family: \'Angsana New\',\'serif\'\"><span style=\"color: #008000\"><span> </span><span lang=\"TH\">ลักษณะพระพุทธรูป   เป็นพระพุทธรูปอยู่ในพระอริยาบถประทับ (นั่ง) บนก้อนศิลา พระบาททั้งสองวางบนดอกบัว พระหัตถ์ซ้ายวางคว่ำบนพระชานุ (เข่า) พระหัตถ์ขวาวางหงาย นิยมสร้างช้างหมอบใช้งวงจับกระบอกน้ำ อีกด้านหนึ่งมีลิงถือรวงผึ้งถวาย</span></span></span>\n</p>\n<p><span style=\"font-size: 16pt; line-height: 115%; font-family: \'Angsana New\',\'serif\'\"><span style=\"color: #008000\"><span lang=\"TH\"></span><o:p></o:p></span></span><span style=\"color: #008000\"><span style=\"font-size: 16pt; line-height: 115%; font-family: \'Angsana New\',\'serif\'\" lang=\"TH\">ความเป็นมา</span><span style=\"font-size: 16pt; line-height: 115%; font-family: \'Angsana New\',\'serif\'\"><o:p></o:p></span></span><span style=\"color: #008000\"><span style=\"font-size: 16pt; line-height: 115%; font-family: \'Angsana New\',\'serif\'\" lang=\"TH\"><span>      </span>สำหรับปางนี้กล่าวถึงเมื่อพระพุทธองค์ประทับอยู่ที่เมืองโกสัมพี ครั้นนั้นพระภิกษุมีมากรูปด้วยกัน และไม่สามัคคีปรองดอง ไม่อยู่ในพุทธโอวาท ประพฤติตามใจตัว พระองค์จึงเสด็จจาริกไปอยู่ตามลำพังพระองค์เดียวในป่าที่ชื่อว่าปาลิไลยกะ โดยมีมีพญาช้างเชือกหนึ่งชื่อ &quot;ปาลิไลยกะ&quot; เช่นเดียวกัน มีความเลื่อมใสในพระพุทธองค์ มาคอยปฏิบัติบำรุงและคอยพิทักษ์รักษามิให้สัตว์ร้ายมากล้ำกราย ทำให้พระพุทธองค์เสด็จประทับอยู่ในป่านั้นด้วยความสงบสุข และป่านั้นต่อมาก็ได้ชื่อว่า &quot;รักขิตวัน&quot; ครั้นพญาลิงเห็นพญาช้างทำงานปรนนิบัติพระพุทธเจ้าด้วยความเคารพ ก็เกิดกุศลจิตทำตามอย่างบ้าง ต่อมาชาวบ้านไปเฝ้าพระพุทธเจ้าแต่ไม่พบ และทราบเหตุ ก็พากันตำหนิติเตียน และไม่ทำบุญกับพระเหล่านั้น พระภิกษุเหล่านี้จึงได้สำนึก ขอให้พระอานนท์ไปทูลเชิญเสด็จพระพุทธองค์กลับมา ช้างปาลิไลยกะก็มาส่งเสด็จด้วยความเศร้าเสียใจ จนหัวใจวายล้มตายไป ด้วยกุศลผลบุญจึงได้ไปเกิดเป็น &quot;ปาลิไลยกะเทพบุตร&quot; </span></span><span style=\"color: #008000\"><span style=\"font-size: 16pt; line-height: 115%; font-family: \'Angsana New\',\'serif\'\" lang=\"TH\"><span>   </span>จากเหตุการณ์นี้ ถือว่าเป็นเหตุการณ์อันน่าสลดใจเป็นอย่างยิ่ง ถึงพฤติกรรมของพระ </span><span style=\"font-size: 16pt; line-height: 115%; font-family: \'Angsana New\',\'serif\'\">2<span lang=\"TH\"> ฝ่ายในขณะนั้น ไม่เชื่อฟังแม้กระทั้งพระพุทธเจ้า พุทธศาสนิกชนจึงได้สร้างพระปางนี้ขึ้น เพื่อเป็นอนุสรณ์เตือนใจถึงการแตกสามัคคี การทะเลาะวิวาทกัน</span></span></span></p>\n', created = 1719993606, expire = 1720080006, headers = '', serialized = 0 WHERE cid = '3:e742d14694e8250770173e433f4ca455' in /home/tgv/htdocs/includes/cache.inc on line 112.

เรียนรู้พุทธประวัติจากพระพุทธรูปปางต่างๆ

พระประจำวันพุธ (กลางวัน) ได้แก่ ปางอุ้มบาตร 

    

 ลักษณะพระพุทธรูป  เป็นพระพุทธรูปอยู่ในพระอริยาบถยืน พระหัตถ์ทั้งสองประคองบาตรราวสะเอว

ความเป็นมา     เมื่อพระพุทธเจ้าได้สำแดงอิทธิปาฏิหารย์ เหาะขึ้นไปในอากาศต่อหน้าพระประยูรญาติทั้งหลาย เพื่อให้พระญาติผู้ใหญ่ได้เห็น และละทิฐิถวายบังคมแล้ว จึงได้ตรัสเทศนาเรื่องพระมหาเวสสันดรชาดก ครั้นแล้วพระญาติทั้งหลายก็แยกย้ายกันกลับโดยไม่มีใครทูลอาราธนาฉันพระกระยาหารเช้าในวันรุ่งขึ้น ด้วยเข้าใจผิดคิดว่าพระองค์เป็นราชโอรสและพระสงฆ์ก็เป็นศิษย์ คงต้องฉันภัตตาหารที่จัดเตรียมไว้ในพระราชนิเวศน์เอง แต่พระพุทธองค์กลับพาพระภิกษุสงฆ์สาวกเสด็จจาริกไปตามถนนหลวงในเมือง เพื่อโปรดเวไนยสัตว์ (ผู้ที่พึงสั่งสอนได้)อันเป็นกิจของสงฆ์ และนับเป็นครั้งแรกที่ชาวเมืองกบิลพัสดุ์ได้มีโอกาสชมพระพุทธจริยาวัตรขณะทรงอุ้มบาตรโปรดสัตว์ ประชาชนจึงต่างแซ่ซ้องอภิวาทอย่างสุดซึ้ง แต่ปรากฏว่าพระเจ้าสุทโธทนะ พุทธบิดาทรงทราบเข้า ก็เข้าใจผิดและโกรธพระพุทธองค์ หาว่าออกไปขอทานชาวบ้าน ไม่ฉันภัตตาหารที่เตรียมไว้ พระพุทธเจ้าจึงต้องทรงอธิบายว่า การออกบิณฑบาตรเป็นการไปโปรดสัตว์ มิใช่การขอทาน จึงเป็นที่เข้าใจกันในที่สุด         

          พระประจำวันพุธ (กลางคืน)ได้แก่ ปางป่าเลไลยก์

 (ผู้ที่เกิดระหว่างเวลา 18.00 น. ของวันพุธถึง 06.00 น.ของวันพฤหัสบดี หรือบางคนก็นับตั้งแต่ 18.00 – 24.00 น.ของวันพุธ (สุดแต่ความเชื่อ)

   

 ลักษณะพระพุทธรูป   เป็นพระพุทธรูปอยู่ในพระอริยาบถประทับ (นั่ง) บนก้อนศิลา พระบาททั้งสองวางบนดอกบัว พระหัตถ์ซ้ายวางคว่ำบนพระชานุ (เข่า) พระหัตถ์ขวาวางหงาย นิยมสร้างช้างหมอบใช้งวงจับกระบอกน้ำ อีกด้านหนึ่งมีลิงถือรวงผึ้งถวาย

ความเป็นมา      สำหรับปางนี้กล่าวถึงเมื่อพระพุทธองค์ประทับอยู่ที่เมืองโกสัมพี ครั้นนั้นพระภิกษุมีมากรูปด้วยกัน และไม่สามัคคีปรองดอง ไม่อยู่ในพุทธโอวาท ประพฤติตามใจตัว พระองค์จึงเสด็จจาริกไปอยู่ตามลำพังพระองค์เดียวในป่าที่ชื่อว่าปาลิไลยกะ โดยมีมีพญาช้างเชือกหนึ่งชื่อ "ปาลิไลยกะ" เช่นเดียวกัน มีความเลื่อมใสในพระพุทธองค์ มาคอยปฏิบัติบำรุงและคอยพิทักษ์รักษามิให้สัตว์ร้ายมากล้ำกราย ทำให้พระพุทธองค์เสด็จประทับอยู่ในป่านั้นด้วยความสงบสุข และป่านั้นต่อมาก็ได้ชื่อว่า "รักขิตวัน" ครั้นพญาลิงเห็นพญาช้างทำงานปรนนิบัติพระพุทธเจ้าด้วยความเคารพ ก็เกิดกุศลจิตทำตามอย่างบ้าง ต่อมาชาวบ้านไปเฝ้าพระพุทธเจ้าแต่ไม่พบ และทราบเหตุ ก็พากันตำหนิติเตียน และไม่ทำบุญกับพระเหล่านั้น พระภิกษุเหล่านี้จึงได้สำนึก ขอให้พระอานนท์ไปทูลเชิญเสด็จพระพุทธองค์กลับมา ช้างปาลิไลยกะก็มาส่งเสด็จด้วยความเศร้าเสียใจ จนหัวใจวายล้มตายไป ด้วยกุศลผลบุญจึงได้ไปเกิดเป็น "ปาลิไลยกะเทพบุตร"    จากเหตุการณ์นี้ ถือว่าเป็นเหตุการณ์อันน่าสลดใจเป็นอย่างยิ่ง ถึงพฤติกรรมของพระ 2 ฝ่ายในขณะนั้น ไม่เชื่อฟังแม้กระทั้งพระพุทธเจ้า พุทธศาสนิกชนจึงได้สร้างพระปางนี้ขึ้น เพื่อเป็นอนุสรณ์เตือนใจถึงการแตกสามัคคี การทะเลาะวิวาทกัน

สร้างโดย: 
ครูเมธินี น้อยวงศ์

มหาวิทยาลัยศรีปทุม ผู้ใหญ่ใจดี
 

 ช่วยด้วยครับ
นักเรียนที่สร้างบล็อก กรุณาอย่า
คัดลอกข้อมูลจากเว็บอื่นทั้งหมด
ควรนำมาจากหลายๆ เว็บ แล้ววิเคราะห์ สังเคราะห์ และเขียนขึ้นใหม่
หากคัดลอกทั้งหมด จะถูกดำเนินคดี
ตามกฎหมายจากเจ้าของลิขสิทธิ์
มีโทษทั้งจำคุกและปรับในอัตราสูง

ช่วยกันนะครับ 
ไทยกู๊ดวิวจะได้อยู่นานๆ 
ไม่ถูกปิดเสียก่อน

ขอขอบคุณในความร่วมมือครับ

อ่านรายละเอียด

ด่วน...... ขณะนี้
พระราชบัญญัติลิขสิทธิ์ (ฉบับที่ 2) พ.ศ. 2558 
มีผลบังคับใช้แล้ว 
ขอให้นักเรียนและคุณครูที่ใช้งาน
เว็บ thaigoodview ในการส่งการบ้าน
ระมัดระวังการละเมิดลิขสิทธิ์ด้วย
อ่านรายละเอียดที่นี่ครับ

 

สมาชิกที่ออนไลน์

ขณะนี้มี สมาชิก 0 คน และ ผู้เยี่ยมชม 441 คน กำลังออนไลน์