• user warning: Table 'cache_filter' is marked as crashed and should be repaired query: SELECT data, created, headers, expire, serialized FROM cache_filter WHERE cid = '3:fcbccfe806a9176dbc6560f1d6974711' in /home/tgv/htdocs/includes/cache.inc on line 27.
  • user warning: Table 'cache_filter' is marked as crashed and should be repaired query: UPDATE cache_filter SET data = '<!--paging_filter--><p><strong>ชื่อเรื่อง </strong>&nbsp;&nbsp;&nbsp;&nbsp;&nbsp;&nbsp;&nbsp;&nbsp;&nbsp; การพัฒนารูปแบบการจัดกิจกรรมการเรียนรู้ วิชาการงานอาชีพ</p>\n<p>เรื่อง การสานวัสดุท้องถิ่นเพื่อส่งเสริมทักษะอาชีพ</p>\n<p>สำหรับนักเรียนชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 2</p>\n<p><strong>ผู้วิจัย&nbsp;&nbsp; </strong>&nbsp;&nbsp;&nbsp;&nbsp;&nbsp;&nbsp;&nbsp;&nbsp;&nbsp; นายพรอยันย์&nbsp; สะหะดี&nbsp; ตำแหน่ง ครู วิทยฐานะ ครูชำนาญการพิเศษ</p>\n<p>โรงเรียนเทศบาล ๒ (บ้านบาเละฮิเล) สำนักการศึกษา เทศบาลเมืองนราธิวาส</p>\n<p>อำเภอเมือง จังหวัดนราธิวาส</p>\n<p><strong>ปีที่วิจัย</strong>&nbsp;&nbsp;&nbsp;&nbsp;&nbsp;&nbsp;&nbsp;&nbsp;&nbsp;&nbsp; พ.ศ. 2562</p>\n<p>&nbsp;</p>\n<p align=\"center\"><strong>บทคัดย่อ</strong></p>\n<p align=\"center\"><strong>&nbsp;</strong></p>\n<p>&nbsp;&nbsp;&nbsp;&nbsp; การวิจัยครั้งนี้ เป็นการวิจัยเพื่อพัฒนารูปแบบการจัดกิจกรรมการเรียนรู้ วิชาการงานอาชีพ เรื่อง การสานวัสดุท้องถิ่นเพื่อส่งเสริมทักษะอาชีพ สำหรับนักเรียนชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 2 สรุปสาระที่ได้จากการวิจัย โดยมีวัตถุประสงค์ 4 ประการ (1) เพื่อศึกษาข้อมูลพื้นฐานในการพัฒนารูปแบบการจัดกิจกรรมการเรียนรู้ วิชาการงานอาชีพ เรื่อง การสานวัสดุท้องถิ่นเพื่อส่งเสริมทักษะอาชีพ สำหรับนักเรียนชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 2 (2) เพื่อพัฒนารูปแบบการจัดกิจกรรมการเรียนรู้ วิชาการงานอาชีพ เรื่อง การสานวัสดุท้องถิ่นเพื่อส่งเสริมทักษะอาชีพ สำหรับนักเรียนชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 2 &nbsp;(3) เพื่อทดลองใช้รูปแบบการจัดกิจกรรมการเรียนรู้ วิชาการงานอาชีพ เรื่อง การสานวัสดุท้องถิ่น เพื่อส่งเสริมทักษะอาชีพ สำหรับนักเรียนชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 2 (4) เพื่อประเมินผลและปรับปรุงรูปแบบการจัดกิจกรรมการเรียนรู้ กลุ่มสาระการเรียนรู้การงานอาชีพ เรื่อง การสานวัสดุท้องถิ่น&nbsp;&nbsp; เพื่อส่งเสริมทักษะอาชีพ สำหรับนักเรียนชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 2 เกี่ยวกับทักษะด้านอาชีพ รวมทั้งผลสัมฤทธิ์ทางการเรียนของผู้เรียนในรายวิชาการงานอาชีพ เรื่อง การสานจากวัสดุท้องถิ่น 4.1) เปรียบเทียบผลสัมฤทธิ์ทางการเรียน เรื่อง การสานจากวัสดุท้องถิ่น ก่อนและหลังการเรียนด้วยรูปแบบการจัดกิจกรรมการเรียนรู้ วิชาการงานอาชีพ เรื่อง การสานวัสดุท้องถิ่นเพื่อส่งเสริมทักษะอาชีพสำหรับนักเรียนชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 2 4.2) เปรียบเทียบทักษะอาชีพก่อนและหลังการเรียนด้วยรูปแบบการจัดกิจกรรมการเรียนรู้ วิชาการงานอาชีพ เรื่อง การสานวัสดุท้องถิ่นเพื่อส่งเสริมทักษะอาชีพ สำหรับนักเรียนชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 2 และ 4.3) ศึกษาความพึงพอใจ ของนักเรียนที่มีต่อการเรียนรู้โดยรูปแบบการจัดกิจกรรมการเรียนรู้ วิชาการงานอาชีพ เรื่อง การสานวัสดุท้องถิ่นเพื่อส่งเสริมทักษะอาชีพ สำหรับนักเรียนชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 2 โดยมีขั้นตอนดังนี้ ขั้นตอนที่&nbsp; 1 การวิจัย&nbsp; (Research: R<sub>1</sub>) เพื่อศึกษาและวิเคราะห์ข้อมูลพื้นฐาน ขั้นตอนที่ 2 การพัฒนา&nbsp; (Development: D<sub>1</sub>)&nbsp; เพื่อพัฒนารูปแบบการจัดกิจกรรมการเรียนรู้ วิชาการงานอาชีพ เรื่อง การสานวัสดุท้องถิ่นเพื่อส่งเสริมทักษะอาชีพ สำหรับนักเรียนชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 2 ขั้นตอนที่ 3 การวิจัย (Research: R<sub>2</sub>) เพื่อทดลองใช้รูปแบบการจัดกิจกรรมการเรียนรู้ วิชาการงานอาชีพ เรื่อง การสานวัสดุท้องถิ่นเพื่อส่งเสริมทักษะอาชีพ สำหรับนักเรียนชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 2 (Implement: l) และขั้นตอนที่&nbsp; 4&nbsp; การพัฒนา (Development: D<sub>2</sub>) เพื่อประเมินประสิทธิผลของรูปแบบการจัดกิจกรรมการเรียนรู้ วิชาการงานอาชีพ เรื่อง การสานวัสดุท้องถิ่นเพื่อส่งเสริมทักษะอาชีพ สำหรับนักเรียนชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 2 (Evaluation: E)&nbsp; สถิติที่ใช้ในการวิเคราะห์ข้อมูลประกอบไปด้วย ค่าเฉลี่ย ค่าร้อยละ ค่าสวนเบี่ยงเบนมาตรฐาน และสถิติทดสอบ &nbsp;t – test (Independent&nbsp; Sample&nbsp; t – test)&nbsp;</p>\n<p>ผลการวิจัยเรื่อง การพัฒนารูปแบบการจัดกิจกรรมการเรียนรู้ วิชาการงานอาชีพ เรื่อง การสานวัสดุท้องถิ่นเพื่อส่งเสริมทักษะอาชีพ สำหรับนักเรียนชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 2&nbsp;มีรายละเอียดดังต่อไปนี้</p>\n<p class=\"Style9\">1.&nbsp; ผลการวิเคราะห์ข้อมูลพื้นฐานได้การพัฒนารูปแบบการจัดกิจกรรมการเรียนรู้ วิชาการงานอาชีพ เรื่อง การสานวัสดุท้องถิ่นเพื่อส่งเสริมทักษะอาชีพ สำหรับนักเรียนชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 2 ประกอบด้วย 5 ขั้นตอน ดังนี้&nbsp;</p>\n<p><strong>ขั้นที่</strong><strong> 1 ขั้นนำ</strong> เป็นขั้นการเตรียมตัวให้พร้อม สร้างบรรยากาศให้นักเรียนสนใจในการทำกิจกรรม เป็นกิจกรรมที่ใช้เชื่อมโยงกับเนื้อหาสาระที่จะเรียนโดยการสนทนาโต้ตอบ ซักถาม และแสดงความคิดเห็น&nbsp;</p>\n<p><strong>ขั้นที่ </strong><strong>2 ทบทวนความรู</strong><strong>้</strong><strong>เดิม </strong>เป็นขั้นทบทวนเนื้อหาสาระเรื่องที่จะเรียนรู้ โดยใช้คำถามกระตุ้นให้นักเรียนแสดงความคิดเห็น จากประสบการณ์เดิมเชื่อมโยงกับประสบการณ์ใหม่</p>\n<p><strong>ขั้นที่ </strong><strong>3 ปรับเปลี่ยนความคิด มี 3 กิจกรรม</strong><strong>1) ทำความกระจ</strong><strong>่</strong><strong>างแลกเปลี่ยนเรียนรู้ </strong>เป็นขั้นที่ครูแนะนำวิทยากรภูมิปัญญาท้องถิ่น ให้นักเรียนทราบ วิทยากรภูมิปัญญาท้องถิ่นเล่าเกี่ยวกับประวัติความเป็นมาของการสอนแต่ละชนิดที่มีในชุมชนและสร้างอาชีพ<strong>2) การสร</strong><strong>้</strong><strong>างความคิดใหม่ </strong>&nbsp;เป็นขั้น&nbsp; ที่ครูนำเสนอเนื้อหาสาระใหม่ที่ต้องการกระตุ้นให้นักเรียนสนใจ เกิดขึ้น&nbsp; เป็นการกระตุ้นเร้าให้นักเรียนคิดหาวิธีทำ คำตอบตามเรื่องที่สอนสืบค้นด้วยสื่อที่เป็นของจริง การศึกษาดูงานแหล่งเรียนรู้ ภาพ เพื่อร่วมกันค้นหาคำตอบของกลุ่มจากการพูดคุยกับภูมิปัญญา&nbsp; แลกเปลี่ยน&nbsp;ความคิดเห็น พิจารณา ข้อมูล ที่ได้รับโดยใช้ประสาทสัมผัสในการสำรวจ สังเกต หรือทดลองและสรุปข้อมูล ซึ่งครูจะเข้าไปช่วยเหลือแนะนำเมื่อนักเรียนเกิดปัญหาหรือต้องการความช่วยเหลือ <strong>3) ประเมินความคิดใหม่</strong>&nbsp; เป็นขั้นที่นักเรียนนำเสนอผลสัมฤทธิ์ทางการเรียน จากสิ่งที่ค้นพบโดยการออกมาเล่าหน้าชั้นเรียนจัดแสดงผลงานของกลุ่มบนป้ายนิเทศหรือ มุมแสดงผลงาน แลกเปลี่ยน เรียนรู้กับเพื่อนกลุ่มอื่น</p>\n<p class=\"Style61\"><strong>ขั้นที่</strong> 4 <strong>ขั้น</strong><strong>นำความคิดไปใช้</strong> เป็นขั้นที่ครูเปิดโอกาสให้นักเรียนซักถามความรู้เกี่ยวกับการทำการสานจากวัสดุท้องถิ่น หรือปัญหาที่นักเรียนพบและต้องการแก้ไขเพื่อนำไปใช้ในคราวต่อไป</p>\n<p><strong>ขั้นที่ </strong><strong>5 ทบทวน </strong>เป็นขั้นที่ครูให้นักเรียนทำแบบทดสอบย่อย จากเรื่องการสานจากวัสดุท้องถิ่นที่นักเรียนได้ลงมือทำ</p>\n<p>2.&nbsp; การพัฒนารูปแบบการจัดกิจกรรมการเรียนรู้ วิชาการงานอาชีพ เรื่อง การสานวัสดุท้องถิ่นเพื่อส่งเสริมทักษะอาชีพ สำหรับนักเรียนชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 2&nbsp; ตามความคิดเห็นของผู้เชี่ยวชาญมีความเหมาะสมอยู่ในระดับมากถึงมากที่สุด&nbsp; (มีค่าเฉลี่ยตั้งแต่ 4.00 - 4.80)&nbsp; และความคิดเห็นของครูผู้สอนในวิชาการงานอาชีพ&nbsp;ต่อการพัฒนารูปแบบการจัดกิจกรรมการเรียนรู้ วิชาการงานอาชีพ เรื่อง การสานวัสดุท้องถิ่นเพื่อส่งเสริมทักษะอาชีพ สำหรับนักเรียนชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 2 มีผลประเมินโดยรวม&nbsp; มีความเหมาะสมอยู่ในระดับมาก&nbsp; ( = 2.70,&nbsp; S.D. = 0.47)&nbsp;</p>\n<p>3.&nbsp; ผลการศึกษาการพัฒนารูปแบบการจัดกิจกรรมการเรียนรู้ วิชาการงานอาชีพ เรื่อง &nbsp;การสานวัสดุท้องถิ่นเพื่อส่งเสริมทักษะอาชีพ สำหรับนักเรียนชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 2&nbsp; มีทักษะอาชีพและผลสัมฤทธิ์ทางการเรียนเพิ่มขึ้นหลังจากได้รับการจัดกิจกรรมการเรียนรู้ตามการพัฒนารูปแบบการจัดกิจกรรมการเรียนรู้ วิชาการงานอาชีพ เรื่อง การสานวัสดุท้องถิ่นเพื่อส่งเสริมทักษะอาชีพ สำหรับนักเรียนชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 2 อย่างมีนัยสำคัญทางสถิติที่ระดับ .05&nbsp; แสดงว่าการจัดกิจกรรมการเรียนรู้ตามการพัฒนารูปแบบการจัดกิจกรรมการเรียนรู้ วิชาการงานอาชีพ เรื่อง การสานวัสดุท้องถิ่นเพื่อส่งเสริมทักษะอาชีพ สำหรับนักเรียนชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 2&nbsp; ทำให้นักเรียนมีทักษะอาชีพและผลสัมฤทธิ์ทางการเรียนเพิ่มขึ้น</p>\n<p>4.&nbsp; ผลการประเมินประสิทธิผลการใช้การพัฒนารูปแบบการจัดกิจกรรมการเรียนรู้ วิชา การงานอาชีพ เรื่อง การสานวัสดุท้องถิ่นเพื่อส่งเสริมทักษะอาชีพ สำหรับนักเรียนชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 2&nbsp; โดยมีวัตถุประสงค์ย่อยดังนี้</p>\n<p>&nbsp;&nbsp;&nbsp;&nbsp;&nbsp; 1)&nbsp; นักเรียนชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 2 มีทักษะอาชีพหลังใช้การพัฒนารูปแบบการจัดกิจกรรมการเรียนรู้ วิชาการงานอาชีพ เรื่อง การสานวัสดุท้องถิ่นเพื่อส่งเสริมทักษะอาชีพ สำหรับนักเรียนชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 2&nbsp; สูงกว่าก่อนเรียนอย่างมีนัยสำคัญทางสถิติที่ระดับ&nbsp; .05</p>\n<p>&nbsp;&nbsp;&nbsp;&nbsp;&nbsp; 2)&nbsp; นักเรียนชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 2 มีผลสัมฤทธิ์ทางการเรียนหลังใช้การพัฒนารูปแบบการจัดกิจกรรมการเรียนรู้ วิชาการงานอาชีพ เรื่อง การสานวัสดุท้องถิ่นเพื่อส่งเสริมทักษะอาชีพ สำหรับนักเรียนชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 2&nbsp; สูงกว่าก่อนเรียนอย่างมีนัยสำคัญทางสถิติที่ระดับ&nbsp; .05</p>\n<p>&nbsp; &nbsp; &nbsp; 3)&nbsp; นักเรียนชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 2 มีความพึงพอใจต่อการเรียนรู้ด้วยการพัฒนารูปแบบการจัดกิจกรรมการเรียนรู้ วิชาการงานอาชีพ เรื่อง การสานวัสดุท้องถิ่นเพื่อส่งเสริมทักษะอาชีพ สำหรับนักเรียนชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 2 ในภาพรวมอยู่ในระดับมากที่สุด</p>\n', created = 1716321117, expire = 1716407517, headers = '', serialized = 0 WHERE cid = '3:fcbccfe806a9176dbc6560f1d6974711' in /home/tgv/htdocs/includes/cache.inc on line 112.

การพัฒนารูปแบบการจัดกิจกรรมการเรียนรู้ วิชาการงานอาชีพ เรื่อง การสานวัสดุท้องถิ่นเพื่อส่งเสริมทักษะอาชีพ

ชื่อเรื่อง           การพัฒนารูปแบบการจัดกิจกรรมการเรียนรู้ วิชาการงานอาชีพ

เรื่อง การสานวัสดุท้องถิ่นเพื่อส่งเสริมทักษะอาชีพ

สำหรับนักเรียนชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 2

ผู้วิจัย             นายพรอยันย์  สะหะดี  ตำแหน่ง ครู วิทยฐานะ ครูชำนาญการพิเศษ

โรงเรียนเทศบาล ๒ (บ้านบาเละฮิเล) สำนักการศึกษา เทศบาลเมืองนราธิวาส

อำเภอเมือง จังหวัดนราธิวาส

ปีที่วิจัย           พ.ศ. 2562

 

บทคัดย่อ

 

     การวิจัยครั้งนี้ เป็นการวิจัยเพื่อพัฒนารูปแบบการจัดกิจกรรมการเรียนรู้ วิชาการงานอาชีพ เรื่อง การสานวัสดุท้องถิ่นเพื่อส่งเสริมทักษะอาชีพ สำหรับนักเรียนชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 2 สรุปสาระที่ได้จากการวิจัย โดยมีวัตถุประสงค์ 4 ประการ (1) เพื่อศึกษาข้อมูลพื้นฐานในการพัฒนารูปแบบการจัดกิจกรรมการเรียนรู้ วิชาการงานอาชีพ เรื่อง การสานวัสดุท้องถิ่นเพื่อส่งเสริมทักษะอาชีพ สำหรับนักเรียนชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 2 (2) เพื่อพัฒนารูปแบบการจัดกิจกรรมการเรียนรู้ วิชาการงานอาชีพ เรื่อง การสานวัสดุท้องถิ่นเพื่อส่งเสริมทักษะอาชีพ สำหรับนักเรียนชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 2  (3) เพื่อทดลองใช้รูปแบบการจัดกิจกรรมการเรียนรู้ วิชาการงานอาชีพ เรื่อง การสานวัสดุท้องถิ่น เพื่อส่งเสริมทักษะอาชีพ สำหรับนักเรียนชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 2 (4) เพื่อประเมินผลและปรับปรุงรูปแบบการจัดกิจกรรมการเรียนรู้ กลุ่มสาระการเรียนรู้การงานอาชีพ เรื่อง การสานวัสดุท้องถิ่น   เพื่อส่งเสริมทักษะอาชีพ สำหรับนักเรียนชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 2 เกี่ยวกับทักษะด้านอาชีพ รวมทั้งผลสัมฤทธิ์ทางการเรียนของผู้เรียนในรายวิชาการงานอาชีพ เรื่อง การสานจากวัสดุท้องถิ่น 4.1) เปรียบเทียบผลสัมฤทธิ์ทางการเรียน เรื่อง การสานจากวัสดุท้องถิ่น ก่อนและหลังการเรียนด้วยรูปแบบการจัดกิจกรรมการเรียนรู้ วิชาการงานอาชีพ เรื่อง การสานวัสดุท้องถิ่นเพื่อส่งเสริมทักษะอาชีพสำหรับนักเรียนชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 2 4.2) เปรียบเทียบทักษะอาชีพก่อนและหลังการเรียนด้วยรูปแบบการจัดกิจกรรมการเรียนรู้ วิชาการงานอาชีพ เรื่อง การสานวัสดุท้องถิ่นเพื่อส่งเสริมทักษะอาชีพ สำหรับนักเรียนชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 2 และ 4.3) ศึกษาความพึงพอใจ ของนักเรียนที่มีต่อการเรียนรู้โดยรูปแบบการจัดกิจกรรมการเรียนรู้ วิชาการงานอาชีพ เรื่อง การสานวัสดุท้องถิ่นเพื่อส่งเสริมทักษะอาชีพ สำหรับนักเรียนชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 2 โดยมีขั้นตอนดังนี้ ขั้นตอนที่  1 การวิจัย  (Research: R1) เพื่อศึกษาและวิเคราะห์ข้อมูลพื้นฐาน ขั้นตอนที่ 2 การพัฒนา  (Development: D1)  เพื่อพัฒนารูปแบบการจัดกิจกรรมการเรียนรู้ วิชาการงานอาชีพ เรื่อง การสานวัสดุท้องถิ่นเพื่อส่งเสริมทักษะอาชีพ สำหรับนักเรียนชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 2 ขั้นตอนที่ 3 การวิจัย (Research: R2) เพื่อทดลองใช้รูปแบบการจัดกิจกรรมการเรียนรู้ วิชาการงานอาชีพ เรื่อง การสานวัสดุท้องถิ่นเพื่อส่งเสริมทักษะอาชีพ สำหรับนักเรียนชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 2 (Implement: l) และขั้นตอนที่  4  การพัฒนา (Development: D2) เพื่อประเมินประสิทธิผลของรูปแบบการจัดกิจกรรมการเรียนรู้ วิชาการงานอาชีพ เรื่อง การสานวัสดุท้องถิ่นเพื่อส่งเสริมทักษะอาชีพ สำหรับนักเรียนชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 2 (Evaluation: E)  สถิติที่ใช้ในการวิเคราะห์ข้อมูลประกอบไปด้วย ค่าเฉลี่ย ค่าร้อยละ ค่าสวนเบี่ยงเบนมาตรฐาน และสถิติทดสอบ  t – test (Independent  Sample  t – test) 

ผลการวิจัยเรื่อง การพัฒนารูปแบบการจัดกิจกรรมการเรียนรู้ วิชาการงานอาชีพ เรื่อง การสานวัสดุท้องถิ่นเพื่อส่งเสริมทักษะอาชีพ สำหรับนักเรียนชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 2 มีรายละเอียดดังต่อไปนี้

1.  ผลการวิเคราะห์ข้อมูลพื้นฐานได้การพัฒนารูปแบบการจัดกิจกรรมการเรียนรู้ วิชาการงานอาชีพ เรื่อง การสานวัสดุท้องถิ่นเพื่อส่งเสริมทักษะอาชีพ สำหรับนักเรียนชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 2 ประกอบด้วย 5 ขั้นตอน ดังนี้ 

ขั้นที่ 1 ขั้นนำ เป็นขั้นการเตรียมตัวให้พร้อม สร้างบรรยากาศให้นักเรียนสนใจในการทำกิจกรรม เป็นกิจกรรมที่ใช้เชื่อมโยงกับเนื้อหาสาระที่จะเรียนโดยการสนทนาโต้ตอบ ซักถาม และแสดงความคิดเห็น 

ขั้นที่ 2 ทบทวนความรูเดิม เป็นขั้นทบทวนเนื้อหาสาระเรื่องที่จะเรียนรู้ โดยใช้คำถามกระตุ้นให้นักเรียนแสดงความคิดเห็น จากประสบการณ์เดิมเชื่อมโยงกับประสบการณ์ใหม่

ขั้นที่ 3 ปรับเปลี่ยนความคิด มี 3 กิจกรรม1) ทำความกระจางแลกเปลี่ยนเรียนรู้ เป็นขั้นที่ครูแนะนำวิทยากรภูมิปัญญาท้องถิ่น ให้นักเรียนทราบ วิทยากรภูมิปัญญาท้องถิ่นเล่าเกี่ยวกับประวัติความเป็นมาของการสอนแต่ละชนิดที่มีในชุมชนและสร้างอาชีพ2) การสรางความคิดใหม่  เป็นขั้น  ที่ครูนำเสนอเนื้อหาสาระใหม่ที่ต้องการกระตุ้นให้นักเรียนสนใจ เกิดขึ้น  เป็นการกระตุ้นเร้าให้นักเรียนคิดหาวิธีทำ คำตอบตามเรื่องที่สอนสืบค้นด้วยสื่อที่เป็นของจริง การศึกษาดูงานแหล่งเรียนรู้ ภาพ เพื่อร่วมกันค้นหาคำตอบของกลุ่มจากการพูดคุยกับภูมิปัญญา  แลกเปลี่ยน ความคิดเห็น พิจารณา ข้อมูล ที่ได้รับโดยใช้ประสาทสัมผัสในการสำรวจ สังเกต หรือทดลองและสรุปข้อมูล ซึ่งครูจะเข้าไปช่วยเหลือแนะนำเมื่อนักเรียนเกิดปัญหาหรือต้องการความช่วยเหลือ 3) ประเมินความคิดใหม่  เป็นขั้นที่นักเรียนนำเสนอผลสัมฤทธิ์ทางการเรียน จากสิ่งที่ค้นพบโดยการออกมาเล่าหน้าชั้นเรียนจัดแสดงผลงานของกลุ่มบนป้ายนิเทศหรือ มุมแสดงผลงาน แลกเปลี่ยน เรียนรู้กับเพื่อนกลุ่มอื่น

ขั้นที่ 4 ขั้นนำความคิดไปใช้ เป็นขั้นที่ครูเปิดโอกาสให้นักเรียนซักถามความรู้เกี่ยวกับการทำการสานจากวัสดุท้องถิ่น หรือปัญหาที่นักเรียนพบและต้องการแก้ไขเพื่อนำไปใช้ในคราวต่อไป

ขั้นที่ 5 ทบทวน เป็นขั้นที่ครูให้นักเรียนทำแบบทดสอบย่อย จากเรื่องการสานจากวัสดุท้องถิ่นที่นักเรียนได้ลงมือทำ

2.  การพัฒนารูปแบบการจัดกิจกรรมการเรียนรู้ วิชาการงานอาชีพ เรื่อง การสานวัสดุท้องถิ่นเพื่อส่งเสริมทักษะอาชีพ สำหรับนักเรียนชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 2  ตามความคิดเห็นของผู้เชี่ยวชาญมีความเหมาะสมอยู่ในระดับมากถึงมากที่สุด  (มีค่าเฉลี่ยตั้งแต่ 4.00 - 4.80)  และความคิดเห็นของครูผู้สอนในวิชาการงานอาชีพ ต่อการพัฒนารูปแบบการจัดกิจกรรมการเรียนรู้ วิชาการงานอาชีพ เรื่อง การสานวัสดุท้องถิ่นเพื่อส่งเสริมทักษะอาชีพ สำหรับนักเรียนชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 2 มีผลประเมินโดยรวม  มีความเหมาะสมอยู่ในระดับมาก  ( = 2.70,  S.D. = 0.47) 

3.  ผลการศึกษาการพัฒนารูปแบบการจัดกิจกรรมการเรียนรู้ วิชาการงานอาชีพ เรื่อง  การสานวัสดุท้องถิ่นเพื่อส่งเสริมทักษะอาชีพ สำหรับนักเรียนชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 2  มีทักษะอาชีพและผลสัมฤทธิ์ทางการเรียนเพิ่มขึ้นหลังจากได้รับการจัดกิจกรรมการเรียนรู้ตามการพัฒนารูปแบบการจัดกิจกรรมการเรียนรู้ วิชาการงานอาชีพ เรื่อง การสานวัสดุท้องถิ่นเพื่อส่งเสริมทักษะอาชีพ สำหรับนักเรียนชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 2 อย่างมีนัยสำคัญทางสถิติที่ระดับ .05  แสดงว่าการจัดกิจกรรมการเรียนรู้ตามการพัฒนารูปแบบการจัดกิจกรรมการเรียนรู้ วิชาการงานอาชีพ เรื่อง การสานวัสดุท้องถิ่นเพื่อส่งเสริมทักษะอาชีพ สำหรับนักเรียนชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 2  ทำให้นักเรียนมีทักษะอาชีพและผลสัมฤทธิ์ทางการเรียนเพิ่มขึ้น

4.  ผลการประเมินประสิทธิผลการใช้การพัฒนารูปแบบการจัดกิจกรรมการเรียนรู้ วิชา การงานอาชีพ เรื่อง การสานวัสดุท้องถิ่นเพื่อส่งเสริมทักษะอาชีพ สำหรับนักเรียนชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 2  โดยมีวัตถุประสงค์ย่อยดังนี้

      1)  นักเรียนชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 2 มีทักษะอาชีพหลังใช้การพัฒนารูปแบบการจัดกิจกรรมการเรียนรู้ วิชาการงานอาชีพ เรื่อง การสานวัสดุท้องถิ่นเพื่อส่งเสริมทักษะอาชีพ สำหรับนักเรียนชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 2  สูงกว่าก่อนเรียนอย่างมีนัยสำคัญทางสถิติที่ระดับ  .05

      2)  นักเรียนชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 2 มีผลสัมฤทธิ์ทางการเรียนหลังใช้การพัฒนารูปแบบการจัดกิจกรรมการเรียนรู้ วิชาการงานอาชีพ เรื่อง การสานวัสดุท้องถิ่นเพื่อส่งเสริมทักษะอาชีพ สำหรับนักเรียนชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 2  สูงกว่าก่อนเรียนอย่างมีนัยสำคัญทางสถิติที่ระดับ  .05

      3)  นักเรียนชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 2 มีความพึงพอใจต่อการเรียนรู้ด้วยการพัฒนารูปแบบการจัดกิจกรรมการเรียนรู้ วิชาการงานอาชีพ เรื่อง การสานวัสดุท้องถิ่นเพื่อส่งเสริมทักษะอาชีพ สำหรับนักเรียนชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 2 ในภาพรวมอยู่ในระดับมากที่สุด

มหาวิทยาลัยศรีปทุม ผู้ใหญ่ใจดี
 

 ช่วยด้วยครับ
นักเรียนที่สร้างบล็อก กรุณาอย่า
คัดลอกข้อมูลจากเว็บอื่นทั้งหมด
ควรนำมาจากหลายๆ เว็บ แล้ววิเคราะห์ สังเคราะห์ และเขียนขึ้นใหม่
หากคัดลอกทั้งหมด จะถูกดำเนินคดี
ตามกฎหมายจากเจ้าของลิขสิทธิ์
มีโทษทั้งจำคุกและปรับในอัตราสูง

ช่วยกันนะครับ 
ไทยกู๊ดวิวจะได้อยู่นานๆ 
ไม่ถูกปิดเสียก่อน

ขอขอบคุณในความร่วมมือครับ

อ่านรายละเอียด

ด่วน...... ขณะนี้
พระราชบัญญัติลิขสิทธิ์ (ฉบับที่ 2) พ.ศ. 2558 
มีผลบังคับใช้แล้ว 
ขอให้นักเรียนและคุณครูที่ใช้งาน
เว็บ thaigoodview ในการส่งการบ้าน
ระมัดระวังการละเมิดลิขสิทธิ์ด้วย
อ่านรายละเอียดที่นี่ครับ

 

สมาชิกที่ออนไลน์

ขณะนี้มี สมาชิก 0 คน และ ผู้เยี่ยมชม 344 คน กำลังออนไลน์