• user warning: Table 'cache_filter' is marked as crashed and should be repaired query: SELECT data, created, headers, expire, serialized FROM cache_filter WHERE cid = '3:98acf40ba641f070947000c14b24b972' in /home/tgv/htdocs/includes/cache.inc on line 27.
  • user warning: Table 'cache_filter' is marked as crashed and should be repaired query: UPDATE cache_filter SET data = '<!--paging_filter--><p align=\"center\" style=\"text-indent: 0.5in; text-align: justify\" class=\"MsoNormal\">\n<b><i><span style=\"font-size: 20pt; font-family: \'Angsana New\', \'serif\'\" lang=\"TH\"></span></i></b></p>\n<div style=\"text-align: center\">\n<img border=\"0\" width=\"250\" src=\"/files/u20/image008_1_.jpg\" height=\"188\" />\n</div>\n<p>\n</p>\n<p style=\"text-indent: 0.5in; text-align: justify\" class=\"MsoNormal\">\n<b><i><span style=\"font-size: 16pt; font-family: \'Angsana New\', \'serif\'\">“<span lang=\"TH\">เก้าอี้กระดาษกว่า  30  ตัว  วางเรียงรายเป็นแถว  ลักษณะของโครงสร้าง  ลวดลาย  สีก็แตกต่างกัน  ซึ่งเก้าอี้แต่ละตัวมีเพียงตัวเดียวในประเทศไทย</span>”</span></i></b><span style=\"font-size: 16pt; font-family: \'Angsana New\', \'serif\'\">  <span lang=\"TH\">เก้าอี้กระดาษดังกล่าว  ถูกออกแบบโดยว่าที่สถาปนิกในอนาคต  นักศึกษาชั้นปีที่  5  ภาควิชาสถาปัตยกรรมภายใน  คณะสถาปัตยกรรมศาสตร์  มหาวิทยาลัยเทคโนโลยีราชมงคล  (มทร. )  ธัญบุรี   กว่า  30  ชีวิต  ที่ได้ออกแบบเก้าอี้กระดาษสำหรับเด็กพิการทางสมอง  ให้แก่มูลนิธิเพื่อเด็กพิการ  กทม.</span></span>\n</p>\n<p style=\"text-indent: 0.5in; text-align: justify\" class=\"MsoNormal\">\n<span style=\"font-size: 16pt; font-family: \'Angsana New\', \'serif\'\" lang=\"TH\">ผศ.ธีรวัลย์  วรรธโนทัย  คณบดีคณะสถาปัตยกรรมศาสตร์  เล่าว่า  เก้าอี้กระดาษสำหรับเด็กพิการทางสมอง  ที่มอบให้แก่มูลนิธิเพื่อเด็กพิการ  กทม.  เป็นหนึ่งในวิชาเรียนออกแบบเครื่องเรือนสำเร็จรูป  ของคณะสถาปัตยกรรมศาสตร์  ที่ต้องเรียนเกี่ยวกับการออกแบบเฟอร์นิเจอร์  นักศึกษาได้ลงมือปฏิบัติจริง  และต้องนำชิ้นงานไปใช้ได้จริง  เก้าอี้กระดาษสำหรับเด็กพิการแต่ละตัว  จะมีลักษณะที่แตกต่างกัน  เพราะว่า  จะต้องออกแบบให้มีความเหมาะสมเข้ากับสรีระของเด็กแต่ละคน  นอกจากนักศึกษาจะได้เรียนรู้การปฏิบัติงานจริง  ยังได้ความสุขทางใจคือการให้ที่บริสุทธิ์ใจ  </span><span style=\"font-size: 16pt; font-family: \'Angsana New\', \'serif\'\"></span>\n</p>\n<p style=\"text-indent: 0.5in; text-align: justify\" class=\"MsoNormal\">\n<span style=\"font-size: 16pt; font-family: \'Angsana New\', \'serif\'\" lang=\"TH\">นางอรนารถ  ดวงอุดม  รองประธานและกรรมการมูลนิธิเพื่อเด็กพิการทางสมอง  เล่าว่า  ทางมูลนิธิเพื่อเด็กพิการ  กทม.  ต้องการที่จะพัฒนาและฟื้นฟูเด็กพิการทางสมองเป็นกลุ่มหลัก  ซึ่งในแต่ปีมีเด็กพิการทางสมองมาใช้บริการประมาณ  200-300  คน  ซึ่งคนส่วนใหญ่เข้าใจว่าเด็กพวกนี้ไม่สามารถฟื้นฟูได้  เก้าอี้กระดาษสำหรับเด็กพิการ  ฝีมือนักศึกษาเป็นสิ่งที่ทางมูลนิธิต้องการมาก  เนื่องจากทางมูลนิธิได้อาสาสมัครจากญี่ปุ่นมาสอนผู้ปกครองทำเก้าอี้สำหรับเด็กๆ  แต่ด้วยผู้ปกครองไม่มีพื้นฐานในการออกแบบจึงไม่ประสบความสำเร็จเท่าที่ควร  สำหรับน้องๆนักศึกษา  ที่มีพื้นฐานในการออกแบบ  รู้หลักและวิธีการในการทำ  เก้าอี้กระดาษดังกล่าว  จะส่งผลต่อตัวเด็กโดยตรง  การทรงตัว  การนั่ง    เพราะว่า  เด็กพิการทางสมองจะมีปัญหาทางด้านสมองส่วนควบคุมกล้ามเนื้อ</span><span style=\"font-size: 16pt; font-family: \'Angsana New\', \'serif\'\"></span>\n</p>\n<p style=\"text-indent: 0.5in; text-align: justify\" class=\"MsoNormal\">\n<span style=\"font-size: 16pt; font-family: \'Angsana New\', \'serif\'\">“<span lang=\"TH\">ณัฐ</span>”  <span lang=\"TH\">น.ส.ณัฐิยา  เพ็ชรดี  นักศึกษาชั้นปีที่  5  ภาควิชาสถาปัตยกรรมภายใน  คณะสถาปัตยกรรมศาสตร์  ว่าที่สถาปนิกสาว  ผู้ออกแบบและประดิษฐ์เก้าอี้กระดาษให้</span>  <b><i>“<span lang=\"TH\">น้องพลอย</span>”</i></b><i><span lang=\"TH\">  </span></i><span lang=\"TH\">(อายุ  10  ขวบ)  เล่าว่า  หลังจากที่ตนเองได้วัดสัดส่วนของน้อง และสัมภาษณ์ผู้ปกครองเกี่ยวกับความต้องการ  ก็ออกแบบเก้าอี้โดยเก้าอี้กระดาษมีความเอียง  70  องศา  มีหมอนล๊อคคอ  เพราะว่า  จากการสังเกตเห็นว่าคอน้องจะเอียง  หมอนจะมีลอยบุ๋มตรงศีรษะเวลาน้องพิงก็จะล๊อคคอน้องได้พอดี  จะได้ไม่เอียง    มีถาดอาหารไว้สำหรับตอนที่น้องวางมือ  หรือว่าเวลาทานข้าวน้องจะได้หันหยิบช้อน  สายรัด  2  ตำแหน่ง  คือ  สายรัดหน้าอก  และตรงต้นขา  เพื่อป้องกันน้องไหลลงจากเก้าอี้กระดาษ  </span><b><i>“<span lang=\"TH\">ดีใจมากที่ได้ออกแบบเก้าอี้กระดาษสำหรับน้องๆ  อย่างน้อยเก้าอี้กระดาษที่ออกแบบก็สามารถช่วยน้องในการทรงตัว</span>”</i></b><span lang=\"TH\">      </span></span>\n</p>\n<p style=\"text-indent: 0.5in; text-align: justify\" class=\"MsoNormal\">\n<span style=\"font-size: 16pt; font-family: \'Angsana New\', \'serif\'\" lang=\"TH\">เพื่อนร่วมชั้นเรียนของณัฐ  หนุ่มสถาปนิกอนาคตไกล    </span><span style=\"font-size: 16pt; font-family: \'Angsana New\', \'serif\'\">“<span lang=\"TH\">ปัด</span>”  <span lang=\"TH\">นายปรัชญา  ธูปกระแจะ  เล่าว่า  ตนเองได้รับเคส  </span>“<span lang=\"TH\">น้องเบ๊บ</span>”  <span lang=\"TH\">(อายุ  12  ปี)  ซึ่งลักษณะของน้องจะเกร็งอยู่ตลอดเวลา  ช่วยเหลือตนเองไม่ได้  ทรงตัวไม่ได้จะต้องนอนตลอดเวลา  จากลักษณะดังกล่าว  ออกแบบโดยเก้าอี้เอียง  50  องศา  ตรงพนักพิงมีตัวเสริมศีรษะ  และมีตัววางเท้า  ทำให้ลำตัวตรง  ลดอาการเกร็งให้น้อยลง  น้องสามารถนั่งบนเก้าอี้  โดยผู้ปกครองไม่ต้องปล่อยน้องนอน ที่เลือกทำเป็นลายอุลตร้าแมน  เพราะว่า  น้องเบ๊บชอบอุลตร้าแมนและเป็นการกระตุ้นการมองของน้อง  </span><b><i>“<span lang=\"TH\">ภูมิใจที่ได้แบ่งเบาภาระของผู้ปกครอง  อย่างน้อยเก้าอี้กระดาษก็เป็นเหมือนตัวพิสูจน์  ความสำเร็จอีกขั้นของตนเอง</span>”<span lang=\"TH\">  </span></i></b></span>\n</p>\n<p style=\"text-indent: 0.5in; text-align: justify\" class=\"MsoNormal\">\n<b><i><span style=\"font-size: 16pt; font-family: \'Angsana New\', \'serif\'\" lang=\"TH\">นายสุนทร  สถาพร  </span></i></b><span style=\"font-size: 16pt; font-family: \'Angsana New\', \'serif\'\" lang=\"TH\">รองหัวหน้ากลุ่มเด็กเล็กชมรมผู้ปกครอง  มูลนิธิเพื่อเด็กพิการ  กทม.  ผู้ปกครองของ</span><span style=\"font-size: 16pt; font-family: \'Angsana New\', \'serif\'\">  “<span lang=\"TH\">น้องสายฝน</span>”  <span lang=\"TH\">(อายุ  9  ปี)  เล่าว่า  เข้ามาเป็นสมากชิกของมูลนิธิได้ประมาณ  2  ปี  หลังจากที่ได้เข้ามาที่นี่  น้องน้ำฝนมีพัฒนาการและสุขภาพแข็งแรงขึ้น  เนื่องจากทางมูลนิธิมีกิจกรรมมากมายสำหรับเด็กและผู้ปกครอง  เช่น  กายภาพบำบัดสากล  กายภาพญี่ปุ่น  (โดฮะโฮ)  นวดไทย  ผลที่เห็นได้ชัดเมื่อน้องสายฝนเข้ามาที่นี่  หลังจากที่ต้องเข้าโรงพยาบาลบ่อยๆ  ก็ไม่ค่อยได้เข้าโรงพยาบาล  เก้าอี้กระดาษของนักศึกษาจะส่งผลกับตัวของน้องสายฝนโดยตรง  ทางด้านร่างกายเรื่องของการทรงตัว  </span><b><i>“<span lang=\"TH\">การมองเห็น  ถ้าได้นั่งน้องก็จะได้มองมากขึ้น  เด็กพิการทางสมองถ้าได้มองสิ่งแวดล้อมก็จะกระตุ้นพัฒนาการทางสายตา</span>”</i></b></span>\n</p>\n<p style=\"text-indent: 0.5in; text-align: justify\" class=\"MsoNormal\">\n<b><i><span style=\"font-size: 16pt; font-family: \'Angsana New\', \'serif\'\">“<span lang=\"TH\">เก้าอี้กระดาษจากว่าที่สถาปนิกกว่า  30  ตัว  จะช่วยพัฒนาและกระตุ้นพัฒนาการอย่างต่อเนื่องให้เด็กพิการ  นอกจากนั้นยังช่วยผู้ปกครองในการดูแลและในการทำกิจวัตรประจำวันได้</span></span></i></b>\n</p>\n<p style=\"text-align: justify\" class=\"MsoNormal\">\n<b><i><span style=\"font-size: 16pt; font-family: \'Angsana New\', \'serif\'\" lang=\"TH\">อีกด้วย</span></i></b><b><i><span style=\"font-size: 16pt; font-family: \'Angsana New\', \'serif\'\">”</span></i></b><span style=\"font-size: 16pt; font-family: \'Angsana New\', \'serif\'\">  <span lang=\"TH\">เก้าอี้ดังกล่าวราคาประมาณ  3</span>,500-5,000  <span lang=\"TH\">บาท</span>  <span lang=\"TH\">ผู้ปกครองเด็กพิการทางสมองท่านใดสนใจหรือมีจิตศรัทธาที่จะบริจาค  ติดต่อได้ที่คณะสถาปัตยกรรมศาสตร์  มทร.ธัญบุรี </span></span><span style=\"font-size: 16pt; font-family: \'Angsana New\', \'serif\'\" lang=\"TH\">โทร.0-2549-4771  </span><span style=\"font-size: 16pt; font-family: \'Angsana New\', \'serif\'\"></span>\n</p>\n', created = 1719804235, expire = 1719890635, headers = '', serialized = 0 WHERE cid = '3:98acf40ba641f070947000c14b24b972' in /home/tgv/htdocs/includes/cache.inc on line 112.

เก้าอี้กระดาษเพื่อน้องพิการทางสมอง

เก้าอี้กระดาษกว่า  30  ตัว  วางเรียงรายเป็นแถว  ลักษณะของโครงสร้าง  ลวดลาย  สีก็แตกต่างกัน  ซึ่งเก้าอี้แต่ละตัวมีเพียงตัวเดียวในประเทศไทย  เก้าอี้กระดาษดังกล่าว  ถูกออกแบบโดยว่าที่สถาปนิกในอนาคต  นักศึกษาชั้นปีที่  5  ภาควิชาสถาปัตยกรรมภายใน  คณะสถาปัตยกรรมศาสตร์  มหาวิทยาลัยเทคโนโลยีราชมงคล  (มทร. )  ธัญบุรี   กว่า  30  ชีวิต  ที่ได้ออกแบบเก้าอี้กระดาษสำหรับเด็กพิการทางสมอง  ให้แก่มูลนิธิเพื่อเด็กพิการ  กทม.

ผศ.ธีรวัลย์  วรรธโนทัย  คณบดีคณะสถาปัตยกรรมศาสตร์  เล่าว่า  เก้าอี้กระดาษสำหรับเด็กพิการทางสมอง  ที่มอบให้แก่มูลนิธิเพื่อเด็กพิการ  กทม.  เป็นหนึ่งในวิชาเรียนออกแบบเครื่องเรือนสำเร็จรูป  ของคณะสถาปัตยกรรมศาสตร์  ที่ต้องเรียนเกี่ยวกับการออกแบบเฟอร์นิเจอร์  นักศึกษาได้ลงมือปฏิบัติจริง  และต้องนำชิ้นงานไปใช้ได้จริง  เก้าอี้กระดาษสำหรับเด็กพิการแต่ละตัว  จะมีลักษณะที่แตกต่างกัน  เพราะว่า  จะต้องออกแบบให้มีความเหมาะสมเข้ากับสรีระของเด็กแต่ละคน  นอกจากนักศึกษาจะได้เรียนรู้การปฏิบัติงานจริง  ยังได้ความสุขทางใจคือการให้ที่บริสุทธิ์ใจ 

นางอรนารถ  ดวงอุดม  รองประธานและกรรมการมูลนิธิเพื่อเด็กพิการทางสมอง  เล่าว่า  ทางมูลนิธิเพื่อเด็กพิการ  กทม.  ต้องการที่จะพัฒนาและฟื้นฟูเด็กพิการทางสมองเป็นกลุ่มหลัก  ซึ่งในแต่ปีมีเด็กพิการทางสมองมาใช้บริการประมาณ  200-300  คน  ซึ่งคนส่วนใหญ่เข้าใจว่าเด็กพวกนี้ไม่สามารถฟื้นฟูได้  เก้าอี้กระดาษสำหรับเด็กพิการ  ฝีมือนักศึกษาเป็นสิ่งที่ทางมูลนิธิต้องการมาก  เนื่องจากทางมูลนิธิได้อาสาสมัครจากญี่ปุ่นมาสอนผู้ปกครองทำเก้าอี้สำหรับเด็กๆ  แต่ด้วยผู้ปกครองไม่มีพื้นฐานในการออกแบบจึงไม่ประสบความสำเร็จเท่าที่ควร  สำหรับน้องๆนักศึกษา  ที่มีพื้นฐานในการออกแบบ  รู้หลักและวิธีการในการทำ  เก้าอี้กระดาษดังกล่าว  จะส่งผลต่อตัวเด็กโดยตรง  การทรงตัว  การนั่ง    เพราะว่า  เด็กพิการทางสมองจะมีปัญหาทางด้านสมองส่วนควบคุมกล้ามเนื้อ

ณัฐ”  น.ส.ณัฐิยา  เพ็ชรดี  นักศึกษาชั้นปีที่  5  ภาควิชาสถาปัตยกรรมภายใน  คณะสถาปัตยกรรมศาสตร์  ว่าที่สถาปนิกสาว  ผู้ออกแบบและประดิษฐ์เก้าอี้กระดาษให้  น้องพลอย  (อายุ  10  ขวบ)  เล่าว่า  หลังจากที่ตนเองได้วัดสัดส่วนของน้อง และสัมภาษณ์ผู้ปกครองเกี่ยวกับความต้องการ  ก็ออกแบบเก้าอี้โดยเก้าอี้กระดาษมีความเอียง  70  องศา  มีหมอนล๊อคคอ  เพราะว่า  จากการสังเกตเห็นว่าคอน้องจะเอียง  หมอนจะมีลอยบุ๋มตรงศีรษะเวลาน้องพิงก็จะล๊อคคอน้องได้พอดี  จะได้ไม่เอียง    มีถาดอาหารไว้สำหรับตอนที่น้องวางมือ  หรือว่าเวลาทานข้าวน้องจะได้หันหยิบช้อน  สายรัด  2  ตำแหน่ง  คือ  สายรัดหน้าอก  และตรงต้นขา  เพื่อป้องกันน้องไหลลงจากเก้าอี้กระดาษ  ดีใจมากที่ได้ออกแบบเก้าอี้กระดาษสำหรับน้องๆ  อย่างน้อยเก้าอี้กระดาษที่ออกแบบก็สามารถช่วยน้องในการทรงตัว      

เพื่อนร่วมชั้นเรียนของณัฐ  หนุ่มสถาปนิกอนาคตไกล    ปัด”  นายปรัชญา  ธูปกระแจะ  เล่าว่า  ตนเองได้รับเคส  น้องเบ๊บ”  (อายุ  12  ปี)  ซึ่งลักษณะของน้องจะเกร็งอยู่ตลอดเวลา  ช่วยเหลือตนเองไม่ได้  ทรงตัวไม่ได้จะต้องนอนตลอดเวลา  จากลักษณะดังกล่าว  ออกแบบโดยเก้าอี้เอียง  50  องศา  ตรงพนักพิงมีตัวเสริมศีรษะ  และมีตัววางเท้า  ทำให้ลำตัวตรง  ลดอาการเกร็งให้น้อยลง  น้องสามารถนั่งบนเก้าอี้  โดยผู้ปกครองไม่ต้องปล่อยน้องนอน ที่เลือกทำเป็นลายอุลตร้าแมน  เพราะว่า  น้องเบ๊บชอบอุลตร้าแมนและเป็นการกระตุ้นการมองของน้อง  ภูมิใจที่ได้แบ่งเบาภาระของผู้ปกครอง  อย่างน้อยเก้าอี้กระดาษก็เป็นเหมือนตัวพิสูจน์  ความสำเร็จอีกขั้นของตนเอง 

นายสุนทร  สถาพร  รองหัวหน้ากลุ่มเด็กเล็กชมรมผู้ปกครอง  มูลนิธิเพื่อเด็กพิการ  กทม.  ผู้ปกครองของ  “น้องสายฝน”  (อายุ  9  ปี)  เล่าว่า  เข้ามาเป็นสมากชิกของมูลนิธิได้ประมาณ  2  ปี  หลังจากที่ได้เข้ามาที่นี่  น้องน้ำฝนมีพัฒนาการและสุขภาพแข็งแรงขึ้น  เนื่องจากทางมูลนิธิมีกิจกรรมมากมายสำหรับเด็กและผู้ปกครอง  เช่น  กายภาพบำบัดสากล  กายภาพญี่ปุ่น  (โดฮะโฮ)  นวดไทย  ผลที่เห็นได้ชัดเมื่อน้องสายฝนเข้ามาที่นี่  หลังจากที่ต้องเข้าโรงพยาบาลบ่อยๆ  ก็ไม่ค่อยได้เข้าโรงพยาบาล  เก้าอี้กระดาษของนักศึกษาจะส่งผลกับตัวของน้องสายฝนโดยตรง  ทางด้านร่างกายเรื่องของการทรงตัว  การมองเห็น  ถ้าได้นั่งน้องก็จะได้มองมากขึ้น  เด็กพิการทางสมองถ้าได้มองสิ่งแวดล้อมก็จะกระตุ้นพัฒนาการทางสายตา

เก้าอี้กระดาษจากว่าที่สถาปนิกกว่า  30  ตัว  จะช่วยพัฒนาและกระตุ้นพัฒนาการอย่างต่อเนื่องให้เด็กพิการ  นอกจากนั้นยังช่วยผู้ปกครองในการดูแลและในการทำกิจวัตรประจำวันได้

อีกด้วย  เก้าอี้ดังกล่าวราคาประมาณ  3,500-5,000  บาท  ผู้ปกครองเด็กพิการทางสมองท่านใดสนใจหรือมีจิตศรัทธาที่จะบริจาค  ติดต่อได้ที่คณะสถาปัตยกรรมศาสตร์  มทร.ธัญบุรี โทร.0-2549-4771 

มหาวิทยาลัยศรีปทุม ผู้ใหญ่ใจดี
 

 ช่วยด้วยครับ
นักเรียนที่สร้างบล็อก กรุณาอย่า
คัดลอกข้อมูลจากเว็บอื่นทั้งหมด
ควรนำมาจากหลายๆ เว็บ แล้ววิเคราะห์ สังเคราะห์ และเขียนขึ้นใหม่
หากคัดลอกทั้งหมด จะถูกดำเนินคดี
ตามกฎหมายจากเจ้าของลิขสิทธิ์
มีโทษทั้งจำคุกและปรับในอัตราสูง

ช่วยกันนะครับ 
ไทยกู๊ดวิวจะได้อยู่นานๆ 
ไม่ถูกปิดเสียก่อน

ขอขอบคุณในความร่วมมือครับ

อ่านรายละเอียด

ด่วน...... ขณะนี้
พระราชบัญญัติลิขสิทธิ์ (ฉบับที่ 2) พ.ศ. 2558 
มีผลบังคับใช้แล้ว 
ขอให้นักเรียนและคุณครูที่ใช้งาน
เว็บ thaigoodview ในการส่งการบ้าน
ระมัดระวังการละเมิดลิขสิทธิ์ด้วย
อ่านรายละเอียดที่นี่ครับ

 

สมาชิกที่ออนไลน์

ขณะนี้มี สมาชิก 0 คน และ ผู้เยี่ยมชม 608 คน กำลังออนไลน์