• user warning: Duplicate entry '536306482' for key 'PRIMARY' query: INSERT INTO accesslog (title, path, url, hostname, uid, sid, timer, timestamp) values('หน้าที่ของ Conjunctions', 'node/46078', '', '18.189.182.96', 0, '8645f925d30c1bb4602f7cdeafff1477', 151, 1716152583) in /home/tgv/htdocs/modules/statistics/statistics.module on line 63.
  • user warning: Table 'cache_filter' is marked as crashed and should be repaired query: SELECT data, created, headers, expire, serialized FROM cache_filter WHERE cid = '3:c8f40851e99d3b645d0ae21e5126b1af' in /home/tgv/htdocs/includes/cache.inc on line 27.
  • user warning: Table 'cache_filter' is marked as crashed and should be repaired query: UPDATE cache_filter SET data = '<!--paging_filter--><h2 style=\"text-align: center;\"><span style=\"text-decoration: underline;\" data-mce-mark=\"1\"><span style=\"color: #339966;\" data-mce-mark=\"1\"><strong>ผึ้งหลวง</strong></span></span></h2>\n<div><img style=\"vertical-align: middle; display: block; margin-left: auto; margin-right: auto;\" src=\"http://www.manager.co.th/asp-bin/Image.aspx?ID=2741406\" alt=\"\" width=\"297\" height=\"195\" /></div>\n<div><span style=\"color: #339966;\" data-mce-mark=\"1\"><strong>ชื่อทั่วไป </strong></span>ผึ้งหลวง</div>\n<div><span style=\"color: #339966;\" data-mce-mark=\"1\"><strong>ชื่อสามัญ </strong></span>Giant Honey Bee</div>\n<div><span style=\"color: #339966;\" data-mce-mark=\"1\"><strong>ชื่อทางวิทยาศาสตร์ </strong></span>Apis dorata frabicuis</div>\n<div>&nbsp;</div>\n<div style=\"text-align: left;\"><strong>&nbsp; &nbsp;<span style=\"color: #993366;\" data-mce-mark=\"1\"> &nbsp; ผึ้งหลวง (Apis dorata frabicius)</span></strong></div>\n<div><span style=\"color: #333333;\" data-mce-mark=\"1\"><strong>-</strong>เป็นผึ้งที่มีขนาดใหญ่ที่สุดในผึ้ง 4 พวก &nbsp; มีลักษณะตัวใหญ่</span></div>\n<div><span style=\"color: #333333;\" data-mce-mark=\"1\"><strong>-</strong>ลำตัวยาวรี ประชากรส่วนใหญ่จะอยู่ปกคลุมรังเพื่อทำหน้าที่ป้องกันรัง รวงผึ้งมีขนาดใหญ่ มีประชากรประมาณ 10,000 – 80,000 ตัวต่อรัง เป็นรวงชั้นเดียว หรือรวงเดียว บางครั้งอาจมีความกว้างถึง 2 เมตร ลักษณะรวงทั่วไปจะโค้งรีเป็นรูปครึ่งวงกลมจะติดอยู่ใต้กิ่งไม้ หน้าผา โขดหิน หรือมุมตึกที่อยู่สูง ๆ เป็นที่โล่งแจ้งซึ่งจะมีร่มเงาที่ไม่ร้อนเกินไป บางครั้งในที่เดียวกันอาจมีผึ้งเกาะรวมกันมากกว่า 50 รัง ผึ้งหลวงจะดุร้ายเมื่อถูกรบกวนหรือทำลายและจะรุมต่อยศัตรูของมัน นับเป็นสิบถึงร้อยตัว เนื่องจากผึ้งหลวงเป็นผึ้งตัวใหญ่จึงมีพิษมากในเหล็กไน จึงทำให้ศัตรูของมันได้รับบาดเจ็บสาหัสได้</span></div>\n<div><span style=\"color: #333333;\" data-mce-mark=\"1\"><strong>-</strong>ผึ้งหลวงเป็นผึ้งที่มีขนาดใหญ่ จึงสามารถบินไปหาอาหารได้ไกล บางครั้งรังหนึ่งอาจจะมีน้ำผึ้งถึง &nbsp; 15กิโลกรัม แต่เนื่องจากพฤติกรรมของผึ้งหลวงจะชอบทำรังในที่โล่งแจ้งและอยู่ที่สูง ไม่ชอบให้ถูกรบกวน จึงไม่สามารถนำมาเลี้ยงได้ แต่ควรจะอนุรักษ์ให้มีอยู่ในธรรมชาติ เพราะต้นไม้หลายชนิดต้องการผึ้งหลวงเป็นแมลงช่วยผสมเกสรเพื่อดำรงเผ่าพันธุ์</span></div>\n<div><span style=\"color: #333333;\" data-mce-mark=\"1\"><strong>-</strong>ขนาดของผึ้งหลวง ขนาดลำตัวยาว 17-19 มิลลิเมตร ส่วนอกกว้าง 5 มิลลิเมตร ความยาวของลิ้น &nbsp;6-7มิลลิเมตร</span></div>\n<div><strong style=\"color: #333333;\">-</strong><span style=\"color: #333333;\" data-mce-mark=\"1\">ขาคู่ที่1 เเละ2 ไว้เดิน ขาคู่ที่ 3 เก็บเกสร</span></div>\n<div>\n<div style=\"text-align: left;\"><strong>&nbsp; &nbsp; <span style=\"color: #333333;\" data-mce-mark=\"1\">&nbsp; </span></strong></div>\n<div style=\"text-align: left;\"><strong><span style=\"color: #333333;\" data-mce-mark=\"1\">&nbsp; &nbsp; &nbsp;<span style=\"color: #3366ff;\" data-mce-mark=\"1\">ลักษณะของผึ้ง</span></span></strong></div>\n<div>&nbsp; &nbsp; ลักษณะทั่วไปของผึ้ง แบ่งออกได้เป็น 3 ส่วน คือ</div>\n<div>-ส่วนหัวอวัยวะรับความรู้สึก</div>\n<div>-ตารวม มีอยู่ 2 ตา ประกอบด้วยดวงตาเล็ก ๆ เป็นรูปหกเหลี่ยมหลายพันตารวมกัน เชื่อมติดต่อกันเป็นแผง &nbsp; ทำให้ผึ้งสามารถมองเห็นสิ่งต่าง ๆ ได้รอบทิศ</div>\n<div>-ตาเดี่ยว &nbsp;เป็นจุดเล็ก ๆ &nbsp;3 จุด อยู่ห่างกันเป็นรูปสามเหลี่ยม ส่วนที่รับรู้ความเข้มของแสง</div>\n<div>&nbsp;\n<div><strong><strong>&nbsp; &nbsp; <span style=\"color: #ff00ff;\" data-mce-mark=\"1\">&nbsp;</span></strong></strong><strong><span style=\"color: #ff00ff;\" data-mce-mark=\"1\">วรรณะของผึ้ง</span>&nbsp;</strong>วรรณะของผึ้ง แบ่งออกเป็น 3 วรรณะคือ</div>\n<div>&nbsp;</div>\n<div><span style=\"color: #808000;\" data-mce-mark=\"1\"><strong>1. ผึ้งนางพญา (The Queen)</strong></span></div>\n<div>มีขนาดใหญ่ และมีลำตัวยาวกว่าผึ้งตัวผู้และผึ้งงาน &nbsp; ปีกของผึ้งนางพญาจะมีขนาดสั้น &nbsp;ผึ้งนางพญาจะมีเหล็กไน &nbsp; &nbsp;การเคลื่อนไหวของผึ้งค่อนข้างเชื่องช้า แต่สุขุมรอบคอบ ผึ้งนางพญาจะมีหน้าที่สำคัญ&nbsp;</div>\n<div>&nbsp; &nbsp; &nbsp; &nbsp; &nbsp; 1. ผสมพันธุ์</div>\n<div>&nbsp; &nbsp; &nbsp; &nbsp; &nbsp; 2. วางไข่</div>\n<div>&nbsp; &nbsp; &nbsp; &nbsp; &nbsp; 3. ควบคุมสังคมของผึ้งให้อยู่ในสภาพปกติ</div>\n<div>&nbsp;</div>\n<div>ผึ้งแยกรัง (Swarming)</div>\n<div>• &nbsp; &nbsp;ผึ้งงานป้องกันผึ้งนางพญาตัวใหม่ไม่ให้ผึ้งนางพญาตัวเก่ามาทำร้าย</div>\n<div>• &nbsp; &nbsp;ผึ้งนางพญาตัวเก่าแยกรังออกไปแล้ว</div>\n<div>• &nbsp; &nbsp;ผึ้งนางพญาใหม่เมื่อมีอายุได้ 3-5 วัน ก็จะเริ่มออกบินเพื่อผสมพันธุ์</div>\n<div>• &nbsp; &nbsp;การผสมพันธุ์จะเกิดขึ้นในระยะความสูงตั้งแต่ 50-100 ฟุต</div>\n<div>• &nbsp; &nbsp;ผสมพันธุ์กับผึ้งตัวผู้ครั้งหนึ่งประมาณ 7-10 ตัว หรืออาจถึง 20 ตัว</div>\n<div>• &nbsp; &nbsp;ผสมพันธุ์แล้ว ส่วนท้องของผึ้งนางพญาจะขยายใหญ่ขึ้นภายใน 2-4 วัน ผึ้งนางพญาก็จะเริ่มวางไข่</div>\n<div>&nbsp;</div>\n<div><span style=\"color: #ffff00;\" data-mce-mark=\"1\"><span style=\"color: #808000;\" data-mce-mark=\"1\"><strong>2. ผึ้งตัวผู้ (The Drone)</strong></span>&nbsp;</span></div>\n<div>&nbsp;ตัวผู้จะมีขนาดใหญ่และตัวอ้วน</div>\n<div>ผึ้งตัวผู้จะไม่มีเหล็กไน</div>\n<div>ลิ้นจะสั้นมาก คอยรับอาหารจากผึ้งงาน หรือดูดกินน้ำหวานจากที่เก็บ</div>\n<div>&nbsp;ผึ้งตัวผู้จะเจริญมาจากไข่ที่ไม่ได้รับการผสม (Un-fertilized egg)</div>\n<div>อายุประมาณ &nbsp;16 วัน พร้อมที่จะผสมพันธุ์ได้</div>\n<div>การผสมพันธุ์</div>\n<div>• &nbsp; ผึ้งตัวผู้จากรังผึ้งต่างๆ ในปริมาณใกล้เคียงกันจะบินออกจากรังไปรวมกลุ่มกัน ณ สถานที่ซึ่งเรียกว่า ที่รวมกลุ่มของผึ้งตัวผู้ (Drone Congregation Area)</div>\n<div>• &nbsp; วันที่อากาศดี ท้องฟ้าสดใส</div>\n<div>• &nbsp; ผึ้งตัวผู้เข้าเมื่อผสมพันธุ์กับผึ้งนางพญาแล้วผึ้งตัวผู้นั้นก็จะตกลงมาตาย</div>\n<div>• &nbsp; หมดฤดูผสมพันธุ์ไม่ได้ผสมพันธุ์ก็มักจะถูกไล่ออกจากรัง</div>\n<div>&nbsp;</div>\n<div><span style=\"color: #ffff00;\" data-mce-mark=\"1\"><span style=\"color: #808000;\" data-mce-mark=\"1\"><strong>3. ผึ้งงาน (The Worker)</strong> </span>&nbsp;</span></div>\n<div>• &nbsp; ผึ้งงานเป็นผึ้งที่มีขนาดเล็กที่สุดภายในรังผึ้ง</div>\n<div>• &nbsp; ปริมาณมากที่สุด</div>\n<div>• &nbsp; กำเนิดมาจากไข่ที่ได้รับการผสมกับเชื้อตัวผู้ (Fertilized egg)</div>\n<div>• &nbsp; ผึ้งงานเป็นเพศเมียเหมือน ผึ้งนางพญา แต่เป็นเพศเมียที่ไม่สมบูรณ์</div>\n<div>• &nbsp; ส่วนของรังไข่จะมีขนาดเล็กไม่สามารถสร้างไข่ได้</div>\n<div>• &nbsp; ยกเว้นในกรณีที่รังผึ้งรังนี้เกิดขาดนางพญา *ไข่ที่เป็นผึ้งตัวผู้</div>\n<div>• &nbsp; มีต่อมไขผึ้ง ตะกร้อเก็บเกสร ต่อมกลิ่น</div>\n<div>&nbsp;</div>\n<div>&nbsp;<span style=\"text-decoration: underline;\">จัดทำโดย</span></div>\n</div>\n</div>\n<div>นายศุภกร &nbsp;เจริญธรรม เลขที่ 12</div>\n<div>นางสาวพรพิมล &nbsp;ทัพไชย เลขที่ 23</div>\n<div>นางสาวภัสสร &nbsp;อักษร เลขที่ 31</div>\n<div>ชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 5/5</div>\n', created = 1716152593, expire = 1716238993, headers = '', serialized = 0 WHERE cid = '3:c8f40851e99d3b645d0ae21e5126b1af' in /home/tgv/htdocs/includes/cache.inc on line 112.

ผึ้งหลวง (Apis dorsata frabicius)  

ผึ้งหลวง

ชื่อทั่วไป ผึ้งหลวง
ชื่อสามัญ Giant Honey Bee
ชื่อทางวิทยาศาสตร์ Apis dorata frabicuis
 
      ผึ้งหลวง (Apis dorata frabicius)
-เป็นผึ้งที่มีขนาดใหญ่ที่สุดในผึ้ง 4 พวก   มีลักษณะตัวใหญ่
-ลำตัวยาวรี ประชากรส่วนใหญ่จะอยู่ปกคลุมรังเพื่อทำหน้าที่ป้องกันรัง รวงผึ้งมีขนาดใหญ่ มีประชากรประมาณ 10,000 – 80,000 ตัวต่อรัง เป็นรวงชั้นเดียว หรือรวงเดียว บางครั้งอาจมีความกว้างถึง 2 เมตร ลักษณะรวงทั่วไปจะโค้งรีเป็นรูปครึ่งวงกลมจะติดอยู่ใต้กิ่งไม้ หน้าผา โขดหิน หรือมุมตึกที่อยู่สูง ๆ เป็นที่โล่งแจ้งซึ่งจะมีร่มเงาที่ไม่ร้อนเกินไป บางครั้งในที่เดียวกันอาจมีผึ้งเกาะรวมกันมากกว่า 50 รัง ผึ้งหลวงจะดุร้ายเมื่อถูกรบกวนหรือทำลายและจะรุมต่อยศัตรูของมัน นับเป็นสิบถึงร้อยตัว เนื่องจากผึ้งหลวงเป็นผึ้งตัวใหญ่จึงมีพิษมากในเหล็กไน จึงทำให้ศัตรูของมันได้รับบาดเจ็บสาหัสได้
-ผึ้งหลวงเป็นผึ้งที่มีขนาดใหญ่ จึงสามารถบินไปหาอาหารได้ไกล บางครั้งรังหนึ่งอาจจะมีน้ำผึ้งถึง   15กิโลกรัม แต่เนื่องจากพฤติกรรมของผึ้งหลวงจะชอบทำรังในที่โล่งแจ้งและอยู่ที่สูง ไม่ชอบให้ถูกรบกวน จึงไม่สามารถนำมาเลี้ยงได้ แต่ควรจะอนุรักษ์ให้มีอยู่ในธรรมชาติ เพราะต้นไม้หลายชนิดต้องการผึ้งหลวงเป็นแมลงช่วยผสมเกสรเพื่อดำรงเผ่าพันธุ์
-ขนาดของผึ้งหลวง ขนาดลำตัวยาว 17-19 มิลลิเมตร ส่วนอกกว้าง 5 มิลลิเมตร ความยาวของลิ้น  6-7มิลลิเมตร
-ขาคู่ที่1 เเละ2 ไว้เดิน ขาคู่ที่ 3 เก็บเกสร
     
     ลักษณะของผึ้ง
    ลักษณะทั่วไปของผึ้ง แบ่งออกได้เป็น 3 ส่วน คือ
-ส่วนหัวอวัยวะรับความรู้สึก
-ตารวม มีอยู่ 2 ตา ประกอบด้วยดวงตาเล็ก ๆ เป็นรูปหกเหลี่ยมหลายพันตารวมกัน เชื่อมติดต่อกันเป็นแผง   ทำให้ผึ้งสามารถมองเห็นสิ่งต่าง ๆ ได้รอบทิศ
-ตาเดี่ยว  เป็นจุดเล็ก ๆ  3 จุด อยู่ห่างกันเป็นรูปสามเหลี่ยม ส่วนที่รับรู้ความเข้มของแสง
 
     วรรณะของผึ้ง วรรณะของผึ้ง แบ่งออกเป็น 3 วรรณะคือ
 
1. ผึ้งนางพญา (The Queen)
มีขนาดใหญ่ และมีลำตัวยาวกว่าผึ้งตัวผู้และผึ้งงาน   ปีกของผึ้งนางพญาจะมีขนาดสั้น  ผึ้งนางพญาจะมีเหล็กไน    การเคลื่อนไหวของผึ้งค่อนข้างเชื่องช้า แต่สุขุมรอบคอบ ผึ้งนางพญาจะมีหน้าที่สำคัญ 
          1. ผสมพันธุ์
          2. วางไข่
          3. ควบคุมสังคมของผึ้งให้อยู่ในสภาพปกติ
 
ผึ้งแยกรัง (Swarming)
•    ผึ้งงานป้องกันผึ้งนางพญาตัวใหม่ไม่ให้ผึ้งนางพญาตัวเก่ามาทำร้าย
•    ผึ้งนางพญาตัวเก่าแยกรังออกไปแล้ว
•    ผึ้งนางพญาใหม่เมื่อมีอายุได้ 3-5 วัน ก็จะเริ่มออกบินเพื่อผสมพันธุ์
•    การผสมพันธุ์จะเกิดขึ้นในระยะความสูงตั้งแต่ 50-100 ฟุต
•    ผสมพันธุ์กับผึ้งตัวผู้ครั้งหนึ่งประมาณ 7-10 ตัว หรืออาจถึง 20 ตัว
•    ผสมพันธุ์แล้ว ส่วนท้องของผึ้งนางพญาจะขยายใหญ่ขึ้นภายใน 2-4 วัน ผึ้งนางพญาก็จะเริ่มวางไข่
 
2. ผึ้งตัวผู้ (The Drone) 
 ตัวผู้จะมีขนาดใหญ่และตัวอ้วน
ผึ้งตัวผู้จะไม่มีเหล็กไน
ลิ้นจะสั้นมาก คอยรับอาหารจากผึ้งงาน หรือดูดกินน้ำหวานจากที่เก็บ
 ผึ้งตัวผู้จะเจริญมาจากไข่ที่ไม่ได้รับการผสม (Un-fertilized egg)
อายุประมาณ  16 วัน พร้อมที่จะผสมพันธุ์ได้
การผสมพันธุ์
•   ผึ้งตัวผู้จากรังผึ้งต่างๆ ในปริมาณใกล้เคียงกันจะบินออกจากรังไปรวมกลุ่มกัน ณ สถานที่ซึ่งเรียกว่า ที่รวมกลุ่มของผึ้งตัวผู้ (Drone Congregation Area)
•   วันที่อากาศดี ท้องฟ้าสดใส
•   ผึ้งตัวผู้เข้าเมื่อผสมพันธุ์กับผึ้งนางพญาแล้วผึ้งตัวผู้นั้นก็จะตกลงมาตาย
•   หมดฤดูผสมพันธุ์ไม่ได้ผสมพันธุ์ก็มักจะถูกไล่ออกจากรัง
 
3. ผึ้งงาน (The Worker)  
•   ผึ้งงานเป็นผึ้งที่มีขนาดเล็กที่สุดภายในรังผึ้ง
•   ปริมาณมากที่สุด
•   กำเนิดมาจากไข่ที่ได้รับการผสมกับเชื้อตัวผู้ (Fertilized egg)
•   ผึ้งงานเป็นเพศเมียเหมือน ผึ้งนางพญา แต่เป็นเพศเมียที่ไม่สมบูรณ์
•   ส่วนของรังไข่จะมีขนาดเล็กไม่สามารถสร้างไข่ได้
•   ยกเว้นในกรณีที่รังผึ้งรังนี้เกิดขาดนางพญา *ไข่ที่เป็นผึ้งตัวผู้
•   มีต่อมไขผึ้ง ตะกร้อเก็บเกสร ต่อมกลิ่น
 
 จัดทำโดย
นายศุภกร  เจริญธรรม เลขที่ 12
นางสาวพรพิมล  ทัพไชย เลขที่ 23
นางสาวภัสสร  อักษร เลขที่ 31
ชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 5/5

มหาวิทยาลัยศรีปทุม ผู้ใหญ่ใจดี
 

 ช่วยด้วยครับ
นักเรียนที่สร้างบล็อก กรุณาอย่า
คัดลอกข้อมูลจากเว็บอื่นทั้งหมด
ควรนำมาจากหลายๆ เว็บ แล้ววิเคราะห์ สังเคราะห์ และเขียนขึ้นใหม่
หากคัดลอกทั้งหมด จะถูกดำเนินคดี
ตามกฎหมายจากเจ้าของลิขสิทธิ์
มีโทษทั้งจำคุกและปรับในอัตราสูง

ช่วยกันนะครับ 
ไทยกู๊ดวิวจะได้อยู่นานๆ 
ไม่ถูกปิดเสียก่อน

ขอขอบคุณในความร่วมมือครับ

อ่านรายละเอียด

ด่วน...... ขณะนี้
พระราชบัญญัติลิขสิทธิ์ (ฉบับที่ 2) พ.ศ. 2558 
มีผลบังคับใช้แล้ว 
ขอให้นักเรียนและคุณครูที่ใช้งาน
เว็บ thaigoodview ในการส่งการบ้าน
ระมัดระวังการละเมิดลิขสิทธิ์ด้วย
อ่านรายละเอียดที่นี่ครับ

 

สมาชิกที่ออนไลน์

ขณะนี้มี สมาชิก 0 คน และ ผู้เยี่ยมชม 267 คน กำลังออนไลน์