• user warning: Table 'cache_filter' is marked as crashed and should be repaired query: SELECT data, created, headers, expire, serialized FROM cache_filter WHERE cid = '3:c17c6a1a783c5dd2b29efee9f5385960' in /home/tgv/htdocs/includes/cache.inc on line 27.
  • user warning: Table 'cache_filter' is marked as crashed and should be repaired query: UPDATE cache_filter SET data = '<!--paging_filter--><p><strong>ชื่อเรื่อง</strong>&nbsp;&nbsp;&nbsp;&nbsp;&nbsp;&nbsp;&nbsp;&nbsp;&nbsp; การพัฒนาการจัดการเรียนรู้แบบ Active Learning ของครูผู้สอนคณิตศาสตร์ โดยใช้การนิเทศแบบร่วมพัฒนาเพื่อส่งเสริม&nbsp; &nbsp; &nbsp; &nbsp; &nbsp; &nbsp; &nbsp; &nbsp; &nbsp; &nbsp; &nbsp; &nbsp; &nbsp; &nbsp; &nbsp;ทักษะการแก้โจทย์ปัญหาทางคณิตศาสตร์ ของนักเรียนชั้นประถมศึกษาปีที่ 6 สำนักงานเขตพื้นที่การศึกษาประถมศึกษา&nbsp; &nbsp; &nbsp; &nbsp; &nbsp; &nbsp; &nbsp; &nbsp; &nbsp; &nbsp; &nbsp; &nbsp; &nbsp; &nbsp; &nbsp;นราธิวาส เขต 2</p>\n<p><strong>ผู้วิจัย&nbsp;&nbsp; &nbsp;&nbsp;&nbsp;&nbsp;&nbsp;&nbsp;&nbsp;&nbsp;&nbsp; </strong>อำไพพร&nbsp; นาคแก้ว</p>\n<p><strong>ปีการศึกษา&nbsp;&nbsp;&nbsp;&nbsp;&nbsp; </strong>2564</p>\n<p align=\"center\"><strong>บทคัดย่อ</strong>&nbsp;</p>\n<p>&nbsp;&nbsp;&nbsp;&nbsp;&nbsp;&nbsp;&nbsp;&nbsp;&nbsp; การวิจัยครั้งนี้มีวัตถุประสงค์ คือ 1) เพื่อพัฒนาคู่มือการจัดการเรียนรู้แบบ Active Learning ของครูผู้สอนคณิตศาสตร์โดยใช้การนิเทศแบบร่วมพัฒนาเพื่อส่งเสริมทักษะการแก้โจทย์ปัญหาทางคณิตศาสตร์ของนักเรียนชั้นประถมศึกษาปีที่ 6 2) เพื่อศึกษาผลการจัดการเรียนรู้แบบ Active Learning ของครูผู้สอนคณิตศาสตร์โดยใช้การนิเทศแบบร่วมพัฒนาเพื่อส่งเสริมทักษะการแก้โจทย์ปัญหาทางคณิตศาสตร์ของนักเรียนชั้นประถมศึกษาปีที่ 6 และ 3) เพื่อศึกษาความพึงพอใจของครูผู้สอนคณิตศาสตร์ชั้นประถมศึกษาปีที่ 6 ที่มีต่อการนิเทศแบบร่วมพัฒนาเพื่อส่งเสริมทักษะการแก้โจทย์ปัญหาทางคณิตศาสตร์ของนักเรียนชั้นประถมศึกษาปีที่ 6 กลุ่มตัวอย่างที่ใช้ในการวิจัยครั้งนี้ ได้แก่ ผู้บริหารโรงเรียน จำนวน 20 คน ศึกษานิเทศก์ จำนวน 8 คน ครูผู้สอนคณิตศาสตร์ ชั้นประถมศึกษาปีที่ 6 จำนวน 30 คน และนักเรียนชั้นประถมศึกษาปีที่ 6 จำนวน 286 คน เครื่องมือที่ใช้การวิจัยครั้งนี้ มีจำนวน 6 ฉบับ สถิติที่ใช้ในการวิเคราะห์ข้อมูล ได้แก่ ค่าร้อยละ ค่าเฉลี่ย ค่าส่วนเบี่ยงเบนมาตรฐานและวิเคราะห์ความแตกต่างของคะแนนโดยใช้ t-test (Dependent Samples)</p>\n<p>&nbsp;&nbsp;&nbsp;&nbsp;&nbsp;&nbsp;&nbsp;&nbsp;&nbsp; ผลการวิจัยพบว่า</p>\n<p>&nbsp;&nbsp;&nbsp;&nbsp;&nbsp;&nbsp;&nbsp;&nbsp;&nbsp; 1. คู่มือการจัดการเรียนรู้แบบ Active Learning ของครูผู้สอนคณิตศาสตร์โดยใช้การนิเทศแบบร่วมพัฒนาเพื่อส่งเสริมทักษะการแก้โจทย์ปัญหาทางคณิตศาสตร์ของนักเรียนชั้นประถมศึกษาปีที่ 6 มีความเหมาะสม ความเป็นไปได้และการใช้ประโยชน์ อยู่ในระดับมาก</p>\n<p>&nbsp;&nbsp;&nbsp;&nbsp;&nbsp;&nbsp;&nbsp;&nbsp;&nbsp; 2. ผลการจัดการเรียนรู้แบบ Active Learning ของครูผู้สอนคณิตศาสตร์โดยใช้การนิเทศแบบร่วมพัฒนาเพื่อส่งเสริมทักษะการแก้โจทย์ปัญหาทางคณิตศาสตร์ของนักเรียนชั้นประถมศึกษาปีที่ 6 2.1) ความรู้ ความเข้าใจเกี่ยวกับการจัดการเรียนรู้แบบ Active Learning ของครูผู้สอนคณิตศาสตร์หลังการนิเทศสูงกว่าก่อนการนิเทศ แตกต่างกันอย่างมีนัยสำคัญทางสถิติที่ระดับ .05 2.2) ความสามารถในการจัดทำแผนการจัดการเรียนรู้และความสามารถในการจัดการเรียนรู้ของครูคณิตศาสตร์หลังการนิเทศสูงกว่าก่อนนิเทศ และ 2.3) ความสามารถในการแก้โจทย์ปัญหาทางคณิตศาสตร์ของนักเรียนชั้นประถม ศึกษาปีที่ 6 หลังจากที่ครูผู้สอนคณิตศาสตร์ได้รับการนิเทศแบบร่วมพัฒนา สูงกว่าก่อนที่ครูผู้สอนคณิตศาสตร์ได้รับการนิเทศแบบร่วมพัฒนา แตกต่างกันอย่างมีนัยสำคัญทางสถิติที่ระดับ .05</p>\n<p>&nbsp;&nbsp;&nbsp;&nbsp;&nbsp;&nbsp;&nbsp;&nbsp;&nbsp; 3. ความพึงพอใจของครูผู้สอนคณิตศาสตร์ชั้นประถมศึกษาปีที่ 6 ที่มีต่อการนิเทศแบบร่วมพัฒนาเพื่อส่งเสริมทักษะการแก้โจทย์ปัญหาทางคณิตศาสตร์ของนักเรียนชั้นประถมศึกษาปีที่ 6 อยู่ในระดับพึงพอใจมาก</p>\n', created = 1714566593, expire = 1714652993, headers = '', serialized = 0 WHERE cid = '3:c17c6a1a783c5dd2b29efee9f5385960' in /home/tgv/htdocs/includes/cache.inc on line 112.

การพัฒนาการจัดการเรียนรู้แบบ Active Learning ของครูผู้สอนคณิตศาสตร์ โดยใช้การนิเทศแบบร่วมพัฒนา

ชื่อเรื่อง          การพัฒนาการจัดการเรียนรู้แบบ Active Learning ของครูผู้สอนคณิตศาสตร์ โดยใช้การนิเทศแบบร่วมพัฒนาเพื่อส่งเสริม                             ทักษะการแก้โจทย์ปัญหาทางคณิตศาสตร์ ของนักเรียนชั้นประถมศึกษาปีที่ 6 สำนักงานเขตพื้นที่การศึกษาประถมศึกษา                             นราธิวาส เขต 2

ผู้วิจัย             อำไพพร  นาคแก้ว

ปีการศึกษา      2564

บทคัดย่อ 

          การวิจัยครั้งนี้มีวัตถุประสงค์ คือ 1) เพื่อพัฒนาคู่มือการจัดการเรียนรู้แบบ Active Learning ของครูผู้สอนคณิตศาสตร์โดยใช้การนิเทศแบบร่วมพัฒนาเพื่อส่งเสริมทักษะการแก้โจทย์ปัญหาทางคณิตศาสตร์ของนักเรียนชั้นประถมศึกษาปีที่ 6 2) เพื่อศึกษาผลการจัดการเรียนรู้แบบ Active Learning ของครูผู้สอนคณิตศาสตร์โดยใช้การนิเทศแบบร่วมพัฒนาเพื่อส่งเสริมทักษะการแก้โจทย์ปัญหาทางคณิตศาสตร์ของนักเรียนชั้นประถมศึกษาปีที่ 6 และ 3) เพื่อศึกษาความพึงพอใจของครูผู้สอนคณิตศาสตร์ชั้นประถมศึกษาปีที่ 6 ที่มีต่อการนิเทศแบบร่วมพัฒนาเพื่อส่งเสริมทักษะการแก้โจทย์ปัญหาทางคณิตศาสตร์ของนักเรียนชั้นประถมศึกษาปีที่ 6 กลุ่มตัวอย่างที่ใช้ในการวิจัยครั้งนี้ ได้แก่ ผู้บริหารโรงเรียน จำนวน 20 คน ศึกษานิเทศก์ จำนวน 8 คน ครูผู้สอนคณิตศาสตร์ ชั้นประถมศึกษาปีที่ 6 จำนวน 30 คน และนักเรียนชั้นประถมศึกษาปีที่ 6 จำนวน 286 คน เครื่องมือที่ใช้การวิจัยครั้งนี้ มีจำนวน 6 ฉบับ สถิติที่ใช้ในการวิเคราะห์ข้อมูล ได้แก่ ค่าร้อยละ ค่าเฉลี่ย ค่าส่วนเบี่ยงเบนมาตรฐานและวิเคราะห์ความแตกต่างของคะแนนโดยใช้ t-test (Dependent Samples)

          ผลการวิจัยพบว่า

          1. คู่มือการจัดการเรียนรู้แบบ Active Learning ของครูผู้สอนคณิตศาสตร์โดยใช้การนิเทศแบบร่วมพัฒนาเพื่อส่งเสริมทักษะการแก้โจทย์ปัญหาทางคณิตศาสตร์ของนักเรียนชั้นประถมศึกษาปีที่ 6 มีความเหมาะสม ความเป็นไปได้และการใช้ประโยชน์ อยู่ในระดับมาก

          2. ผลการจัดการเรียนรู้แบบ Active Learning ของครูผู้สอนคณิตศาสตร์โดยใช้การนิเทศแบบร่วมพัฒนาเพื่อส่งเสริมทักษะการแก้โจทย์ปัญหาทางคณิตศาสตร์ของนักเรียนชั้นประถมศึกษาปีที่ 6 2.1) ความรู้ ความเข้าใจเกี่ยวกับการจัดการเรียนรู้แบบ Active Learning ของครูผู้สอนคณิตศาสตร์หลังการนิเทศสูงกว่าก่อนการนิเทศ แตกต่างกันอย่างมีนัยสำคัญทางสถิติที่ระดับ .05 2.2) ความสามารถในการจัดทำแผนการจัดการเรียนรู้และความสามารถในการจัดการเรียนรู้ของครูคณิตศาสตร์หลังการนิเทศสูงกว่าก่อนนิเทศ และ 2.3) ความสามารถในการแก้โจทย์ปัญหาทางคณิตศาสตร์ของนักเรียนชั้นประถม ศึกษาปีที่ 6 หลังจากที่ครูผู้สอนคณิตศาสตร์ได้รับการนิเทศแบบร่วมพัฒนา สูงกว่าก่อนที่ครูผู้สอนคณิตศาสตร์ได้รับการนิเทศแบบร่วมพัฒนา แตกต่างกันอย่างมีนัยสำคัญทางสถิติที่ระดับ .05

          3. ความพึงพอใจของครูผู้สอนคณิตศาสตร์ชั้นประถมศึกษาปีที่ 6 ที่มีต่อการนิเทศแบบร่วมพัฒนาเพื่อส่งเสริมทักษะการแก้โจทย์ปัญหาทางคณิตศาสตร์ของนักเรียนชั้นประถมศึกษาปีที่ 6 อยู่ในระดับพึงพอใจมาก

มหาวิทยาลัยศรีปทุม ผู้ใหญ่ใจดี
 

 ช่วยด้วยครับ
นักเรียนที่สร้างบล็อก กรุณาอย่า
คัดลอกข้อมูลจากเว็บอื่นทั้งหมด
ควรนำมาจากหลายๆ เว็บ แล้ววิเคราะห์ สังเคราะห์ และเขียนขึ้นใหม่
หากคัดลอกทั้งหมด จะถูกดำเนินคดี
ตามกฎหมายจากเจ้าของลิขสิทธิ์
มีโทษทั้งจำคุกและปรับในอัตราสูง

ช่วยกันนะครับ 
ไทยกู๊ดวิวจะได้อยู่นานๆ 
ไม่ถูกปิดเสียก่อน

ขอขอบคุณในความร่วมมือครับ

อ่านรายละเอียด

ด่วน...... ขณะนี้
พระราชบัญญัติลิขสิทธิ์ (ฉบับที่ 2) พ.ศ. 2558 
มีผลบังคับใช้แล้ว 
ขอให้นักเรียนและคุณครูที่ใช้งาน
เว็บ thaigoodview ในการส่งการบ้าน
ระมัดระวังการละเมิดลิขสิทธิ์ด้วย
อ่านรายละเอียดที่นี่ครับ

 

สมาชิกที่ออนไลน์

ขณะนี้มี สมาชิก 0 คน และ ผู้เยี่ยมชม 471 คน กำลังออนไลน์