• user warning: Duplicate entry '536306482' for key 'PRIMARY' query: INSERT INTO accesslog (title, path, url, hostname, uid, sid, timer, timestamp) values('การศึกษาพฤติกรรมแมลง >> บทเรียน >> ต่อขุดรู', 'node/92929', '', '3.149.29.209', 0, '096cb467de9b174bf33545ee25d3b31d', 168, 1716869310) in /home/tgv/htdocs/modules/statistics/statistics.module on line 63.
  • user warning: Table 'cache_filter' is marked as crashed and should be repaired query: SELECT data, created, headers, expire, serialized FROM cache_filter WHERE cid = '3:3be124b6cb0cb7cd88cc69f28201106c' in /home/tgv/htdocs/includes/cache.inc on line 27.
  • user warning: Table 'cache_filter' is marked as crashed and should be repaired query: UPDATE cache_filter SET data = '<!--paging_filter--><p>&nbsp; &nbsp; &nbsp; &nbsp; &nbsp; &nbsp; หลายคนไม่ทราบว่าพระพุทธเจ้าสอนให้รวย&nbsp; นอกจากพระพุทธเจ้าสอนให้คนไปสู่ความหลุดพ้น นิพพานแล้ว พระองค์ยังสอนให้คฤหัสน์รวยอีกด้วย&nbsp; ดูตัวอย่างหลวงพ่อคูณและแทบทุกวัดเลย&nbsp; มีวัดไหนสอนให้จนไหม&nbsp; ความมั่งคั่งร่ำรวยไม่ใช่เรื่องผิดบาป&nbsp; ถ้าไม่โกงใครมา</p>\n<div><img src=\"https://soponpornchokchai.files.wordpress.com/2020/10/63-644-1.jpg\" alt=\"\" /></div>\n<p>&nbsp;&nbsp;&nbsp;&nbsp;&nbsp;&nbsp;&nbsp;&nbsp;&nbsp;&nbsp;&nbsp; ดร.โสภณ พรโชคชัย ประธานกรรมการบริหาร ศูนย์ข้อมูลวิจัยและประเมินค่าอสังหาริมทรัพย์ไทย (<a href=\"http://www.area.co.th\" title=\"www.area.co.th\">www.area.co.th</a>) ขออนุญาตถกเรื่องความมั่งคั่ง โดยมีสมติฐานว่า คนที่มั่งคั่งมักไม่โกง&nbsp; คนที่โกงมักขาดแคลน&nbsp; และขออนุญาตยกคำสอนของพระศาสดา รวมทั้งกิจของสงฆ์วัดต่าง ๆ ที่สอนให้คนรวย ไม่เป็นภาระแก่ใคร&nbsp; ความรวย (Wealth) ไม่ใช่บาปเคราะห์ แต่ก็เป็นสิ่งน่าละอายที่จะตายอย่างมั่งคั่งโดยไม่รู้จักแบ่งปันให้ทานแก่บุคคลอื่น</p>\n<div id=\"bannerPressID\" class=\"no-print col-xs-12 col-sm-12 col-md-12 col-lg-12\">\n<div class=\"embed-responsive embed-responsive-16by9\"><iframe src=\"https://www.area.co.th/thai/area_announce/__area_press_popup_placebody_2_1.php?get=[0,81]\" scrolling=\"no\" width=\"320\" height=\"240\"></iframe></div>\n</div>\n<p>&nbsp;&nbsp;&nbsp;&nbsp;&nbsp;&nbsp;&nbsp;&nbsp;&nbsp;&nbsp;&nbsp; 1. แม้ว่านิพพานและการหลุดพ้นจะเป็นสิ่งสูงสุดที่พระพุทธเจ้าสอน&nbsp; แต่สำหรับชีวิตคฤหัสถ์หรือผู้ครองเรือน พระองค์สอนเรื่อง \"คฤหัสถ์ 4\" หรือความสุขของผู้ครองเรือน 4 อย่าง (<a href=\"http://bit.ly/2hZ7jKc\" target=\"_blank\">http://bit.ly/2hZ7jKc</a>)</p>\n<p>&nbsp;&nbsp;&nbsp;&nbsp;&nbsp;&nbsp;&nbsp;&nbsp;&nbsp;&nbsp;&nbsp; 1.1 อัตถิสุข สุขเกิดจากความมีทรัพย์ คือมีทรัพย์ที่หามาได้ด้วยน้ำพักน้ำแรงของตน ที่หามาโดยสุจริต ขอบธรรม เมื่อมีทรัพย์แล้วก็ทำให้ภาคภูมิใจ เอิบอิ่มใจไม่เดือดร้อนใจ</p>\n<p>&nbsp;&nbsp;&nbsp;&nbsp;&nbsp;&nbsp;&nbsp;&nbsp;&nbsp;&nbsp;&nbsp; 1.2 โภคสุข สุขเกิดแต่การใช้จ่ายทรัพย์ที่หามาได้ คนที่มีทรัพย์อยู่ในมือแล้วย่อมสบายใจ เอิบอิ่มใจ เมื่อเวลาที่ต้องการจะใช้ ก็สามารถจะเอามาใช้ได้ ไม่ขาดแคลน ข้อที่ว่าสุขเกิดแต่การใช้จ่ายทรัพย์ได้ตามต้องการนี้ รู้สึกคนไทยทุกคนจะซาบซึ้งใจกันดี เพราะคนไทยเป็นนักจ่าย เห็นอะไรก็อยากได้อยากซื้อไปหมด ถ้าไม่มีเงินคงไม่เป็นสุขแน่เทียว</p>\n<p>&nbsp;&nbsp;&nbsp;&nbsp;&nbsp;&nbsp;&nbsp;&nbsp;&nbsp;&nbsp;&nbsp; 1.3 อนณสุข สุขเกิดจากความไม่เป็นหนี้ ถ้าเราเป็นหนี้ ต้องขวนขวายหาเงินมาใช้หนี้เขา จะหาความสุขได้อย่างไร ยิ่งเวลาที่ต้องส่งเงินต้นหรือดอกเบี้ย แต่ไม่มีจะส่ง ยิ่งเป็นทุกข์ใจมาก เพราะฉะนั้นถ้าเราพยายามใช้จ่ายให้พอเหมาะพอสมกับฐานะ ไม่ใช้จ่ายเกินตัวจนต้องเป็นหนี้เป็นสินเขาแล้ว เราจะมีความสุขมากทีเดียว เพราะฉะนั้นความไม่เป็นหนี้จึงเป็นความสุขของผู้ครองเรือน</p>\n<p>&nbsp;&nbsp;&nbsp;&nbsp;&nbsp;&nbsp;&nbsp;&nbsp;&nbsp;&nbsp;&nbsp; 1.4 อนวัชชสุข สุขอันเกิดจากความประพฤติที่ไม่มีโทษ คือประพฤติสุจริตธรรม เมื่อประพฤติแต่สุจริตธรรมก็ไม่มีใครที่จะติเตียนเราได้ ทำให้เกิดความภูมิใจ เอิบอิ่มใจว่า เราประพฤติตนดี ไม่เป็นที่ครหาของใคร ๆ</p>\n<p>&nbsp;&nbsp;&nbsp;&nbsp;&nbsp;&nbsp;&nbsp;&nbsp;&nbsp;&nbsp;&nbsp; 2. พระองค์ยังสอนให้คนรวย (ไม่เคยสอนให้จน ยกเว้นพวกนักบวชที่ต้องสละทุกสิ่ง -- อย่าสับสน) ด้วยคาถา “หัวใจมหาเศรษฐี” หัวใจของคามหาเศรษฐีนี้มี 4 คำสั้น ๆ และสามารถท่องได้ง่ายว่า อุ อา กะ สะ ถือเป็นหลักธรรมที่จะอำนวยประโยชน์สุขในขั้นต้นให้คนทั่วไป หรือเรียกว่า ทิฎฐธัมมิกัตถสังวัตตนิกธรรม 4 หรือ ทิฎฐธัมมิกัตถประโยชน์ ซึ่งประกอบด้วยหลักปฏิบัติ 4 ประการ คือ 1. อุฎฐานสัมปทา 2.อารักขสัมปทา 3. กัลป์ยาณมิตตตา และ 4. สมชีวิตา</p>\n<p>&nbsp;&nbsp;&nbsp;&nbsp;&nbsp;&nbsp;&nbsp;&nbsp;&nbsp;&nbsp;&nbsp; 2.1 อุ: อุฎฐานสัมปทา หมายถึง การถึงพร้อมด้วยความหมั่น คือให้มีความขยันหมั่นเพียรในการแสวงหาความรู้ ขยันทำงานและประกอบอาชีพโดยสุจริต หมั่นฝึกฝนในวิชาชีพให้มีความชำนาญ รู้จักใช้ปัญญาในการจัดการงานให้เหมาะสมและสำเร็จลุล่วงไปด้วยดี ด้วยความขยันหมั่นเพียรนี้เราก็จะมีทรัพย์สินเงินทองเพิ่มพูนขึ้น</p>\n<p>&nbsp;&nbsp;&nbsp;&nbsp;&nbsp;&nbsp;&nbsp;&nbsp;&nbsp;&nbsp;&nbsp; 2.2 อา:&nbsp; อารักขสัมปทา หมายถึง การถึงพร้อมด้วยการรักษาโภคทรัพย์ คือต้องรู้จักรักษาคุ้มครองทรัพย์สินที่หามาได้ไม่ให้หมดไป รวมทั้งรักษาผลงานที่สร้างมาได้โดยชอบธรรม ไม่ให้เป็นอันตรายหรือเสื่อมเสีย รวมไปถึงการรักษาความรับผิดชอบต่อภาระการงานที่ได้มอบหมายอย่างไม่ขาดตกบกพร่องด้วย</p>\n<p>&nbsp;&nbsp;&nbsp;&nbsp;&nbsp;&nbsp;&nbsp;&nbsp;&nbsp;&nbsp;&nbsp; 2.3 กะ: กัลยาณมิตตตา หมายถึง การรู้จักคบคนดีเป็นมิตร คือการมีมิตรที่ดีจะช่วยสนับสนุนและนำพาเราไปสู่ความเจริญก้าวหน้า ทั้งในหน้าที่การงาน สร้างความสุข ความสบายใจในการใช้ชีวิต ในทางตรงข้าม มิตรที่ไม่ดี มิตรเทียม หรือมิตรปอกลอก ก็จะนำพาเราไปสู่อบายมุขในรูปแบบต่าง ๆ ซึ่งเป็นเหตุให้เราเสียทรัพย์ เสียงานเสียการ จนเสียสมดุลชีวิตไปในที่สุด</p>\n<p>&nbsp;&nbsp;&nbsp;&nbsp;&nbsp;&nbsp;&nbsp;&nbsp;&nbsp;&nbsp;&nbsp; 2.4 สะ: สมชีวิตา หมายถึง การเลี้ยงชีวิตให้พอดี คือรู้จักกำหนดการใช้จ่ายให้สมควรแก่ฐานะและสมดุลกับรายได้ รู้จักใช้ทรัพย์สินเงินทองที่หามาได้อย่างเหมาะสม ไม่ฟุ่มเฟือยมากเกินไปจนต้องลำบากในอนาคต หรือไม่ฝืดเคืองจนสร้างความลำบกในปัจจุบัน จงดำเนินชีวิตโดยยึดทางสายกลางที่ไม่มากไปไม่น้อยไป แต่ต้องพอดี ซึ่งจุดสมดุลแห่งความพอดี อาจวัดได้จากความสุขที่อิ่มเอิบในใจ ไม่ใช่สิ่งบำเรอหรือวัตถุที่เป็น (<a href=\"http://bit.ly/2iHnF9h\" target=\"_blank\">http://bit.ly/2iHnF9h</a>)</p>\n<p>&nbsp;&nbsp;&nbsp;&nbsp;&nbsp;&nbsp;&nbsp;&nbsp;&nbsp;&nbsp;&nbsp; 3. พระพุทธเจ้ายังสอนเรื่องปาปณิกธรรม 3 (ปาปณิกังคะ หลักพ่อค้า, องค์คุณของพ่อค้า) — qualities of a successful shopkeeper or businessman) อันประกอบด้วย</p>\n<p>&nbsp;&nbsp;&nbsp;&nbsp;&nbsp;&nbsp;&nbsp;&nbsp;&nbsp;&nbsp;&nbsp; 3.1 จักขุมา ตาดี (รู้จักสินค้า ดูของเป็น สามารถคำนวณราคา กะทุนเก็งกำไร แม่นยำ — shrewd)</p>\n<p>&nbsp;&nbsp;&nbsp;&nbsp;&nbsp;&nbsp;&nbsp;&nbsp;&nbsp;&nbsp;&nbsp; 3.2 วิธูโร จัดเจนธุรกิจ (รู้แหล่งซื้อแหล่งขาย รู้ความเคลื่อนไหวความต้องการของตลาด สามารถในการจัดซื้อจัดจำหน่าย รู้ใจและรู้จักเอาใจลูกค้า — capable of administering business)</p>\n<p>&nbsp;&nbsp;&nbsp;&nbsp;&nbsp;&nbsp;&nbsp;&nbsp;&nbsp;&nbsp;&nbsp; 3.3 นิสสยสัมปันโน พร้อมด้วยแหล่งทุนเป็นที่อาศัย (เป็นที่เชื่อถือไว้วางใจในหมู่แหล่งทุนใหญ่ๆ หาเงินมาลงทุนหรือดำเนินกิจการโดยง่าย — having good credit rating) (<a href=\"http://bit.ly/2iOeLaJ\" target=\"_blank\">http://bit.ly/2iOeLaJ</a>)</p>\n<p>&nbsp;&nbsp;&nbsp;&nbsp;&nbsp;&nbsp;&nbsp;&nbsp;&nbsp;&nbsp;&nbsp; 4. การที่จะรวยนั้น พระพุทธเจ้าสอนให้รู้จักการให้ บุญกริยาวัตถุ 10 (<a href=\"http://bit.ly/2ja55nm\" target=\"_blank\">http://bit.ly/2ja55nm</a>) โดยประการแรกคือการทานมัย คือการทำบุญด้วยการให้ทานนั่นเอง&nbsp; ในการให้ทานนั้นยังมีเรื่อง \"ชายเข็ญใจยินดีรับเลี้ยงภิกษุ\" นามว่า \"มหาทุคตะ\" ที่แม้จะขัดสนก็ยังทำดีด้วยการเลี้ยงพระภิกษุ (<a href=\"http://bit.ly/2hWPeY9\" target=\"_blank\">http://bit.ly/2hWPeY9</a>)</p>\n<p>&nbsp;&nbsp;&nbsp;&nbsp;&nbsp;&nbsp;&nbsp;&nbsp;&nbsp;&nbsp;&nbsp; 5. มีเศรษฐีทำบุญจนหมดตัว \"อนาถบิณฑิกเศรษฐี\" ที่ก่อสร้างพระอารามชื่อ \"พระคันธกุฎี\" โดยเสียเงินไป 27 โกฏิ เป็นค่าที่ดิน และอีก 27 โกฏิ เป็นค่าก่อสร้าง ให้เป็นที่ประทับของพระบรมศาสดาและพระสงฆ์ เสร็จแล้วได้กราบทูลอาราธนาพระบรมศาสดาพร้อมกับจัดพิธีฉลองพระอารามอย่างมโหฬารนานถึง 5-9 เดือน ได้จัดถวายอาหารบิณฑบาตอันประณีตแก่พระบรมศาสดาและพระภิกษุสงฆ์ และกราบอาราธนาพระภิกษุจำนวนประมาณ ๒๐๐ รูป ไปฉันภัตตาหารที่บ้านของตนทุกวันตลอดกาล. . .(กระทั่ง)ตนเองก็พลอยอดอยากลำบากไปด้วย ถึงกระนั้นเศรษฐีก็ยังไม่ลดละการทำบุญ ถวายภัตตาหารแก่พระภิกษุสงฆ์ได้แต่กราบเรียนให้พระภิกษุสงฆ์ทราบว่า ตนเองไม่สามารถ จะจัดถวายอาหารอันประณีตมีรสเลิศเหมือนเมื่อก่อนได้ เพราะขาดปัจจัยที่จะจัดหา (<a href=\"http://www.84000.org/one/3/02.html\" title=\"www.84000.org/one/3/02.html\">www.84000.org/one/3/02.html</a>)</p>\n<p>&nbsp;&nbsp;&nbsp;&nbsp;&nbsp;&nbsp;&nbsp;&nbsp;&nbsp;&nbsp;&nbsp; 6. พระสาวกของพระพุทธเจ้าโดยเฉพาะพระสงฆ์ทั้งหลายก็มักอวยชัยให้พรให้ \"รวย ๆ เฮงๆ\" กันทั้งนั้น&nbsp; เพราะอย่างน้อยก็เป็นเครื่องชะโลมใจให้กับสาธุชนที่ส่วนมากยากไร้&nbsp; การรวย มีทรัพย์ ย่อมเป็นความสุขของคฤหัสถ์ ไม่ใช่เรื่องผิดบาปอะไร ไม่เป็นภาระแก่ลูกหลานและสังคม อีกทั้งยังสามารถให้ทานผู้อื่นได้อีก</p>\n<p>&nbsp;&nbsp;&nbsp;&nbsp;&nbsp;&nbsp;&nbsp;&nbsp;&nbsp;&nbsp;&nbsp; สุดท้ายนี้ขอมอบพุทธสุภาษิตต่อไปนี้แด่ท่านนายกฯ และทุกท่าน</p>\n<p>&nbsp;</p>\n<p>โภคา สนฺนิจยํ ยนฺติ วมฺมิโกวูปจียติ.</p>\n<p>โภคทรัพย์ของผู้ครองเรือนดี ย่อมถึงความพอกพูน เหมือนจอมปลวกกำลังก่อขึ้น.</p>\n<p>ที. ปาฏิ. ๑๑/๒๐๒.</p>\n<p>&nbsp;</p>\n<p>ปฏิรูปการี ธุรวา อุฏฺาตา วินฺทเต ธนํ.</p>\n<p>คนมีธุระหมั่นทำการงานให้เหมาะเจาะ ย่อมหาทรัพย์ได้.</p>\n<p>สํ. ส. ๑๕/๓๑๖. ขุ. สุ. ๒๕/๓๖๑.</p>\n<p>&nbsp;</p>\n<p>อิติ วิสฺสฏฺกมฺมนฺเต อตฺถา อจฺเจนฺติ มาณเว.</p>\n<p>ประโยชน์ย่อมล่วงเลยคนหนุ่มผู้ทอดทิ้งการงาน.</p>\n<p>ที. ปาฏิ. ๑๑/๑๙๙.</p>\n<p>&nbsp;</p>\n<p>ธีโร โภเค อธิคมฺม สงฺคณฺหาติ จ ญาตเก.</p>\n<p>ปราชญ์ได้โภคทรัพย์แล้ว ย่อมสงเคราะห์ญาติ.</p>\n<p>ขุ. ชา. ฉกฺก. ๒๗/๒๐๕.</p>\n<p>&nbsp;</p>\n<p>น นิพฺพินฺทิยการิสฺส สมฺมทตฺโถ วิปจฺจติ.</p>\n<p>ประโยชน์ย่อมไม่สำเร็จโดยชอบแก่ผู้ทำโดยเบื่อหน่าย.</p>\n<p>ขุ. ชา. จตฺตาฬีส. ๒๗/๕๓๓.</p>\n<p>&nbsp;</p>\n<p>อนิพฺพินฺทิยการิสฺส สมฺมทตฺโถ วิปจฺจติ.</p>\n<p>ประโยชน์ย่อมสำเร็จโดยชอบแก่ผู้ทำโดยไม่เบื่อหน่าย.</p>\n<p>ขุ. ชา. จตฺตาฬีส. ๒๗/๕๓๓.</p>\n<p>&nbsp;</p>\n<p>สิริ โภคานมาสโย.</p>\n<p>ศรีเป็นที่อาศัยแห่งโภคทรัพย์.</p>\n<p>สํ. ส. ๑๕/๖๑.</p>\n<p>&nbsp;</p>\n<p>ที่มา:&nbsp;<a href=\"http://www.trisarana.org/board_topic.php?id=44\" target=\"_blank\">www.trisarana.org/board_topic.php?id=44</a></p>\n<p>&nbsp;</p>\n<div>พระพุทธเจ้าสอนให้รวย<br /><a href=\"https://youtu.be/xFy1v8KrkPA\" target=\"_blank\">https://youtu.be/xFy1v8KrkPA​</a><br /><iframe src=\"https://www.youtube.com/embed/xFy1v8KrkPA\" frameborder=\"0\" width=\"640\" height=\"360\"></iframe></div>\n<p>&nbsp;</p>\n', created = 1716869320, expire = 1716955720, headers = '', serialized = 0 WHERE cid = '3:3be124b6cb0cb7cd88cc69f28201106c' in /home/tgv/htdocs/includes/cache.inc on line 112.

พระพุทธเจ้าสอนให้รวย

รูปภาพของ pornchokchai

            หลายคนไม่ทราบว่าพระพุทธเจ้าสอนให้รวย  นอกจากพระพุทธเจ้าสอนให้คนไปสู่ความหลุดพ้น นิพพานแล้ว พระองค์ยังสอนให้คฤหัสน์รวยอีกด้วย  ดูตัวอย่างหลวงพ่อคูณและแทบทุกวัดเลย  มีวัดไหนสอนให้จนไหม  ความมั่งคั่งร่ำรวยไม่ใช่เรื่องผิดบาป  ถ้าไม่โกงใครมา

            ดร.โสภณ พรโชคชัย ประธานกรรมการบริหาร ศูนย์ข้อมูลวิจัยและประเมินค่าอสังหาริมทรัพย์ไทย (www.area.co.th) ขออนุญาตถกเรื่องความมั่งคั่ง โดยมีสมติฐานว่า คนที่มั่งคั่งมักไม่โกง  คนที่โกงมักขาดแคลน  และขออนุญาตยกคำสอนของพระศาสดา รวมทั้งกิจของสงฆ์วัดต่าง ๆ ที่สอนให้คนรวย ไม่เป็นภาระแก่ใคร  ความรวย (Wealth) ไม่ใช่บาปเคราะห์ แต่ก็เป็นสิ่งน่าละอายที่จะตายอย่างมั่งคั่งโดยไม่รู้จักแบ่งปันให้ทานแก่บุคคลอื่น

            1. แม้ว่านิพพานและการหลุดพ้นจะเป็นสิ่งสูงสุดที่พระพุทธเจ้าสอน  แต่สำหรับชีวิตคฤหัสถ์หรือผู้ครองเรือน พระองค์สอนเรื่อง "คฤหัสถ์ 4" หรือความสุขของผู้ครองเรือน 4 อย่าง (http://bit.ly/2hZ7jKc)

            1.1 อัตถิสุข สุขเกิดจากความมีทรัพย์ คือมีทรัพย์ที่หามาได้ด้วยน้ำพักน้ำแรงของตน ที่หามาโดยสุจริต ขอบธรรม เมื่อมีทรัพย์แล้วก็ทำให้ภาคภูมิใจ เอิบอิ่มใจไม่เดือดร้อนใจ

            1.2 โภคสุข สุขเกิดแต่การใช้จ่ายทรัพย์ที่หามาได้ คนที่มีทรัพย์อยู่ในมือแล้วย่อมสบายใจ เอิบอิ่มใจ เมื่อเวลาที่ต้องการจะใช้ ก็สามารถจะเอามาใช้ได้ ไม่ขาดแคลน ข้อที่ว่าสุขเกิดแต่การใช้จ่ายทรัพย์ได้ตามต้องการนี้ รู้สึกคนไทยทุกคนจะซาบซึ้งใจกันดี เพราะคนไทยเป็นนักจ่าย เห็นอะไรก็อยากได้อยากซื้อไปหมด ถ้าไม่มีเงินคงไม่เป็นสุขแน่เทียว

            1.3 อนณสุข สุขเกิดจากความไม่เป็นหนี้ ถ้าเราเป็นหนี้ ต้องขวนขวายหาเงินมาใช้หนี้เขา จะหาความสุขได้อย่างไร ยิ่งเวลาที่ต้องส่งเงินต้นหรือดอกเบี้ย แต่ไม่มีจะส่ง ยิ่งเป็นทุกข์ใจมาก เพราะฉะนั้นถ้าเราพยายามใช้จ่ายให้พอเหมาะพอสมกับฐานะ ไม่ใช้จ่ายเกินตัวจนต้องเป็นหนี้เป็นสินเขาแล้ว เราจะมีความสุขมากทีเดียว เพราะฉะนั้นความไม่เป็นหนี้จึงเป็นความสุขของผู้ครองเรือน

            1.4 อนวัชชสุข สุขอันเกิดจากความประพฤติที่ไม่มีโทษ คือประพฤติสุจริตธรรม เมื่อประพฤติแต่สุจริตธรรมก็ไม่มีใครที่จะติเตียนเราได้ ทำให้เกิดความภูมิใจ เอิบอิ่มใจว่า เราประพฤติตนดี ไม่เป็นที่ครหาของใคร ๆ

            2. พระองค์ยังสอนให้คนรวย (ไม่เคยสอนให้จน ยกเว้นพวกนักบวชที่ต้องสละทุกสิ่ง -- อย่าสับสน) ด้วยคาถา “หัวใจมหาเศรษฐี” หัวใจของคามหาเศรษฐีนี้มี 4 คำสั้น ๆ และสามารถท่องได้ง่ายว่า อุ อา กะ สะ ถือเป็นหลักธรรมที่จะอำนวยประโยชน์สุขในขั้นต้นให้คนทั่วไป หรือเรียกว่า ทิฎฐธัมมิกัตถสังวัตตนิกธรรม 4 หรือ ทิฎฐธัมมิกัตถประโยชน์ ซึ่งประกอบด้วยหลักปฏิบัติ 4 ประการ คือ 1. อุฎฐานสัมปทา 2.อารักขสัมปทา 3. กัลป์ยาณมิตตตา และ 4. สมชีวิตา

            2.1 อุ: อุฎฐานสัมปทา หมายถึง การถึงพร้อมด้วยความหมั่น คือให้มีความขยันหมั่นเพียรในการแสวงหาความรู้ ขยันทำงานและประกอบอาชีพโดยสุจริต หมั่นฝึกฝนในวิชาชีพให้มีความชำนาญ รู้จักใช้ปัญญาในการจัดการงานให้เหมาะสมและสำเร็จลุล่วงไปด้วยดี ด้วยความขยันหมั่นเพียรนี้เราก็จะมีทรัพย์สินเงินทองเพิ่มพูนขึ้น

            2.2 อา:  อารักขสัมปทา หมายถึง การถึงพร้อมด้วยการรักษาโภคทรัพย์ คือต้องรู้จักรักษาคุ้มครองทรัพย์สินที่หามาได้ไม่ให้หมดไป รวมทั้งรักษาผลงานที่สร้างมาได้โดยชอบธรรม ไม่ให้เป็นอันตรายหรือเสื่อมเสีย รวมไปถึงการรักษาความรับผิดชอบต่อภาระการงานที่ได้มอบหมายอย่างไม่ขาดตกบกพร่องด้วย

            2.3 กะ: กัลยาณมิตตตา หมายถึง การรู้จักคบคนดีเป็นมิตร คือการมีมิตรที่ดีจะช่วยสนับสนุนและนำพาเราไปสู่ความเจริญก้าวหน้า ทั้งในหน้าที่การงาน สร้างความสุข ความสบายใจในการใช้ชีวิต ในทางตรงข้าม มิตรที่ไม่ดี มิตรเทียม หรือมิตรปอกลอก ก็จะนำพาเราไปสู่อบายมุขในรูปแบบต่าง ๆ ซึ่งเป็นเหตุให้เราเสียทรัพย์ เสียงานเสียการ จนเสียสมดุลชีวิตไปในที่สุด

            2.4 สะ: สมชีวิตา หมายถึง การเลี้ยงชีวิตให้พอดี คือรู้จักกำหนดการใช้จ่ายให้สมควรแก่ฐานะและสมดุลกับรายได้ รู้จักใช้ทรัพย์สินเงินทองที่หามาได้อย่างเหมาะสม ไม่ฟุ่มเฟือยมากเกินไปจนต้องลำบากในอนาคต หรือไม่ฝืดเคืองจนสร้างความลำบกในปัจจุบัน จงดำเนินชีวิตโดยยึดทางสายกลางที่ไม่มากไปไม่น้อยไป แต่ต้องพอดี ซึ่งจุดสมดุลแห่งความพอดี อาจวัดได้จากความสุขที่อิ่มเอิบในใจ ไม่ใช่สิ่งบำเรอหรือวัตถุที่เป็น (http://bit.ly/2iHnF9h)

            3. พระพุทธเจ้ายังสอนเรื่องปาปณิกธรรม 3 (ปาปณิกังคะ หลักพ่อค้า, องค์คุณของพ่อค้า) — qualities of a successful shopkeeper or businessman) อันประกอบด้วย

            3.1 จักขุมา ตาดี (รู้จักสินค้า ดูของเป็น สามารถคำนวณราคา กะทุนเก็งกำไร แม่นยำ — shrewd)

            3.2 วิธูโร จัดเจนธุรกิจ (รู้แหล่งซื้อแหล่งขาย รู้ความเคลื่อนไหวความต้องการของตลาด สามารถในการจัดซื้อจัดจำหน่าย รู้ใจและรู้จักเอาใจลูกค้า — capable of administering business)

            3.3 นิสสยสัมปันโน พร้อมด้วยแหล่งทุนเป็นที่อาศัย (เป็นที่เชื่อถือไว้วางใจในหมู่แหล่งทุนใหญ่ๆ หาเงินมาลงทุนหรือดำเนินกิจการโดยง่าย — having good credit rating) (http://bit.ly/2iOeLaJ)

            4. การที่จะรวยนั้น พระพุทธเจ้าสอนให้รู้จักการให้ บุญกริยาวัตถุ 10 (http://bit.ly/2ja55nm) โดยประการแรกคือการทานมัย คือการทำบุญด้วยการให้ทานนั่นเอง  ในการให้ทานนั้นยังมีเรื่อง "ชายเข็ญใจยินดีรับเลี้ยงภิกษุ" นามว่า "มหาทุคตะ" ที่แม้จะขัดสนก็ยังทำดีด้วยการเลี้ยงพระภิกษุ (http://bit.ly/2hWPeY9)

            5. มีเศรษฐีทำบุญจนหมดตัว "อนาถบิณฑิกเศรษฐี" ที่ก่อสร้างพระอารามชื่อ "พระคันธกุฎี" โดยเสียเงินไป 27 โกฏิ เป็นค่าที่ดิน และอีก 27 โกฏิ เป็นค่าก่อสร้าง ให้เป็นที่ประทับของพระบรมศาสดาและพระสงฆ์ เสร็จแล้วได้กราบทูลอาราธนาพระบรมศาสดาพร้อมกับจัดพิธีฉลองพระอารามอย่างมโหฬารนานถึง 5-9 เดือน ได้จัดถวายอาหารบิณฑบาตอันประณีตแก่พระบรมศาสดาและพระภิกษุสงฆ์ และกราบอาราธนาพระภิกษุจำนวนประมาณ ๒๐๐ รูป ไปฉันภัตตาหารที่บ้านของตนทุกวันตลอดกาล. . .(กระทั่ง)ตนเองก็พลอยอดอยากลำบากไปด้วย ถึงกระนั้นเศรษฐีก็ยังไม่ลดละการทำบุญ ถวายภัตตาหารแก่พระภิกษุสงฆ์ได้แต่กราบเรียนให้พระภิกษุสงฆ์ทราบว่า ตนเองไม่สามารถ จะจัดถวายอาหารอันประณีตมีรสเลิศเหมือนเมื่อก่อนได้ เพราะขาดปัจจัยที่จะจัดหา (www.84000.org/one/3/02.html)

            6. พระสาวกของพระพุทธเจ้าโดยเฉพาะพระสงฆ์ทั้งหลายก็มักอวยชัยให้พรให้ "รวย ๆ เฮงๆ" กันทั้งนั้น  เพราะอย่างน้อยก็เป็นเครื่องชะโลมใจให้กับสาธุชนที่ส่วนมากยากไร้  การรวย มีทรัพย์ ย่อมเป็นความสุขของคฤหัสถ์ ไม่ใช่เรื่องผิดบาปอะไร ไม่เป็นภาระแก่ลูกหลานและสังคม อีกทั้งยังสามารถให้ทานผู้อื่นได้อีก

            สุดท้ายนี้ขอมอบพุทธสุภาษิตต่อไปนี้แด่ท่านนายกฯ และทุกท่าน

 

โภคา สนฺนิจยํ ยนฺติ วมฺมิโกวูปจียติ.

โภคทรัพย์ของผู้ครองเรือนดี ย่อมถึงความพอกพูน เหมือนจอมปลวกกำลังก่อขึ้น.

ที. ปาฏิ. ๑๑/๒๐๒.

 

ปฏิรูปการี ธุรวา อุฏฺาตา วินฺทเต ธนํ.

คนมีธุระหมั่นทำการงานให้เหมาะเจาะ ย่อมหาทรัพย์ได้.

สํ. ส. ๑๕/๓๑๖. ขุ. สุ. ๒๕/๓๖๑.

 

อิติ วิสฺสฏฺกมฺมนฺเต อตฺถา อจฺเจนฺติ มาณเว.

ประโยชน์ย่อมล่วงเลยคนหนุ่มผู้ทอดทิ้งการงาน.

ที. ปาฏิ. ๑๑/๑๙๙.

 

ธีโร โภเค อธิคมฺม สงฺคณฺหาติ จ ญาตเก.

ปราชญ์ได้โภคทรัพย์แล้ว ย่อมสงเคราะห์ญาติ.

ขุ. ชา. ฉกฺก. ๒๗/๒๐๕.

 

น นิพฺพินฺทิยการิสฺส สมฺมทตฺโถ วิปจฺจติ.

ประโยชน์ย่อมไม่สำเร็จโดยชอบแก่ผู้ทำโดยเบื่อหน่าย.

ขุ. ชา. จตฺตาฬีส. ๒๗/๕๓๓.

 

อนิพฺพินฺทิยการิสฺส สมฺมทตฺโถ วิปจฺจติ.

ประโยชน์ย่อมสำเร็จโดยชอบแก่ผู้ทำโดยไม่เบื่อหน่าย.

ขุ. ชา. จตฺตาฬีส. ๒๗/๕๓๓.

 

สิริ โภคานมาสโย.

ศรีเป็นที่อาศัยแห่งโภคทรัพย์.

สํ. ส. ๑๕/๖๑.

 

ที่มา: www.trisarana.org/board_topic.php?id=44

 

พระพุทธเจ้าสอนให้รวย
https://youtu.be/xFy1v8KrkPA​

 

มหาวิทยาลัยศรีปทุม ผู้ใหญ่ใจดี
 

 ช่วยด้วยครับ
นักเรียนที่สร้างบล็อก กรุณาอย่า
คัดลอกข้อมูลจากเว็บอื่นทั้งหมด
ควรนำมาจากหลายๆ เว็บ แล้ววิเคราะห์ สังเคราะห์ และเขียนขึ้นใหม่
หากคัดลอกทั้งหมด จะถูกดำเนินคดี
ตามกฎหมายจากเจ้าของลิขสิทธิ์
มีโทษทั้งจำคุกและปรับในอัตราสูง

ช่วยกันนะครับ 
ไทยกู๊ดวิวจะได้อยู่นานๆ 
ไม่ถูกปิดเสียก่อน

ขอขอบคุณในความร่วมมือครับ

อ่านรายละเอียด

ด่วน...... ขณะนี้
พระราชบัญญัติลิขสิทธิ์ (ฉบับที่ 2) พ.ศ. 2558 
มีผลบังคับใช้แล้ว 
ขอให้นักเรียนและคุณครูที่ใช้งาน
เว็บ thaigoodview ในการส่งการบ้าน
ระมัดระวังการละเมิดลิขสิทธิ์ด้วย
อ่านรายละเอียดที่นี่ครับ

 

สมาชิกที่ออนไลน์

ขณะนี้มี สมาชิก 0 คน และ ผู้เยี่ยมชม 244 คน กำลังออนไลน์