• user warning: Table 'cache_filter' is marked as crashed and should be repaired query: SELECT data, created, headers, expire, serialized FROM cache_filter WHERE cid = '3:20b76f5350c766658d1849f790e45eb1' in /home/tgv/htdocs/includes/cache.inc on line 27.
  • user warning: Table 'cache_filter' is marked as crashed and should be repaired query: UPDATE cache_filter SET data = '<!--paging_filter--><p style=\"text-align: center;\">&nbsp;</p>\n<p style=\"text-align: center;\"><strong>วัดอรุณราชวราราม ราชวรมหาวิหาร</strong></p>\n<p style=\"text-align: center;\"><img src=\"/files/u130027/-2.jpg\" alt=\"\" width=\"600\" height=\"300\" /></p>\n<p style=\"text-align: center;\">&nbsp;<img src=\"http://1.bp.blogspot.com/-Pr_UMJ4d-mw/T9Hvpy8zoXI/AAAAAAAAf8M/yVBtaNj6YKs/s1600/vnw1snpd9mw.gif\" alt=\"Image result for เส้นคั่น หัวข้อ\" /></p>\n<p style=\"text-align: center;\">“วัดอรุณ” หรือ “วัดอรุณราชวราราม ราชวรมหาวิหาร” เชื่อว่าหลายๆ คนคงจะรู้จักกันดี เพราะพระปรางค์วัดอรุณนั้นมีศิลปกรรมอันงดงามประเมินค่ามิได้ ตั้งเด่นเป็นสง่าอยู่ริมแม่น้ำเจ้าพระยา และถือเป็นอีกหนึ่งสัญลักษณ์ของประเทศไทยที่ชาวโลกต่างก็รู้จักกันดี ด้วยเป็นวัดสำคัญที่อยู่คู่บ้านคู่เมืองมาช้านาน</p>\n<p style=\"text-align: center;\">&nbsp;</p>\n<p><strong>ที่ตั้ง</strong><strong>&nbsp; &nbsp;:&nbsp;&nbsp;</strong>34 แขวงวัดอรุณ เขตบางกอกใหญ่ กรุงเทพมหานคร</p>\n<p>&nbsp;</p>\n<p style=\"text-align: center;\">&nbsp; &nbsp; &nbsp; &nbsp;<img src=\"/files/u130027/088.jpg\" alt=\"\" width=\"533\" height=\"300\" /></p>\n<p>&nbsp;</p>\n<p><strong>อาณาเขต&nbsp; &nbsp; &nbsp; &nbsp;</strong>ทิศเหนือ&nbsp; &nbsp; &nbsp; -&nbsp; &nbsp; จรด โรงเรียนประถมทวีธาภิเศษ&nbsp;</p>\n<p>&nbsp; &nbsp; &nbsp; &nbsp; &nbsp; &nbsp; &nbsp; &nbsp; &nbsp; &nbsp; &nbsp;ทิศใต้&nbsp; &nbsp; &nbsp; &nbsp; &nbsp; -&nbsp; &nbsp; จรด กำแพงพระราชวังเดิม</p>\n<p>&nbsp; &nbsp; &nbsp; &nbsp; &nbsp; &nbsp; &nbsp; &nbsp; &nbsp; &nbsp; &nbsp;ทิศตะวันออก -&nbsp; &nbsp; จรด ฝั่งแม่น้ำเจ้าพระยา</p>\n<ul>\n<li>&nbsp; &nbsp; &nbsp; &nbsp; &nbsp; &nbsp; &nbsp; ทิศตะวันตก&nbsp; &nbsp;-&nbsp; &nbsp; &nbsp;จรด ถนนอรุณอมรินทร</li>\n</ul>\n<p>&nbsp;</p>\n<p style=\"text-align: center;\"><strong>ประวัติ</strong></p>\n<p>&nbsp; &nbsp; &nbsp; &nbsp;วัดอรุณราชวราราม เป็นวัดโบราณสร้างมาตั้งแต่สมัยอยุธยา ตั้งอยู่ทางทิศตะวันตกของฝั่งแม่น้ำเจ้าพระยา เดิมเรียกว่า \"วัดมะกอก\" ตามชื่อ ตำบลบางมะกอกซึ่งเป็นตำบลที่ตั้งวัด ภายหลังเปลี่ยนเป็น \"วัดมะกอกนอก\" เพราะมีวัดสร้างขึ้นใหม่ในตำบลเดียวกัน แต่อยู่ลึกเข้าไปในคลองบางกอก ใหญ่ชื่อ \"วัดมะกอกใน\" ต่อมาใน พ.ศ. ๒๓๑๐ เมื่อสมเด็จ พระเจ้าตากสินมหาราชม พระราชประสงค์จะย้ายราชธานีมาตั้ง ณ กรุงธนบุรีจึงเสด็จกรีฑาทัพล่องลงมาทาง ชลมารคถึงหน้าวัดมะกอกนอกนี้เมื่อเวลารุ่งอรุณพอดี จึงทรงเปลี่ยนชื่อวัดมะกอกนอกเป็น \"วัดแจ้ง\" เพื่อเป็นอนุสรณ์แห่งนิมิตที่ได้เสด็จมาถึงวัดนี้เมื่อเวลาอรุณรุ่ง&nbsp;</p>\n<p>&nbsp; &nbsp; &nbsp; &nbsp; ชื่อ \"วัดแจ้ง\" นี้ มีเรื่องสมเด็จฯ กรมพระยาดำรงราชานุภาพทูลสมเด็จฯ กรมพระยานริศรา นุวัตติวงศ์ไว้ว่า \"หม่อมฉันเคยเห็นแผนที่เมืองธนบุรีที่ฝรั่งเศสทำเมื่อรัชกาลสมเด็จพระนารายณ์ ในแผนที่นั้นมีแต่วัดเลียบกับวัดแจ้ง เวลานั้นยังเป็นชานป้อมใหญ่ ซึ่งอยู่ราวโรงเรียนราชินี เพราะฉะนั้นวัดโพธิ์เป็นวัดสร้างเมื่อล่วงรัชกาลสมเด็จพระนารายณ์มาแล้ว</p>\n<p>&nbsp;&nbsp;&nbsp;&nbsp;&nbsp;&nbsp;&nbsp;&nbsp;เมื่อพระเจ้าตากสินมหาราชโปรดให้ย้ายราชธานีจากกรุงศรีอยุธยามาตั้ง ณ กรุงธนบุรี และได้ทรงสร้างพระราชวังใหม่ มีการขยายเขตพระราชฐาน เป็นเหตุให้วัดแจ้งตั้งอยู่กลาง พระราชวังจึงไม่โปรดให้มีพระสงฆ์จำพรรษา</p>\n<p>&nbsp;&nbsp;&nbsp;&nbsp;&nbsp;&nbsp;&nbsp;&nbsp;นอกจากนั้นในช่วงเวลาที่กรุงธนบุรีเป็นราชธานี ถือกันว่าวัดแจ้งเป็นวัดคู่บ้าน คู่เมือง เนื่องจากเป็นวัดที่ประดิษฐานพระแก้วมรกตและพระบาง ซึ่งสมเด็จพระยามหากษัตริย์ศึก (พระบาทสมเด็จพระพุทธยอดฟ้าจุฬาโลกมหาราช)ได้ไว้ในมณฑป และมีการสมโภชใหญ่ ๗ คืน ๗ วัน(ในปี พ.ศ. ๒๓๒๗ พระแก้วมรกตได้ย้ายมาประดิษฐาน ณ วัดพระศรีรัตนศาสดาราม ในพระบรมหาราชวัง ส่วนพระบางนั้นสมเด็จพระพุทธยอดฟ้าจุฬาโลกได้โปรดพระราชทานคืนไปนครเวียงจันทร์)</p>\n<p>&nbsp; &nbsp; &nbsp; &nbsp; &nbsp;เมื่อพระบาทสมเด็จพระพุทธยอดฟ้าจุฬาโลก มหาราช รัชกาลที่ ๑ เสด็จเถลิงถวัลราชสมบัติ ได้โปรดให้สร้างพระนครใหม่ฝั่งตะวันออก ของแม่น้ำเจ้าพระยา และรื้อกำแพงพระราชวังกรุงธนบุรีออก วัดแจ้งจึงไม่ได้อยู่ในเขตพระราชวังอีกต่อไป พระองค์จึงโปรดให้วัดแจ้งเป็นวัดที่มี พระสงฆ์จำพรรษาอีกครั้งหนึ่ง นอกจากนั้นพระองค์ทรงมอบหมายให้สมเด็จ พระเจ้าลูกยาเธอเจ้าฟ้ากรมหลวงอิศรสุนทร (ร. ๒) เป็นผู้ดำเนินการปฏิสังขรณ์วัดแจ้ง แต่สำเร็จเพียงแค่กุฎีสงฆ์ก็สิ้นรัชกาลที่ ๑ ใน พ.ศ. ๒๓๕๒ เสียก่อน</p>\n<p>&nbsp;&nbsp;&nbsp;&nbsp;&nbsp;&nbsp;&nbsp;&nbsp;ต่อมาในรัชกาลพระบาทสมเด็จพระพุทธเลิศหล้านภาลัย รัชกาลที่ ๒ พระองค์ทรงดำเนินการปฏิสังขรณ์ต่อจนเสร็จ ทั้งได้ทรงปั้นหุ่นพระพุทธรูปด้วยฝีพระหัตถ์ และโปรดให้หล่อขึ้นประดิษฐานเป็นพระประธาน ในพระอุโบสถ และโปรดให้มีมหรสพสมโภชฉลองวัดในปี พ.ศ. ๒๓๖๓ แล้วโปรดพระราชทาน พระนามวัดว่า \"วัดอรุณราชธาราม\"&nbsp;</p>\n<p>&nbsp; &nbsp; &nbsp; &nbsp; ถึงรัชกาลที่ ๔ พระบาทสมเด็จพระจอมเกล้าเจ้าอยู่หัว โปรดเกล้าฯ ให้บูรณปฏิสังขรณ์เพิ่มเติมอีก แล้วทรงเปลี่ยนชื่อวัดเป็น \"วัดอรุณราชวราราม\" ดังที่เรียกกันมาจนถึงปัจจุบัน</p>\n<p>&nbsp;</p>\n<p style=\"text-align: center;\"><img src=\"/files/u130027/98667.jpg\" alt=\"\" width=\"600\" height=\"300\" /></p>\n<p style=\"text-align: center;\">&nbsp;</p>\n<p><strong>สถาปัตยกรรมที่สำคัญ</strong></p>\n<p>&nbsp;</p>\n<p style=\"text-align: center;\"><strong><img src=\"/files/u130027/82778.jpg\" alt=\"\" width=\"466\" height=\"316\" /></strong></p>\n<p style=\"text-align: center;\">พระอุโบสถ</p>\n<p style=\"text-align: center;\"><img src=\"/files/u130027/82782.jpg\" alt=\"\" width=\"469\" height=\"314\" /></p>\n<p style=\"text-align: center;\">มณฑปหรือปราสาททิศ ,&nbsp;ปรางค์ทิศ</p>\n<p style=\"text-align: center;\"><img src=\"/files/u130027/jiojo-3.jpg\" alt=\"\" /></p>\n<p style=\"text-align: center;\">พระวิหาร</p>\n<p style=\"text-align: center;\"><img src=\"/files/u130027/ggjbkjd-4.jpg\" alt=\"\" width=\"600\" height=\"300\" /></p>\n<p style=\"text-align: center;\">โบสถ์น้อย , วิหารน้อย , หอไตร</p>\n<p style=\"text-align: center;\"><img src=\"/files/u130027/kiknkjk.jpg\" alt=\"\" /></p>\n<p style=\"text-align: center;\">หอระฆัง</p>\n<p style=\"text-align: center;\"><img src=\"/files/u130027/S__38445058.jpg\" alt=\"\" /></p>\n<p style=\"text-align: center;\">มณฑปพระพุทธบาทจำลอง</p>\n<p style=\"text-align: center;\"><img src=\"/files/u130027/S__38445069.jpg\" alt=\"\" /></p>\n<p style=\"text-align: center;\">ศาลาท่าน้ำรูปเก๋งจีน</p>\n<p style=\"text-align: center;\"><img src=\"/files/u130027/S__38445067.jpg\" alt=\"\" width=\"520\" height=\"353\" /></p>\n<p style=\"text-align: center;\">อนุสาวรีย์พระธรรมเจดีย์</p>\n<p>&nbsp;</p>\n<p>&nbsp;</p>\n<p><strong>ลักษณะของ</strong><strong>วัดอรุณราชวราราม ราชวรมหาวิหาร&nbsp;&nbsp;</strong><strong>:&nbsp;</strong>เป็นสถาปัตยกรรมในสมัยกรุงศรีอยุธยา</p>\n<p>&nbsp;</p>\n<p>&nbsp;</p>\n<p><strong>ความสำคัญของ</strong><strong>วัดอรุณราชวราราม ราชวรมหาวิหาร</strong></p>\n<p><strong>&nbsp; &nbsp; &nbsp; &nbsp; &nbsp; &nbsp; &nbsp; &nbsp; &nbsp; &nbsp; &nbsp; &nbsp; &nbsp; &nbsp; &nbsp; &nbsp; &nbsp; &nbsp; &nbsp; &nbsp; &nbsp; &nbsp; &nbsp; &nbsp;&nbsp;</strong><strong>-&nbsp;</strong>เป็นวัดคู่บ้านคู่เมืองของไทย</p>\n<p>&nbsp; &nbsp; &nbsp; &nbsp; &nbsp; &nbsp; &nbsp; &nbsp; &nbsp; &nbsp; &nbsp; &nbsp; &nbsp; &nbsp; &nbsp; &nbsp; &nbsp; &nbsp; &nbsp; &nbsp; &nbsp; &nbsp; &nbsp;- เป็นสถาปัตกรรมที่สวยงามและควรค่าแก่การอนุรักษ์</p>\n<p>&nbsp; &nbsp; &nbsp; &nbsp; &nbsp; &nbsp; &nbsp; &nbsp; &nbsp; &nbsp; &nbsp; &nbsp; &nbsp; &nbsp; &nbsp; &nbsp; &nbsp; &nbsp; &nbsp; &nbsp; &nbsp; &nbsp; &nbsp;- เป็นสถานที่ที่สำคัญทางศาสนาและพุทธศาสนิกชน</p>\n<p style=\"text-align: center;\">&nbsp; &nbsp; &nbsp; &nbsp; &nbsp; &nbsp; &nbsp; &nbsp; &nbsp; &nbsp; &nbsp; &nbsp; &nbsp; &nbsp; &nbsp; &nbsp; &nbsp; &nbsp; &nbsp; &nbsp; &nbsp; &nbsp; &nbsp; &nbsp; &nbsp; &nbsp; &nbsp; &nbsp; &nbsp; &nbsp; &nbsp; &nbsp; &nbsp; &nbsp; &nbsp; &nbsp; &nbsp; &nbsp; &nbsp; &nbsp; &nbsp;</p>\n<p style=\"text-align: center;\"><img src=\"http://1.bp.blogspot.com/-xKNjUw0gt2k/T9Hi-qlMbqI/AAAAAAAAfXM/j_sEMDNbV4Y/s1600/owjh026.gif\" alt=\"Image result for เส้นคั่น หัวข้อ\" /></p>\n<p style=\"text-align: center;\"><strong>เเหล่งอ้างอิง</strong></p>\n<p style=\"text-align: center;\">http://www.thaiticketmajor.com/variety/travel/1440/</p>\n<p style=\"text-align: center;\">https://2g.pantip.com/cafe/blueplanet/topic/E11046426/E11046426.html</p>\n<p style=\"text-align: center;\">http://www.winnews.tv/news/447</p>\n<p style=\"text-align: center;\">https://sites.google.com/site/wadsakhayniprathesthiy/home/wad-xrun-rachwraram-wrmhawihar-wad-xrun-krungtheph</p>\n<p style=\"text-align: center;\">https://www.google.co.th/url?sa=i&amp;rct=j&amp;q=&amp;esrc=s&amp;source=images&amp;cd=&amp;cad=rja&amp;uact=8&amp;ved=0ahUKEwiM_c-d4ZrXAhWDWrwKHV3jDz0QjhwIBQ&amp;url=http%3A%2F%2Fwww.homelittlegirl.com%2Fm%2Findex.php%3Ftopic%3D666.0&amp;psig=AOvVaw1Fh-7U-cLcN_x9dYmxRnML&amp;ust=1509535393991477</p>\n<p style=\"text-align: center;\">&nbsp;</p>\n', created = 1713435927, expire = 1713522327, headers = '', serialized = 0 WHERE cid = '3:20b76f5350c766658d1849f790e45eb1' in /home/tgv/htdocs/includes/cache.inc on line 112.

วัดอรุณราชวราราม ราชวรมหาวิหาร

รูปภาพของ sss30343

 

วัดอรุณราชวราราม ราชวรมหาวิหาร

 Image result for เส้นคั่น หัวข้อ

“วัดอรุณ” หรือ “วัดอรุณราชวราราม ราชวรมหาวิหาร” เชื่อว่าหลายๆ คนคงจะรู้จักกันดี เพราะพระปรางค์วัดอรุณนั้นมีศิลปกรรมอันงดงามประเมินค่ามิได้ ตั้งเด่นเป็นสง่าอยู่ริมแม่น้ำเจ้าพระยา และถือเป็นอีกหนึ่งสัญลักษณ์ของประเทศไทยที่ชาวโลกต่างก็รู้จักกันดี ด้วยเป็นวัดสำคัญที่อยู่คู่บ้านคู่เมืองมาช้านาน

 

ที่ตั้ง   :  34 แขวงวัดอรุณ เขตบางกอกใหญ่ กรุงเทพมหานคร

 

       

 

อาณาเขต       ทิศเหนือ      -    จรด โรงเรียนประถมทวีธาภิเศษ 

                     ทิศใต้          -    จรด กำแพงพระราชวังเดิม

                     ทิศตะวันออก -    จรด ฝั่งแม่น้ำเจ้าพระยา

  •               ทิศตะวันตก   -     จรด ถนนอรุณอมรินทร

 

ประวัติ

       วัดอรุณราชวราราม เป็นวัดโบราณสร้างมาตั้งแต่สมัยอยุธยา ตั้งอยู่ทางทิศตะวันตกของฝั่งแม่น้ำเจ้าพระยา เดิมเรียกว่า "วัดมะกอก" ตามชื่อ ตำบลบางมะกอกซึ่งเป็นตำบลที่ตั้งวัด ภายหลังเปลี่ยนเป็น "วัดมะกอกนอก" เพราะมีวัดสร้างขึ้นใหม่ในตำบลเดียวกัน แต่อยู่ลึกเข้าไปในคลองบางกอก ใหญ่ชื่อ "วัดมะกอกใน" ต่อมาใน พ.ศ. ๒๓๑๐ เมื่อสมเด็จ พระเจ้าตากสินมหาราชม พระราชประสงค์จะย้ายราชธานีมาตั้ง ณ กรุงธนบุรีจึงเสด็จกรีฑาทัพล่องลงมาทาง ชลมารคถึงหน้าวัดมะกอกนอกนี้เมื่อเวลารุ่งอรุณพอดี จึงทรงเปลี่ยนชื่อวัดมะกอกนอกเป็น "วัดแจ้ง" เพื่อเป็นอนุสรณ์แห่งนิมิตที่ได้เสด็จมาถึงวัดนี้เมื่อเวลาอรุณรุ่ง 

        ชื่อ "วัดแจ้ง" นี้ มีเรื่องสมเด็จฯ กรมพระยาดำรงราชานุภาพทูลสมเด็จฯ กรมพระยานริศรา นุวัตติวงศ์ไว้ว่า "หม่อมฉันเคยเห็นแผนที่เมืองธนบุรีที่ฝรั่งเศสทำเมื่อรัชกาลสมเด็จพระนารายณ์ ในแผนที่นั้นมีแต่วัดเลียบกับวัดแจ้ง เวลานั้นยังเป็นชานป้อมใหญ่ ซึ่งอยู่ราวโรงเรียนราชินี เพราะฉะนั้นวัดโพธิ์เป็นวัดสร้างเมื่อล่วงรัชกาลสมเด็จพระนารายณ์มาแล้ว

        เมื่อพระเจ้าตากสินมหาราชโปรดให้ย้ายราชธานีจากกรุงศรีอยุธยามาตั้ง ณ กรุงธนบุรี และได้ทรงสร้างพระราชวังใหม่ มีการขยายเขตพระราชฐาน เป็นเหตุให้วัดแจ้งตั้งอยู่กลาง พระราชวังจึงไม่โปรดให้มีพระสงฆ์จำพรรษา

        นอกจากนั้นในช่วงเวลาที่กรุงธนบุรีเป็นราชธานี ถือกันว่าวัดแจ้งเป็นวัดคู่บ้าน คู่เมือง เนื่องจากเป็นวัดที่ประดิษฐานพระแก้วมรกตและพระบาง ซึ่งสมเด็จพระยามหากษัตริย์ศึก (พระบาทสมเด็จพระพุทธยอดฟ้าจุฬาโลกมหาราช)ได้ไว้ในมณฑป และมีการสมโภชใหญ่ ๗ คืน ๗ วัน(ในปี พ.ศ. ๒๓๒๗ พระแก้วมรกตได้ย้ายมาประดิษฐาน ณ วัดพระศรีรัตนศาสดาราม ในพระบรมหาราชวัง ส่วนพระบางนั้นสมเด็จพระพุทธยอดฟ้าจุฬาโลกได้โปรดพระราชทานคืนไปนครเวียงจันทร์)

         เมื่อพระบาทสมเด็จพระพุทธยอดฟ้าจุฬาโลก มหาราช รัชกาลที่ ๑ เสด็จเถลิงถวัลราชสมบัติ ได้โปรดให้สร้างพระนครใหม่ฝั่งตะวันออก ของแม่น้ำเจ้าพระยา และรื้อกำแพงพระราชวังกรุงธนบุรีออก วัดแจ้งจึงไม่ได้อยู่ในเขตพระราชวังอีกต่อไป พระองค์จึงโปรดให้วัดแจ้งเป็นวัดที่มี พระสงฆ์จำพรรษาอีกครั้งหนึ่ง นอกจากนั้นพระองค์ทรงมอบหมายให้สมเด็จ พระเจ้าลูกยาเธอเจ้าฟ้ากรมหลวงอิศรสุนทร (ร. ๒) เป็นผู้ดำเนินการปฏิสังขรณ์วัดแจ้ง แต่สำเร็จเพียงแค่กุฎีสงฆ์ก็สิ้นรัชกาลที่ ๑ ใน พ.ศ. ๒๓๕๒ เสียก่อน

        ต่อมาในรัชกาลพระบาทสมเด็จพระพุทธเลิศหล้านภาลัย รัชกาลที่ ๒ พระองค์ทรงดำเนินการปฏิสังขรณ์ต่อจนเสร็จ ทั้งได้ทรงปั้นหุ่นพระพุทธรูปด้วยฝีพระหัตถ์ และโปรดให้หล่อขึ้นประดิษฐานเป็นพระประธาน ในพระอุโบสถ และโปรดให้มีมหรสพสมโภชฉลองวัดในปี พ.ศ. ๒๓๖๓ แล้วโปรดพระราชทาน พระนามวัดว่า "วัดอรุณราชธาราม" 

        ถึงรัชกาลที่ ๔ พระบาทสมเด็จพระจอมเกล้าเจ้าอยู่หัว โปรดเกล้าฯ ให้บูรณปฏิสังขรณ์เพิ่มเติมอีก แล้วทรงเปลี่ยนชื่อวัดเป็น "วัดอรุณราชวราราม" ดังที่เรียกกันมาจนถึงปัจจุบัน

 

 

สถาปัตยกรรมที่สำคัญ

 

พระอุโบสถ

มณฑปหรือปราสาททิศ , ปรางค์ทิศ

พระวิหาร

โบสถ์น้อย , วิหารน้อย , หอไตร

หอระฆัง

มณฑปพระพุทธบาทจำลอง

ศาลาท่าน้ำรูปเก๋งจีน

อนุสาวรีย์พระธรรมเจดีย์

 

 

ลักษณะของวัดอรุณราชวราราม ราชวรมหาวิหาร  เป็นสถาปัตยกรรมในสมัยกรุงศรีอยุธยา

 

 

ความสำคัญของวัดอรุณราชวราราม ราชวรมหาวิหาร

                                                เป็นวัดคู่บ้านคู่เมืองของไทย

                                             - เป็นสถาปัตกรรมที่สวยงามและควรค่าแก่การอนุรักษ์

                                             - เป็นสถานที่ที่สำคัญทางศาสนาและพุทธศาสนิกชน

                                                                                 

Image result for เส้นคั่น หัวข้อ

เเหล่งอ้างอิง

http://www.thaiticketmajor.com/variety/travel/1440/

https://2g.pantip.com/cafe/blueplanet/topic/E11046426/E11046426.html

http://www.winnews.tv/news/447

https://sites.google.com/site/wadsakhayniprathesthiy/home/wad-xrun-rachwraram-wrmhawihar-wad-xrun-krungtheph

https://www.google.co.th/url?sa=i&rct=j&q=&esrc=s&source=images&cd=&cad=rja&uact=8&ved=0ahUKEwiM_c-d4ZrXAhWDWrwKHV3jDz0QjhwIBQ&url=http%3A%2F%2Fwww.homelittlegirl.com%2Fm%2Findex.php%3Ftopic%3D666.0&psig=AOvVaw1Fh-7U-cLcN_x9dYmxRnML&ust=1509535393991477

 

มหาวิทยาลัยศรีปทุม ผู้ใหญ่ใจดี
 

 ช่วยด้วยครับ
นักเรียนที่สร้างบล็อก กรุณาอย่า
คัดลอกข้อมูลจากเว็บอื่นทั้งหมด
ควรนำมาจากหลายๆ เว็บ แล้ววิเคราะห์ สังเคราะห์ และเขียนขึ้นใหม่
หากคัดลอกทั้งหมด จะถูกดำเนินคดี
ตามกฎหมายจากเจ้าของลิขสิทธิ์
มีโทษทั้งจำคุกและปรับในอัตราสูง

ช่วยกันนะครับ 
ไทยกู๊ดวิวจะได้อยู่นานๆ 
ไม่ถูกปิดเสียก่อน

ขอขอบคุณในความร่วมมือครับ

อ่านรายละเอียด

ด่วน...... ขณะนี้
พระราชบัญญัติลิขสิทธิ์ (ฉบับที่ 2) พ.ศ. 2558 
มีผลบังคับใช้แล้ว 
ขอให้นักเรียนและคุณครูที่ใช้งาน
เว็บ thaigoodview ในการส่งการบ้าน
ระมัดระวังการละเมิดลิขสิทธิ์ด้วย
อ่านรายละเอียดที่นี่ครับ

 

สมาชิกที่ออนไลน์

ขณะนี้มี สมาชิก 0 คน และ ผู้เยี่ยมชม 368 คน กำลังออนไลน์