• user warning: Table 'cache_filter' is marked as crashed and should be repaired query: SELECT data, created, headers, expire, serialized FROM cache_filter WHERE cid = '3:faffe669b61e4a261d95ee9eee9652a0' in /home/tgv/htdocs/includes/cache.inc on line 27.
  • user warning: Table 'cache_filter' is marked as crashed and should be repaired query: UPDATE cache_filter SET data = '<!--paging_filter--><p><strong>&nbsp;</strong></p>\n<p align=\"right\"><strong>การออกแบบการเรียนรู้ </strong></p>\n<p align=\"right\"><strong>อิงมาตรฐานการเรียนรู้/ตัวชี้วัด หลักสูตรแกนกลางการศึกษาขั้นพื้นฐาน พุทธศักราช 2551</strong></p>\n<p align=\"right\"><strong>โดย...ครูนครรัฐ&nbsp;&nbsp; โชติพรม&nbsp; ครูโรงเรียนมวกเหล็กวิทยา จ.สระบุรี</strong></p>\n<p><strong>&nbsp;&nbsp;&nbsp;&nbsp;&nbsp;&nbsp;&nbsp;&nbsp;&nbsp; </strong>การออกแบบการเรียนรู้ ในระดับหน่วยการเรียน เป็นหัวใจสำคัญที่ทำให้ผู้เรียนมีความรู้ ทักษะและคุณลักษณะอันพึงประสงค์ ตามที่หลักสูตรต้องการ ดังนั้น ครูผู้สอนจึงต้องมีความรอบรู้ รู้ลึก รู้จริง ในสิ่งที่ตนเองจะสอน ก็คือ รู้และเข้าใจตัวชี้วัดในหน่วยนั้น ๆ อย่างลึกซึ้ง ซึ่งผมจะยกตัวอย่าง&nbsp; ให้เห็นเป็นรูปธรรม เช่น</p>\n<p><strong>หน่วยการเรียนรู้ที่ 1 เรื่อง วันสำคัญทางพระพุทธศาสนา&nbsp; รหัสวิชา ส33102 รายวิชา พระพุทธศาสนา 3 ชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 6 &nbsp; &nbsp; &nbsp; &nbsp; กลุ่มสาระการเรียนรู้&nbsp; สังคมศึกษา ศาสนาและวัฒนธรรม</strong></p>\n<p><strong>มาตรฐานการเรียนรู้/ตัวชี้วัด</strong></p>\n<p>&nbsp;&nbsp;&nbsp;&nbsp;&nbsp;&nbsp;&nbsp;&nbsp; ส1.2 ม.4-6/4 วิเคราะห์หลักธรรม คติธรรม ที่เกี่ยวเนื่องกับวันสำคัญทางศาสนา และเทศกาลที่สำคัญของศาสนาที่ตนนับถือ และปฏิบัติตนได้ถูกต้อง</p>\n<p>&nbsp;&nbsp;&nbsp;&nbsp;&nbsp;&nbsp;&nbsp;&nbsp; ตัวชี้วัดที่ 4 มีคำสำคัญ 2 คำ คือ วิเคราะห์&nbsp; และปฏิบัติตน&nbsp; ดังนั้น ครูผู้สอนต้องตั้งสติ และรวมรวมมวลความรู้ที่มี เพื่อนำมาใช้เป็นฐานในการออกแบบการเรียนรู้ ว่า...<strong>ผู้เรียนต้องรู้อะไรบ้าง</strong></p>\n<p>(เนื้อหาหรือสาระการเรียนรู้ )<strong> และผู้เรียนต้องทำอะไรได้บ้าง </strong>(วิเคระห์อะไร ปฏิบัติอย่างไร หรืออธิบายอะไร แปลความ ตีความ สำรวจ) เป็นต้น<strong><br /></strong></p>\n<p><strong>&nbsp;&nbsp;&nbsp;&nbsp;&nbsp;&nbsp;&nbsp;&nbsp; ผู้เรียนต้องรู้อะไรบ้าง (เนื้อหา หรือสาระการเรียนรู้)</strong></p>\n<p>&nbsp;&nbsp;&nbsp;&nbsp;&nbsp;&nbsp;&nbsp;&nbsp;&nbsp;&nbsp;&nbsp;&nbsp; 1. หลักธรรม คติธรรม ที่เกี่ยวเนื่องกับวันสำคัญ และเทศกาลที่สำคัญทางพุทธศาสนา</p>\n<p>&nbsp;&nbsp;&nbsp;&nbsp;&nbsp;&nbsp;&nbsp;&nbsp;&nbsp;&nbsp;&nbsp;&nbsp; 2. การปฏิบัติตนในวันสำคัญทางศาสนาและเทศกาลสำคัญทางศาสนา</p>\n<p>&nbsp;&nbsp;&nbsp;&nbsp;&nbsp;&nbsp;&nbsp;&nbsp;&nbsp;&nbsp;&nbsp;&nbsp; 3. การนำหลักธรรม คติธรรม ในวันสำคัญและเทศกาลสำคัญทางพระพุทธศาสนาไปปฏิบัติในการดำเนินชีวิตประจำวันได้</p>\n<p><strong>&nbsp;&nbsp;&nbsp; </strong><strong>&nbsp;&nbsp;&nbsp;&nbsp;&nbsp; ผู้เรียนต้องทำอะไรได้บ้าง</strong> จากตัวชี้วัด มีคำสำคัญ 2 คำ คือ วิเคราะห์&nbsp; และปฏิบัติตน</p>\n<p>ซึ่งเราต้องกำหนดเป็นจุดประสงค์การเรียนรู้ หลักการกำหนดจุดประสงค์การเรียนรู้ เราต้องกำหนดจากคำสำคัญที่กำหนดในตัวชี้วัดเป็นสำคัญ &nbsp;&nbsp;&nbsp;&nbsp;&nbsp;&nbsp;&nbsp;&nbsp;&nbsp; ดังนั้น ผู้เรียนต้องวิเคราะห์อะไรได้ และปฏิบัติอะไรได้ ปฏิบัติอย่างไร และเราสามารถกำหนดจุดประสงค์การเรียนรู้ เพิ่มเติม จากคำสำคัญได้หรือไม่&nbsp;&nbsp;&nbsp; ได้ครับ แต่จุดประสงค์ที่จะเพิ่มไปนั้น ต้องสัมพันธ์กับตัวชี้วัด หรือเกิดประโยชน์กับผู้เรียนอย่างแท้จริง และที่สำคัญ &nbsp;ต้องกำหนดจุดประสงค์การเรียนรู้ ให้ครบ ตามประเด็นของคำสำคัญที่ตัวชี้วัดนั้น ๆ กำหนดไว้ ดังตัวอย่าง เช่น</p>\n<p>&nbsp;&nbsp;&nbsp;&nbsp;&nbsp;&nbsp;&nbsp;&nbsp; ส1.2 ม.4-6/4 วิเคราะห์หลักธรรม คติธรรม ที่เกี่ยวเนื่องกับวันสำคัญทางศาสนาและเทศกาลที่สำคัญของศาสนาที่ตนนับถือ&nbsp;&nbsp;&nbsp;&nbsp;&nbsp;&nbsp;&nbsp;&nbsp;&nbsp;&nbsp;&nbsp;&nbsp;&nbsp;&nbsp;&nbsp;&nbsp;&nbsp;&nbsp;&nbsp; และปฏิบัติตนได้ถูกต้อง</p>\n<p><strong>&nbsp;&nbsp;&nbsp; จุดประสงค์การเรียนรู้</strong></p>\n<ol>\n<li>วิเคราะห์หลักธรรม คติธรรม ที่เกี่ยวเนื่องกับวันสำคัญ และเทศกาลที่สำคัญทางศาสนาได้</li>\n</ol>\n<p>&nbsp; &nbsp; &nbsp; 2. ปฏิบัติตนในวันสำคัญทางศาสนาและเทศกาลสำคัญทางศาสนาได้ถูกต้องและเหมาะสม</p>\n<p>&nbsp; &nbsp; &nbsp; 3. นำหลักธรรม คติธรรมในวันสำคัญ และเทศกาลสำคัญทางพระพุทธศาสนาไปปฏิบัติในการดำเนินชีวิตประจำวันได้</p>\n<p>&nbsp;&nbsp;&nbsp; <strong>จะสังเกตเห็นว่า</strong></p>\n<p>&nbsp;&nbsp;&nbsp;&nbsp;&nbsp;&nbsp; จุดประสงค์การเรียนรู้ ข้อ 1-2 เป็นคำสำคัญที่กำหนดไว้ในตัวชี้วัด ส่วนจุดประสงค์การเรียนรู้ ข้อ 3 ไม่ใช่คำสำคัญที่กำหนดไว้ในตัวชี้วัด ซึ่งครู&nbsp;&nbsp; ผู้สอนต้องการให้เกิดประโยชน์กับการเรียนรู้ต่อผู้เรียน จึงกำหนดเพิ่มขึ้นครับ (และต้องสร้างเครื่องมือประเมินผู้เรียนให้ครบทุกจุดประสงค์การเรียนรู้)</p>\n<p>&nbsp;&nbsp;&nbsp;&nbsp;&nbsp;&nbsp;&nbsp;&nbsp; <strong>การเขียนสาระสำคัญ</strong> สาระสำคัญ คือ ผลึกความรู้ หรือแก่นความรู้ที่ต้องการให้ผู้เรียนบรรลุเป้าหมายการเรียนรู้ สาระสำคัญไม่ใช่เนื้อเรื่องย่อ ดังนั้น สาระสำคัญต้องไม่มีคำว่า หมายถึง คือ ได้แก่ เช่น เป็นต้น สาระสำคัญในหน่วย และในแผนก็ต่างกันครับ พิจารณาดี ๆ</p>\n<p><strong>&nbsp;&nbsp;&nbsp; ตัวอย่างการเขียนสาระสำคัญ</strong> หน่วยการเรียนรู้ที่ 1 เรื่อง วันสำคัญทางพระพุทธศาสนา รหัสวิชา ส33102 รายวิชา พระพุทธศาสนา 3 &nbsp; &nbsp;&nbsp;&nbsp;&nbsp;&nbsp;&nbsp;&nbsp;&nbsp; ชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 6 กลุ่มสาระการเรียนรู้ สังคมศึกษา ศาสนาและวัฒนธรรม</p>\n<p><strong>มาตรฐานการเรียนรู้/ตัวชี้วัด</strong></p>\n<p>&nbsp;&nbsp;&nbsp;&nbsp;&nbsp;&nbsp;&nbsp;&nbsp; ส1.2 ม.4-6/4 วิเคราะห์หลักธรรม คติธรรม ที่เกี่ยวเนื่องกับวันสำคัญทางศาสนา และเทศกาลที่สำคัญของศาสนาที่ตนนับถือ&nbsp;&nbsp;&nbsp;&nbsp;&nbsp;&nbsp;&nbsp;&nbsp;&nbsp;&nbsp;</p>\n<p>และปฏิบัติตนได้ถูกต้อง</p>\n<p><strong>&nbsp;&nbsp;&nbsp; สาระสำคัญ/ความคิดรวบยอด</strong></p>\n<p>&nbsp;&nbsp;&nbsp;&nbsp;&nbsp;&nbsp;&nbsp;&nbsp;&nbsp;&nbsp;&nbsp;&nbsp;&nbsp;&nbsp; การวิเคราะห์หลักธรรม คติธรรม ที่เกี่ยวเนื่องกับวันสำคัญ และเทศกาลที่สำคัญทางพุทธศาสนาได้ถูกต้อง ย่อมทำให้ได้ข้อคิดสำคัญ&nbsp;&nbsp;&nbsp;&nbsp;&nbsp; ซึ่งเป็นแนวทางไปสู่การปฏิบัติตนได้อย่างเหมาะสม</p>\n<p><strong>&nbsp;&nbsp;&nbsp; การเขียนสาระการเรียนรู้ </strong>ต้องกำหนดเนื้อหา หรือสาระการเรียนรู้ ให้สัมพันธ์ กับจุดประสงค์การเรียนรู้ เช่น</p>\n<p><strong>&nbsp;&nbsp;&nbsp; จุดประสงค์การเรียนรู้</strong></p>\n<ol>\n<li>วิเคราะห์หลักธรรม คติธรรม ที่เกี่ยวเนื่องกับวันสำคัญ และเทศกาลที่สำคัญทางศาสนาได้</li>\n</ol>\n<p>&nbsp; &nbsp; &nbsp; &nbsp;2. ปฏิบัติตนในวันสำคัญทางศาสนาและเทศกาลสำคัญทางศาสนาได้ถูกต้องและเหมาะสม</p>\n<p>&nbsp; &nbsp; &nbsp; &nbsp;3. นำหลักธรรม คติธรรมในวันสำคัญ และเทศกาลสำคัญทางพระพุทธศาสนาไปปฏิบัติในการดำเนินชีวิตประจำวันได้</p>\n<p>&nbsp;&nbsp;<strong>สาระการเรียนรู้</strong></p>\n<p>1. หลักธรรม คติธรรม ที่เกี่ยวเนื่องกับวันสำคัญ และเทศกาลที่สำคัญทางพุทธศาสนา</p>\n<p>2. การปฏิบัติตนในวันสำคัญทางศาสนาและเทศกาลสำคัญทางศาสนา</p>\n<p>3. การนำหลักธรรม คติธรรมในวันสำคัญ และเทศกาลสำคัญทางพระพุทธศาสนาไปใช้ในการดำเนินชีวิต</p>\n<p><strong>การกำหนดสมรรถนะสำคัญของผู้เรียน </strong>ให้พิจารณาจากตัวชี้วัด / จุดประสงค์การเรียนรู้ และกิจกรรมการเรียนรู้ ให้พิจารณาว่า กิจกรรมที่ครูออกแบบผู้เรียนใช้ทักษะอะไรบ้าง ซึ่งจะเกี่ยวข้องและสัมพันธ์กับสมรรถนะสำคัญของผู้เรียน ถ้าสังเกตดีๆ จะพบว่า สมรรถนะสำคัญของผู้เรียน ถูกกำหนดไว้&nbsp;&nbsp;&nbsp; อยู่ในทุกตัวชี้วัด และลองฝึกสังเกตดูครับ ผมจะยกตัวอย่างการกำหนดสมรรถนะสำคัญของผู้เรียน เช่น</p>\n<p><strong>สมรรถนะสำคัญของผู้เรียน </strong></p>\n<p><strong>&nbsp;&nbsp;&nbsp;&nbsp;&nbsp;&nbsp;&nbsp;&nbsp; ความสามารถในการคิด</strong></p>\n<ol>\n<li>ทักษะการวิเคราะห์ : ในกิจกรรมการเรียนกำหนดให้ผู้เรียนวิเคราะห์คำถามสำคัญ</li>\n<li>ทักษะการสร้างความรู้ : ในกิจกรรมการเรียนให้ผู้เรียนเรียนรู้ด้วยตนเอง และนำองค์ความรู้ไปใช้ในการสร้างชิ้นงาน</li>\n<li>ทักษะการนำความรู้ไปใช้ : ในกิจกรรมการเรียนให้ผู้เรียนนำหลักธรรม คติธรรมในวันสำคัญ และเทศกาลสำคัญไปปฏิบัติตนในการดำเนินชีวิต</li>\n</ol>\n<p><strong>&nbsp;&nbsp;&nbsp; &nbsp;&nbsp;&nbsp;&nbsp;&nbsp; ความสามารถในการใช้ทักษะชีวิต</strong></p>\n<p>&nbsp;&nbsp;&nbsp;&nbsp;&nbsp;&nbsp;&nbsp;&nbsp;&nbsp;&nbsp;&nbsp;&nbsp; 1. การใช้หลักธรรมในการดำเนินชีวิต และการปฏิบัติตนในวันสำคัญทางพุทธศาสนา&nbsp;&nbsp;&nbsp;&nbsp;&nbsp;&nbsp;&nbsp;&nbsp;&nbsp;&nbsp;&nbsp;&nbsp;&nbsp;&nbsp;&nbsp;&nbsp;&nbsp;&nbsp;&nbsp;&nbsp;&nbsp;&nbsp;&nbsp;&nbsp;&nbsp;&nbsp;&nbsp;</p>\n<p>&nbsp; &nbsp; &nbsp; &nbsp; &nbsp; &nbsp; &nbsp;2. การเรียนรู้ด้วยตนเองและการเรียนรู้อย่างต่อเนื่องทั้งในและนอกห้องเรียน</p>\n<p>&nbsp;&nbsp;&nbsp;&nbsp;&nbsp;&nbsp;&nbsp;&nbsp;&nbsp;&nbsp;&nbsp;&nbsp; 3. การทำงานกลุ่มร่วมกับผู้อื่นอย่างมีความสุข</p>\n<p><strong>&nbsp;&nbsp;&nbsp; &nbsp;&nbsp;&nbsp;&nbsp;&nbsp; ความสามารถในการใช้เทคโนโลยี </strong></p>\n<p>&nbsp;&nbsp;&nbsp;&nbsp;&nbsp;&nbsp;&nbsp;&nbsp;&nbsp;&nbsp;&nbsp;&nbsp; 1. การใช้โปรแกรม &nbsp;Mind Map &nbsp;ในการทำชิ้นงาน</p>\n<p>&nbsp;&nbsp;&nbsp;&nbsp;&nbsp;&nbsp;&nbsp;&nbsp;&nbsp;&nbsp;&nbsp;&nbsp; 2. การใช้อินเทอร์เน็ต ในการสืบค้นความรู้</p>\n<p>&nbsp;&nbsp;&nbsp;&nbsp;&nbsp;&nbsp;&nbsp;&nbsp;&nbsp;&nbsp;&nbsp;&nbsp; 3. การเรียนรู้ ผ่านห้องเรียนออนไลน์ &nbsp;Class Start &nbsp;ครูนครรัฐ&nbsp; โชติพรม</p>\n<p><strong>&nbsp;&nbsp;&nbsp; </strong><strong>&nbsp;&nbsp;&nbsp;&nbsp;&nbsp; ความสามารถในการสื่อสาร (ทั้งในส่วนของการพูดและเขียน)</strong></p>\n<p>&nbsp;&nbsp;&nbsp;&nbsp;&nbsp;&nbsp;&nbsp;&nbsp;&nbsp;&nbsp;&nbsp;&nbsp; 1. การนำเสนองาน การอภิปราย การอธิบาย การเขียนสื่อความ</p>\n<p>&nbsp;&nbsp;&nbsp;&nbsp;&nbsp;&nbsp;&nbsp;&nbsp;&nbsp;&nbsp;&nbsp;&nbsp; 2. การระดมสมอง การตอบคำถามระหว่างเรียน เป็นต้น</p>\n<p>&nbsp;&nbsp;&nbsp;&nbsp;&nbsp;&nbsp;&nbsp;&nbsp;&nbsp;&nbsp;&nbsp;&nbsp; <strong>สรุปว่า </strong>เราจะกำหนดสมรรถนะสำคัญของผู้เรียน โดยพิจารณาจากตัวชี้วัด จุดประสงค์การเรียนรู้ และกิจกรรมการเรียนรู้ ที่ครูออกแบบไว้ในแต่ละชั่วโมง ครับ ที่สำคัญครู ต้องสร้างเครื่องมือในการประเมินสมรรถนะสำคัญของผู้เรียนด้วย</p>\n<p><strong>&nbsp;&nbsp;&nbsp; การกำหนดคุณลักษณะอันพึงประสงค์</strong> ให้พิจารณาจากตัวชี้วัด / จุดประสงค์การเรียนรู้ และกิจกรรมการเรียนรู้ที่ครูออกแบบไว้ในแต่ละชั่วโมง&nbsp; ว่าผู้เรียนต้องมีคุณลักษณะอันพึงประสงค์อย่างไรบ้าง ซึ่งต้องสอดคล้องกันกับตัวชี้วัดนั้น ๆ ครับ และต้องสร้างเครื่องมือในการประเมินคุณลักษณะอันพึงประสงค์ของผู้เรียนด้วย เช่น</p>\n<p>&nbsp;&nbsp;&nbsp;&nbsp;&nbsp;&nbsp;&nbsp;&nbsp;&nbsp;&nbsp;&nbsp;&nbsp; 1. มีวินัย&nbsp;&nbsp;&nbsp;&nbsp; 2. ใฝ่เรียนรู้&nbsp;&nbsp;&nbsp;&nbsp; 3. มีความรับผิดชอบ เป็นต้น&nbsp; (เฉพาะที่เกี่ยวข้องเท่านั้น)</p>\n<p>&nbsp;&nbsp;&nbsp; <strong>การกำหนดชั่วโมงการสอนในแต่ละหน่วย</strong> กำหนดอย่างไร ให้พิจารณาว่า รายวิชาที่เราสอน มีกี่หน่วยกิต ถ้า 0.5 ก็ 20 ชั่วโมง ถ้า 1.0 เท่ากับ 40 ชั่วโมง หน่วยใดจะใช้ชั่วโมงเรียน&nbsp;&nbsp; มากน้อยต่างกันอย่างไร ให้พิจารณาความยากง่าย หรือความเข้มข้นของตัวชี้วัด จำนวนตัวชี้วัดเป็นสำคัญ &nbsp;เช่น หน่วยที่ 1 เรื่อง หลักธรรม ในกรอบอริยสัจ 4 มีรายละเอียดของตัวชี้วัดค่อนข้างยาก ตัวชี้วัดมีจำนวนหลายตัว ตัวชี้วัดแต่ละตัวมีความเข้มข้นมาก ก็ต้องใช้เวลาในการเรียนหลายชั่วโมง อาจจะ 3-5 ชั่วโมง หรือ 6 ชั่วโมง ก็ขึ้นอยู่กับปัจจัยที่กล่าวมาแล้วครับ เพื่อให้เกิดความชัดเจน ครูต้องกำหนดโครงสร้างรายวิชาไว้ให้ครบทั้งภาคเรียน และเมื่อนำไปสอนแล้วเวลามากน้อยเพียงใด ครูผู้สอนก็สามารถปรับ ลด เพิ่มเติมจำนวนชั่วโมงในแต่ละหน่วยได้ตามความเหมาะสมครับ เหมาะสมในที่นี้ หมายถึง เหมาะสมตามหลักวิชาการครับ ไม่ใช่เหมาะสม ตามใจตนเอง หรือตามความรู้สึกของตนเอง</p>\n<p>&nbsp;&nbsp;&nbsp; <strong>การกำหนดน้ำหนักคะแนนในแต่ละหน่วย กำหนดอย่างไร</strong> จึงจะเหมาะสม และน่าเชื่อถือ</p>\n<p>ให้พิจารณาจากจำนวนชั่วโมง ในแต่ละหน่วยเป็นสำคัญ ทั้งนี้ต้องผ่านการวิเคราะห์อย่างลึกซึ้ง&nbsp; จากการกำหนดชั่วโมงการสอนในแต่ละหน่วย ในข้างต้นมาอย่างมีคุณภาพ ดังนั้น การกำหนดน้ำหนักคะแนน ในแต่ละหน่วยสามารถทำได้ ดังนี้</p>\n<p>&nbsp;&nbsp;&nbsp;&nbsp;&nbsp;&nbsp;&nbsp;&nbsp; ตัวอย่าง เช่น รายวิชา พระพุทธศาสนา 3 จำนวน 1 หน่วยกิต 40 ชั่วโมง ประกอบด้วยหน่วยการเรียนรู้ จำนวน 6 หน่วย</p>\n<p>&nbsp;&nbsp;&nbsp;&nbsp;&nbsp;&nbsp;&nbsp;&nbsp; หน่วยการเรียนรู้ที่ 1 เรื่อง............จำนวน&nbsp;&nbsp; 3 ชัวโมง&nbsp; น้ำหนักคะแนน&nbsp; 7&nbsp; &nbsp;คะแนน</p>\n<p>&nbsp;&nbsp;&nbsp;&nbsp;&nbsp;&nbsp;&nbsp;&nbsp; หน่วยการเรียนรู้ที่ 2 เรื่อง............จำนวน&nbsp;&nbsp; 6 ชัวโมง&nbsp; น้ำหนักคะแนน&nbsp; 15&nbsp; คะแนน</p>\n<p>&nbsp;&nbsp;&nbsp;&nbsp;&nbsp;&nbsp;&nbsp;&nbsp; หน่วยการเรียนรู้ที่ 3 เรื่อง............จำนวน&nbsp;&nbsp; 5 ชัวโมง&nbsp; น้ำหนักคะแนน&nbsp; 12&nbsp; คะแนน</p>\n<p>&nbsp;&nbsp;&nbsp;&nbsp;&nbsp;&nbsp;&nbsp;&nbsp; หน่วยการเรียนรู้ที่ 4 เรื่อง............จำนวน&nbsp;&nbsp; 4 ชัวโมง&nbsp; น้ำหนักคะแนน&nbsp; 10&nbsp; คะแนน</p>\n<p>&nbsp;&nbsp;&nbsp;&nbsp;&nbsp;&nbsp;&nbsp;&nbsp; หน่วยการเรียนรู้ที่ 5 เรื่อง............จำนวน&nbsp;&nbsp; 8 ชัวโมง&nbsp; น้ำหนักคะแนน&nbsp; 21&nbsp; คะแนน</p>\n<p>&nbsp;&nbsp;&nbsp;&nbsp;&nbsp;&nbsp;&nbsp;&nbsp; หน่วยการเรียนรู้ที่ 6 เรื่อง............จำนวน&nbsp;&nbsp; 7 ชัวโมง&nbsp; น้ำหนักคะแนน&nbsp; 18&nbsp; คะแนน</p>\n<p>&nbsp;&nbsp;&nbsp;&nbsp;&nbsp;&nbsp;&nbsp;&nbsp; หน่วยการเรียนรู้ที่ 7 เรื่อง............จำนวน&nbsp;&nbsp; 3 ชัวโมง&nbsp; น้ำหนักคะแนน&nbsp; &nbsp;7&nbsp;&nbsp; คะแนน</p>\n<p>&nbsp;&nbsp;&nbsp;&nbsp;&nbsp;&nbsp;&nbsp;&nbsp; หน่วยการเรียนรู้ที่ 8 เรื่อง............จำนวน&nbsp;&nbsp; 4 ชัวโมง&nbsp; น้ำหนักคะแนน&nbsp; 10&nbsp; คะแนน</p>\n<p><strong>&nbsp;&nbsp;&nbsp;&nbsp;&nbsp;&nbsp;&nbsp;&nbsp; &nbsp;&nbsp;&nbsp;&nbsp;&nbsp;&nbsp;&nbsp;&nbsp;&nbsp;&nbsp;&nbsp;&nbsp;&nbsp;&nbsp;&nbsp;&nbsp;&nbsp;&nbsp; 1 หน่วยกิต รวม 40 ชั่วโมง&nbsp; รวมน้ำหนักคะแนน 100 คะแนน</strong></p>\n<p><strong>&nbsp;&nbsp;&nbsp; หมายเหตุ </strong>ในกรณีคะแนนไม่ครบ 100 คะแนน เมื่อรวมคะแนนทุกหน่วยจากจำหน่วย 40 ชั่วโมง ก็สามารถปรับเพิ่มได้ตามความเหมาะสม &nbsp;&nbsp;&nbsp;&nbsp;&nbsp;&nbsp;&nbsp;&nbsp; ในหน่วยการเรียนรู้ที่ใช้เวลาเรียนจำนวนมาก คะแนนก็ควรมากตามไปด้วย ทั้งนี้ต้องสัมพันธ์กันระหว่างเวลาเรียนในแต่ละหน่วยกับน้ำหนักคะแนน&nbsp;&nbsp;&nbsp;&nbsp;&nbsp; รายหน่วย</p>\n<p><strong>วิธีการกำหนดน้ำหนักคะแนนรายหน่วย</strong></p>\n<p>&nbsp;&nbsp;&nbsp;&nbsp;&nbsp;&nbsp;&nbsp;&nbsp;&nbsp; จำนวนชั่วโมง คูณ 100 หารด้วย หน่วยกิต&nbsp; เช่น หน่วยที่ 1 จำนวน 3 ชั่วโมง คูณ 100 หารด้วย 40 เท่ากับ 7 คะแนน</p>\n<p>เราก็จะได้ น้ำหนักคะแนนที่มีคุณภาพสัมพันธ์กับตัวชี้วัดและความยากง่ายของตัวชี้วัดนั้น ๆ ครับ</p>\n', created = 1714178788, expire = 1714265188, headers = '', serialized = 0 WHERE cid = '3:faffe669b61e4a261d95ee9eee9652a0' in /home/tgv/htdocs/includes/cache.inc on line 112.

ออกแบบการเรียนรู้อย่างไร ให้ตรงมาตรฐานการเรียนรู้และตัวชี้วัด

รูปภาพของ TeacherNakhonrat

 

การออกแบบการเรียนรู้

อิงมาตรฐานการเรียนรู้/ตัวชี้วัด หลักสูตรแกนกลางการศึกษาขั้นพื้นฐาน พุทธศักราช 2551

โดย...ครูนครรัฐ   โชติพรม  ครูโรงเรียนมวกเหล็กวิทยา จ.สระบุรี

          การออกแบบการเรียนรู้ ในระดับหน่วยการเรียน เป็นหัวใจสำคัญที่ทำให้ผู้เรียนมีความรู้ ทักษะและคุณลักษณะอันพึงประสงค์ ตามที่หลักสูตรต้องการ ดังนั้น ครูผู้สอนจึงต้องมีความรอบรู้ รู้ลึก รู้จริง ในสิ่งที่ตนเองจะสอน ก็คือ รู้และเข้าใจตัวชี้วัดในหน่วยนั้น ๆ อย่างลึกซึ้ง ซึ่งผมจะยกตัวอย่าง  ให้เห็นเป็นรูปธรรม เช่น

หน่วยการเรียนรู้ที่ 1 เรื่อง วันสำคัญทางพระพุทธศาสนา  รหัสวิชา ส33102 รายวิชา พระพุทธศาสนา 3 ชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 6         กลุ่มสาระการเรียนรู้  สังคมศึกษา ศาสนาและวัฒนธรรม

มาตรฐานการเรียนรู้/ตัวชี้วัด

         ส1.2 ม.4-6/4 วิเคราะห์หลักธรรม คติธรรม ที่เกี่ยวเนื่องกับวันสำคัญทางศาสนา และเทศกาลที่สำคัญของศาสนาที่ตนนับถือ และปฏิบัติตนได้ถูกต้อง

         ตัวชี้วัดที่ 4 มีคำสำคัญ 2 คำ คือ วิเคราะห์  และปฏิบัติตน  ดังนั้น ครูผู้สอนต้องตั้งสติ และรวมรวมมวลความรู้ที่มี เพื่อนำมาใช้เป็นฐานในการออกแบบการเรียนรู้ ว่า...ผู้เรียนต้องรู้อะไรบ้าง

(เนื้อหาหรือสาระการเรียนรู้ ) และผู้เรียนต้องทำอะไรได้บ้าง (วิเคระห์อะไร ปฏิบัติอย่างไร หรืออธิบายอะไร แปลความ ตีความ สำรวจ) เป็นต้น

         ผู้เรียนต้องรู้อะไรบ้าง (เนื้อหา หรือสาระการเรียนรู้)

             1. หลักธรรม คติธรรม ที่เกี่ยวเนื่องกับวันสำคัญ และเทศกาลที่สำคัญทางพุทธศาสนา

             2. การปฏิบัติตนในวันสำคัญทางศาสนาและเทศกาลสำคัญทางศาสนา

             3. การนำหลักธรรม คติธรรม ในวันสำคัญและเทศกาลสำคัญทางพระพุทธศาสนาไปปฏิบัติในการดำเนินชีวิตประจำวันได้

          ผู้เรียนต้องทำอะไรได้บ้าง จากตัวชี้วัด มีคำสำคัญ 2 คำ คือ วิเคราะห์  และปฏิบัติตน

ซึ่งเราต้องกำหนดเป็นจุดประสงค์การเรียนรู้ หลักการกำหนดจุดประสงค์การเรียนรู้ เราต้องกำหนดจากคำสำคัญที่กำหนดในตัวชี้วัดเป็นสำคัญ           ดังนั้น ผู้เรียนต้องวิเคราะห์อะไรได้ และปฏิบัติอะไรได้ ปฏิบัติอย่างไร และเราสามารถกำหนดจุดประสงค์การเรียนรู้ เพิ่มเติม จากคำสำคัญได้หรือไม่    ได้ครับ แต่จุดประสงค์ที่จะเพิ่มไปนั้น ต้องสัมพันธ์กับตัวชี้วัด หรือเกิดประโยชน์กับผู้เรียนอย่างแท้จริง และที่สำคัญ  ต้องกำหนดจุดประสงค์การเรียนรู้ ให้ครบ ตามประเด็นของคำสำคัญที่ตัวชี้วัดนั้น ๆ กำหนดไว้ ดังตัวอย่าง เช่น

         ส1.2 ม.4-6/4 วิเคราะห์หลักธรรม คติธรรม ที่เกี่ยวเนื่องกับวันสำคัญทางศาสนาและเทศกาลที่สำคัญของศาสนาที่ตนนับถือ                    และปฏิบัติตนได้ถูกต้อง

    จุดประสงค์การเรียนรู้

  1. วิเคราะห์หลักธรรม คติธรรม ที่เกี่ยวเนื่องกับวันสำคัญ และเทศกาลที่สำคัญทางศาสนาได้

      2. ปฏิบัติตนในวันสำคัญทางศาสนาและเทศกาลสำคัญทางศาสนาได้ถูกต้องและเหมาะสม

      3. นำหลักธรรม คติธรรมในวันสำคัญ และเทศกาลสำคัญทางพระพุทธศาสนาไปปฏิบัติในการดำเนินชีวิตประจำวันได้

    จะสังเกตเห็นว่า

       จุดประสงค์การเรียนรู้ ข้อ 1-2 เป็นคำสำคัญที่กำหนดไว้ในตัวชี้วัด ส่วนจุดประสงค์การเรียนรู้ ข้อ 3 ไม่ใช่คำสำคัญที่กำหนดไว้ในตัวชี้วัด ซึ่งครู   ผู้สอนต้องการให้เกิดประโยชน์กับการเรียนรู้ต่อผู้เรียน จึงกำหนดเพิ่มขึ้นครับ (และต้องสร้างเครื่องมือประเมินผู้เรียนให้ครบทุกจุดประสงค์การเรียนรู้)

         การเขียนสาระสำคัญ สาระสำคัญ คือ ผลึกความรู้ หรือแก่นความรู้ที่ต้องการให้ผู้เรียนบรรลุเป้าหมายการเรียนรู้ สาระสำคัญไม่ใช่เนื้อเรื่องย่อ ดังนั้น สาระสำคัญต้องไม่มีคำว่า หมายถึง คือ ได้แก่ เช่น เป็นต้น สาระสำคัญในหน่วย และในแผนก็ต่างกันครับ พิจารณาดี ๆ

    ตัวอย่างการเขียนสาระสำคัญ หน่วยการเรียนรู้ที่ 1 เรื่อง วันสำคัญทางพระพุทธศาสนา รหัสวิชา ส33102 รายวิชา พระพุทธศาสนา 3            ชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 6 กลุ่มสาระการเรียนรู้ สังคมศึกษา ศาสนาและวัฒนธรรม

มาตรฐานการเรียนรู้/ตัวชี้วัด

         ส1.2 ม.4-6/4 วิเคราะห์หลักธรรม คติธรรม ที่เกี่ยวเนื่องกับวันสำคัญทางศาสนา และเทศกาลที่สำคัญของศาสนาที่ตนนับถือ          

และปฏิบัติตนได้ถูกต้อง

    สาระสำคัญ/ความคิดรวบยอด

               การวิเคราะห์หลักธรรม คติธรรม ที่เกี่ยวเนื่องกับวันสำคัญ และเทศกาลที่สำคัญทางพุทธศาสนาได้ถูกต้อง ย่อมทำให้ได้ข้อคิดสำคัญ      ซึ่งเป็นแนวทางไปสู่การปฏิบัติตนได้อย่างเหมาะสม

    การเขียนสาระการเรียนรู้ ต้องกำหนดเนื้อหา หรือสาระการเรียนรู้ ให้สัมพันธ์ กับจุดประสงค์การเรียนรู้ เช่น

    จุดประสงค์การเรียนรู้

  1. วิเคราะห์หลักธรรม คติธรรม ที่เกี่ยวเนื่องกับวันสำคัญ และเทศกาลที่สำคัญทางศาสนาได้

       2. ปฏิบัติตนในวันสำคัญทางศาสนาและเทศกาลสำคัญทางศาสนาได้ถูกต้องและเหมาะสม

       3. นำหลักธรรม คติธรรมในวันสำคัญ และเทศกาลสำคัญทางพระพุทธศาสนาไปปฏิบัติในการดำเนินชีวิตประจำวันได้

  สาระการเรียนรู้

1. หลักธรรม คติธรรม ที่เกี่ยวเนื่องกับวันสำคัญ และเทศกาลที่สำคัญทางพุทธศาสนา

2. การปฏิบัติตนในวันสำคัญทางศาสนาและเทศกาลสำคัญทางศาสนา

3. การนำหลักธรรม คติธรรมในวันสำคัญ และเทศกาลสำคัญทางพระพุทธศาสนาไปใช้ในการดำเนินชีวิต

การกำหนดสมรรถนะสำคัญของผู้เรียน ให้พิจารณาจากตัวชี้วัด / จุดประสงค์การเรียนรู้ และกิจกรรมการเรียนรู้ ให้พิจารณาว่า กิจกรรมที่ครูออกแบบผู้เรียนใช้ทักษะอะไรบ้าง ซึ่งจะเกี่ยวข้องและสัมพันธ์กับสมรรถนะสำคัญของผู้เรียน ถ้าสังเกตดีๆ จะพบว่า สมรรถนะสำคัญของผู้เรียน ถูกกำหนดไว้    อยู่ในทุกตัวชี้วัด และลองฝึกสังเกตดูครับ ผมจะยกตัวอย่างการกำหนดสมรรถนะสำคัญของผู้เรียน เช่น

สมรรถนะสำคัญของผู้เรียน

         ความสามารถในการคิด

  1. ทักษะการวิเคราะห์ : ในกิจกรรมการเรียนกำหนดให้ผู้เรียนวิเคราะห์คำถามสำคัญ
  2. ทักษะการสร้างความรู้ : ในกิจกรรมการเรียนให้ผู้เรียนเรียนรู้ด้วยตนเอง และนำองค์ความรู้ไปใช้ในการสร้างชิ้นงาน
  3. ทักษะการนำความรู้ไปใช้ : ในกิจกรรมการเรียนให้ผู้เรียนนำหลักธรรม คติธรรมในวันสำคัญ และเทศกาลสำคัญไปปฏิบัติตนในการดำเนินชีวิต

          ความสามารถในการใช้ทักษะชีวิต

             1. การใช้หลักธรรมในการดำเนินชีวิต และการปฏิบัติตนในวันสำคัญทางพุทธศาสนา                           

             2. การเรียนรู้ด้วยตนเองและการเรียนรู้อย่างต่อเนื่องทั้งในและนอกห้องเรียน

             3. การทำงานกลุ่มร่วมกับผู้อื่นอย่างมีความสุข

          ความสามารถในการใช้เทคโนโลยี

             1. การใช้โปรแกรม  Mind Map  ในการทำชิ้นงาน

             2. การใช้อินเทอร์เน็ต ในการสืบค้นความรู้

             3. การเรียนรู้ ผ่านห้องเรียนออนไลน์  Class Start  ครูนครรัฐ  โชติพรม

          ความสามารถในการสื่อสาร (ทั้งในส่วนของการพูดและเขียน)

             1. การนำเสนองาน การอภิปราย การอธิบาย การเขียนสื่อความ

             2. การระดมสมอง การตอบคำถามระหว่างเรียน เป็นต้น

             สรุปว่า เราจะกำหนดสมรรถนะสำคัญของผู้เรียน โดยพิจารณาจากตัวชี้วัด จุดประสงค์การเรียนรู้ และกิจกรรมการเรียนรู้ ที่ครูออกแบบไว้ในแต่ละชั่วโมง ครับ ที่สำคัญครู ต้องสร้างเครื่องมือในการประเมินสมรรถนะสำคัญของผู้เรียนด้วย

    การกำหนดคุณลักษณะอันพึงประสงค์ ให้พิจารณาจากตัวชี้วัด / จุดประสงค์การเรียนรู้ และกิจกรรมการเรียนรู้ที่ครูออกแบบไว้ในแต่ละชั่วโมง  ว่าผู้เรียนต้องมีคุณลักษณะอันพึงประสงค์อย่างไรบ้าง ซึ่งต้องสอดคล้องกันกับตัวชี้วัดนั้น ๆ ครับ และต้องสร้างเครื่องมือในการประเมินคุณลักษณะอันพึงประสงค์ของผู้เรียนด้วย เช่น

             1. มีวินัย     2. ใฝ่เรียนรู้     3. มีความรับผิดชอบ เป็นต้น  (เฉพาะที่เกี่ยวข้องเท่านั้น)

    การกำหนดชั่วโมงการสอนในแต่ละหน่วย กำหนดอย่างไร ให้พิจารณาว่า รายวิชาที่เราสอน มีกี่หน่วยกิต ถ้า 0.5 ก็ 20 ชั่วโมง ถ้า 1.0 เท่ากับ 40 ชั่วโมง หน่วยใดจะใช้ชั่วโมงเรียน   มากน้อยต่างกันอย่างไร ให้พิจารณาความยากง่าย หรือความเข้มข้นของตัวชี้วัด จำนวนตัวชี้วัดเป็นสำคัญ  เช่น หน่วยที่ 1 เรื่อง หลักธรรม ในกรอบอริยสัจ 4 มีรายละเอียดของตัวชี้วัดค่อนข้างยาก ตัวชี้วัดมีจำนวนหลายตัว ตัวชี้วัดแต่ละตัวมีความเข้มข้นมาก ก็ต้องใช้เวลาในการเรียนหลายชั่วโมง อาจจะ 3-5 ชั่วโมง หรือ 6 ชั่วโมง ก็ขึ้นอยู่กับปัจจัยที่กล่าวมาแล้วครับ เพื่อให้เกิดความชัดเจน ครูต้องกำหนดโครงสร้างรายวิชาไว้ให้ครบทั้งภาคเรียน และเมื่อนำไปสอนแล้วเวลามากน้อยเพียงใด ครูผู้สอนก็สามารถปรับ ลด เพิ่มเติมจำนวนชั่วโมงในแต่ละหน่วยได้ตามความเหมาะสมครับ เหมาะสมในที่นี้ หมายถึง เหมาะสมตามหลักวิชาการครับ ไม่ใช่เหมาะสม ตามใจตนเอง หรือตามความรู้สึกของตนเอง

    การกำหนดน้ำหนักคะแนนในแต่ละหน่วย กำหนดอย่างไร จึงจะเหมาะสม และน่าเชื่อถือ

ให้พิจารณาจากจำนวนชั่วโมง ในแต่ละหน่วยเป็นสำคัญ ทั้งนี้ต้องผ่านการวิเคราะห์อย่างลึกซึ้ง  จากการกำหนดชั่วโมงการสอนในแต่ละหน่วย ในข้างต้นมาอย่างมีคุณภาพ ดังนั้น การกำหนดน้ำหนักคะแนน ในแต่ละหน่วยสามารถทำได้ ดังนี้

         ตัวอย่าง เช่น รายวิชา พระพุทธศาสนา 3 จำนวน 1 หน่วยกิต 40 ชั่วโมง ประกอบด้วยหน่วยการเรียนรู้ จำนวน 6 หน่วย

         หน่วยการเรียนรู้ที่ 1 เรื่อง............จำนวน   3 ชัวโมง  น้ำหนักคะแนน  7   คะแนน

         หน่วยการเรียนรู้ที่ 2 เรื่อง............จำนวน   6 ชัวโมง  น้ำหนักคะแนน  15  คะแนน

         หน่วยการเรียนรู้ที่ 3 เรื่อง............จำนวน   5 ชัวโมง  น้ำหนักคะแนน  12  คะแนน

         หน่วยการเรียนรู้ที่ 4 เรื่อง............จำนวน   4 ชัวโมง  น้ำหนักคะแนน  10  คะแนน

         หน่วยการเรียนรู้ที่ 5 เรื่อง............จำนวน   8 ชัวโมง  น้ำหนักคะแนน  21  คะแนน

         หน่วยการเรียนรู้ที่ 6 เรื่อง............จำนวน   7 ชัวโมง  น้ำหนักคะแนน  18  คะแนน

         หน่วยการเรียนรู้ที่ 7 เรื่อง............จำนวน   3 ชัวโมง  น้ำหนักคะแนน   7   คะแนน

         หน่วยการเรียนรู้ที่ 8 เรื่อง............จำนวน   4 ชัวโมง  น้ำหนักคะแนน  10  คะแนน

                            1 หน่วยกิต รวม 40 ชั่วโมง  รวมน้ำหนักคะแนน 100 คะแนน

    หมายเหตุ ในกรณีคะแนนไม่ครบ 100 คะแนน เมื่อรวมคะแนนทุกหน่วยจากจำหน่วย 40 ชั่วโมง ก็สามารถปรับเพิ่มได้ตามความเหมาะสม          ในหน่วยการเรียนรู้ที่ใช้เวลาเรียนจำนวนมาก คะแนนก็ควรมากตามไปด้วย ทั้งนี้ต้องสัมพันธ์กันระหว่างเวลาเรียนในแต่ละหน่วยกับน้ำหนักคะแนน      รายหน่วย

วิธีการกำหนดน้ำหนักคะแนนรายหน่วย

          จำนวนชั่วโมง คูณ 100 หารด้วย หน่วยกิต  เช่น หน่วยที่ 1 จำนวน 3 ชั่วโมง คูณ 100 หารด้วย 40 เท่ากับ 7 คะแนน

เราก็จะได้ น้ำหนักคะแนนที่มีคุณภาพสัมพันธ์กับตัวชี้วัดและความยากง่ายของตัวชี้วัดนั้น ๆ ครับ

มหาวิทยาลัยศรีปทุม ผู้ใหญ่ใจดี
 

 ช่วยด้วยครับ
นักเรียนที่สร้างบล็อก กรุณาอย่า
คัดลอกข้อมูลจากเว็บอื่นทั้งหมด
ควรนำมาจากหลายๆ เว็บ แล้ววิเคราะห์ สังเคราะห์ และเขียนขึ้นใหม่
หากคัดลอกทั้งหมด จะถูกดำเนินคดี
ตามกฎหมายจากเจ้าของลิขสิทธิ์
มีโทษทั้งจำคุกและปรับในอัตราสูง

ช่วยกันนะครับ 
ไทยกู๊ดวิวจะได้อยู่นานๆ 
ไม่ถูกปิดเสียก่อน

ขอขอบคุณในความร่วมมือครับ

อ่านรายละเอียด

ด่วน...... ขณะนี้
พระราชบัญญัติลิขสิทธิ์ (ฉบับที่ 2) พ.ศ. 2558 
มีผลบังคับใช้แล้ว 
ขอให้นักเรียนและคุณครูที่ใช้งาน
เว็บ thaigoodview ในการส่งการบ้าน
ระมัดระวังการละเมิดลิขสิทธิ์ด้วย
อ่านรายละเอียดที่นี่ครับ

 

สมาชิกที่ออนไลน์

ขณะนี้มี สมาชิก 0 คน และ ผู้เยี่ยมชม 572 คน กำลังออนไลน์