• user warning: Table 'cache_filter' is marked as crashed and should be repaired query: SELECT data, created, headers, expire, serialized FROM cache_filter WHERE cid = '3:a16fcef2d4453f5d1ff72c2223c1c2ac' in /home/tgv/htdocs/includes/cache.inc on line 27.
  • user warning: Table 'cache_filter' is marked as crashed and should be repaired query: UPDATE cache_filter SET data = '<!--paging_filter--><p style=\"text-align: center;\"><img src=\"https://lh6.googleusercontent.com/aTZtL-xKqpP5eKrbxY8v6LaYDDXKUnt8CqLI7J-aNqndn3r4dEDiwSbCRgHjl--I6SfLbMRAh7WjnJm6524PZryJeNZVgdyOs-toHcva3AZz3vNt_LyPBphpOW_wW1jDxPVFGWNX\" alt=\"sri mahamariamman temple 6.jpg\" width=\"600\" height=\"200\" /></p>\n<p>&nbsp; &nbsp; &nbsp; &nbsp; &nbsp; &nbsp; &nbsp; &nbsp; &nbsp; &nbsp; &nbsp; &nbsp; &nbsp; &nbsp; &nbsp; &nbsp; &nbsp; &nbsp; &nbsp; &nbsp; &nbsp;<a href=\"http://www.thaigoodview.com/node/216108\">หน้าแรก</a>&nbsp;<img src=\"http://www.thaigoodview.com/files/u130905/sailing-760342_960_720_0.png\" alt=\"\" width=\"16\" height=\"18\" />&nbsp;<a href=\"http://www.thaigoodview.com/node/216110\">ประวัติ</a>&nbsp;<img src=\"http://www.thaigoodview.com/files/u130905/sailing-760342_960_720_0.png\" alt=\"\" width=\"16\" height=\"18\" />&nbsp;<a href=\"http://www.thaigoodview.com/node/216115\">ที่ตั้ง</a>&nbsp;<img src=\"http://www.thaigoodview.com/files/u130905/sailing-760342_960_720_0.png\" alt=\"\" width=\"16\" height=\"18\" />&nbsp;<a href=\"http://www.thaigoodview.com/node/216117\">การเดินทาง</a>&nbsp;<img src=\"http://www.thaigoodview.com/files/u130905/sailing-760342_960_720_0.png\" alt=\"\" width=\"16\" height=\"18\" />&nbsp;<a href=\"http://www.thaigoodview.com/node/216119\">องค์พระ</a>&nbsp;<img src=\"http://www.thaigoodview.com/files/u130905/sailing-760342_960_720_0.png\" alt=\"\" width=\"16\" height=\"18\" />&nbsp;<a href=\"http://www.thaigoodview.com/node/216124\">พิธีนวราตรี</a></p>\n<p>&nbsp; &nbsp; &nbsp; &nbsp; &nbsp; &nbsp; &nbsp; &nbsp; &nbsp; &nbsp; &nbsp; &nbsp; &nbsp; &nbsp; &nbsp; &nbsp; &nbsp; &nbsp; &nbsp;<a href=\"http://www.thaigoodview.com/node/216127\">ข้อควรปฏิบัติ</a>&nbsp;&nbsp;<img src=\"http://www.thaigoodview.com/files/u130905/sailing-760342_960_720_0.png\" alt=\"\" width=\"16\" height=\"18\" />&nbsp;<a href=\"http://www.thaigoodview.com/node/216140\">ของเช่าบูชา</a>&nbsp;<img src=\"http://www.thaigoodview.com/files/u130905/sailing-760342_960_720_0.png\" alt=\"\" width=\"16\" height=\"18\" />&nbsp;<a href=\"http://www.thaigoodview.com/node/216144\">ร้านอาหาร</a>&nbsp;<img src=\"http://www.thaigoodview.com/files/u130905/sailing-760342_960_720_0.png\" alt=\"\" width=\"16\" height=\"18\" />&nbsp;<a href=\"http://www.thaigoodview.com/node/216145\">ร้านขนม</a>&nbsp;<img src=\"http://www.thaigoodview.com/files/u130905/sailing-760342_960_720_0.png\" alt=\"\" width=\"16\" height=\"18\" />&nbsp;<a href=\"http://www.thaigoodview.com/node/216768\">ประมวลภาพ</a>&nbsp;<img src=\"http://www.thaigoodview.com/files/u130905/sailing-760342_960_720_0.png\" alt=\"\" width=\"16\" height=\"18\" />&nbsp;<a href=\"http://www.thaigoodview.com/node/216770\">วิดีโอ</a></p>\n<p>&nbsp;</p>\n<p style=\"text-align: center;\">&nbsp;<img src=\"http://upic.me/i/lm/5m004.gif\" alt=\"ผลการค้นหารูปภาพสำหรับ เส้นคั่น\" width=\"432\" height=\"72\" /></p>\n<p style=\"text-align: center;\">&nbsp;</p>\n<p style=\"text-align: center;\">&nbsp;<strong>&nbsp;<strong><a href=\"http://www.thaigoodview.com/node/216925\">Statues In Sri Maha Riamman Temple (For English)</a></strong></strong></p>\n<p style=\"text-align: center;\">&nbsp;</p>\n<p style=\"text-align: center;\">&nbsp;</p>\n<p style=\"text-align: center;\"><strong><strong><img src=\"https://upload.wikimedia.org/wikipedia/commons/thumb/c/cb/Oum.svg/2000px-Oum.svg.png\" alt=\"ผลการค้นหารูปภาพสำหรับ ฮินดู\" width=\"23\" height=\"24\" />&nbsp;</strong>องค์พระภายในวัดศรีมหาอุมาเทวี&nbsp;<strong><img src=\"https://upload.wikimedia.org/wikipedia/commons/thumb/c/cb/Oum.svg/2000px-Oum.svg.png\" alt=\"ผลการค้นหารูปภาพสำหรับ ฮินดู\" width=\"23\" height=\"24\" /></strong></strong></p>\n<p style=\"text-align: center;\">&nbsp;</p>\n<p style=\"text-align: center;\">&nbsp;</p>\n<p style=\"text-align: center;\">&nbsp;</p>\n<p style=\"text-align: center;\" dir=\"ltr\"><strong><img src=\"https://upload.wikimedia.org/wikipedia/commons/thumb/c/cb/Oum.svg/2000px-Oum.svg.png\" alt=\"ผลการค้นหารูปภาพสำหรับ ฮินดู\" width=\"16\" height=\"17\" />&nbsp;</strong><a href=\"http://www.thaigoodview.com/node/217124\"><strong>พระพรหม</strong></a></p>\n<p style=\"text-align: center;\" dir=\"ltr\">&nbsp;</p>\n<p style=\"text-align: center;\" dir=\"ltr\"><strong><a href=\"http://www.thaigoodview.com/node/217133\"><strong>Information For English</strong></a></strong></p>\n<p style=\"text-align: center;\" dir=\"ltr\">&nbsp;</p>\n<p><img style=\"display: block; margin-left: auto; margin-right: auto;\" src=\"https://lh5.googleusercontent.com/LC6YmuoRqN--Ilc3nSCqk7-vHCLQ0BP7AvTzgkTBwFmyiVx_Ix9FUoBXleL3DL_zl68N1nY3BaHxMl_0FZwdx7hqYKBWfgZHx78wnE3EUy6jziOeSHdQkMrLw8GnYpg2TMH5kJ6d\" alt=\"DSCN9441.JPG\" width=\"346\" height=\"259\" /></p>\n<p style=\"text-align: center;\">&nbsp;รูปถ่ายโดยเจ้าของบล็อก</p>\n<p style=\"text-align: center;\">&nbsp;</p>\n<p style=\"text-align: center;\">(อังกฤษ: Brahma; เตลูกู: బ్రహ్మ; สันสกฤต: ब्रह्मा; เทวนาครี: ब्रह्मा)</p>\n<p style=\"text-align: center;\">เป็นเทพเจ้าสูงสุด (ตรีมูรติ)</p>\n<p style=\"text-align: center;\" dir=\"ltr\">พระพรหมมีสี่พักตร์ พระศอสวมลูกประคำ พระหัตถ์แต่ละข้างถือดอกบัว, คัมภีร์ และหม้อน้ำ</p>\n<p style=\"text-align: center;\" dir=\"ltr\">มีพาหนะเป็นหงส์ หรือ <strong>ห่าน</strong></p>\n<p style=\"text-align: center;\" dir=\"ltr\">พระชายา คือ พระสุรัสวดี เทพีแห่งศิลปะวิทยาการและความรอบรู้</p>\n<p style=\"text-align: center;\" dir=\"ltr\">&nbsp;</p>\n<p style=\"text-align: center;\" dir=\"ltr\">ที่มาของข้อมูล&nbsp;<a href=\"http://goo.gl/4oWS97\">http://goo.gl/4oWS97</a></p>\n<p style=\"text-align: center;\" dir=\"ltr\"><strong><a href=\"http://www.thaigoodview.com/node/217124\">ข้อมูลเพิ่มเติม</a></strong></p>\n<p style=\"text-align: center;\">&nbsp;</p>\n<p style=\"text-align: center;\">&nbsp;<img src=\"http://upic.me/i/4b/645906hmoluktu9a.gif\" alt=\"\" width=\"207\" height=\"7\" /></p>\n<p style=\"text-align: center;\">&nbsp;</p>\n<p style=\"text-align: center;\" dir=\"ltr\"><strong>&nbsp; &nbsp;<img src=\"https://upload.wikimedia.org/wikipedia/commons/thumb/c/cb/Oum.svg/2000px-Oum.svg.png\" alt=\"ผลการค้นหารูปภาพสำหรับ ฮินดู\" width=\"16\" height=\"17\" />&nbsp;พระพิฆเนศ</strong>&nbsp;</p>\n<p dir=\"ltr\"><img style=\"display: block; margin-left: auto; margin-right: auto;\" src=\"https://lh6.googleusercontent.com/3ECTLojA3_hZxzP8-ZW8M0dIxtZQ-mKqROLHzPWNcYpAbp_jyRthDiWmjdN0PAx6Icg3CgcbhsSoKd3QeYR9qaYAnIxdLvCjA4IvXpVkMMXkBC0NfDFnJ8uRt10jceYzSranCGjc\" alt=\"14.jpg\" width=\"206\" height=\"242\" /></p>\n<p style=\"text-align: center;\" dir=\"ltr\">ที่มาของภาพ&nbsp;<a href=\"http://goo.gl/gfnpVm\">http://goo.gl/gfnpVm</a></p>\n<p style=\"text-align: center;\" dir=\"ltr\">&nbsp;</p>\n<p style=\"text-align: center;\" dir=\"ltr\">พระคเณศ (สันสกฤต: गणेश, ทมิฬ: பிள்ளையார்) ชาวไทยนิยมเรียกว่า พระพิฆเนศ(विघ्नेश) พระพิฆเณศวร พระพิฆเณศ หรือ พระคณปติ</p>\n<p style=\"text-align: center;\" dir=\"ltr\">เป็นเทพในศาสนาฮินดู นับถือว่าเป็นเทพเจ้าแห่งความรู้ เป็นผู้มีปัญญาเป็นเลิศ ปราดเปรื่องในศิลปวิทยาทุกแขนง เป็นหัวหน้านำคณะข้ามความขัดข้อง (ผู้เป็นใหญ่เหนือความขัดข้อง)</p>\n<p style=\"text-align: center;\" dir=\"ltr\">&nbsp;</p>\n<p style=\"text-align: center;\" dir=\"ltr\">ที่มาของข้อมูล :&nbsp;<a href=\"http://goo.gl/CCa5vK\">http://goo.gl/CCa5vK</a></p>\n<p style=\"text-align: center;\" dir=\"ltr\">&nbsp;</p>\n<p style=\"text-align: center;\">&nbsp;<img src=\"http://upic.me/i/4b/645906hmoluktu9a.gif\" alt=\"\" width=\"207\" height=\"7\" /></p>\n<p style=\"text-align: center;\">&nbsp;</p>\n<p style=\"text-align: center;\"><strong><img src=\"https://upload.wikimedia.org/wikipedia/commons/thumb/c/cb/Oum.svg/2000px-Oum.svg.png\" alt=\"ผลการค้นหารูปภาพสำหรับ ฮินดู\" width=\"16\" height=\"17\" />&nbsp;<a href=\"http://www.thaigoodview.com/node/216786\">พระแม่อุมาเทวี</a></strong></p>\n<p style=\"text-align: center;\"><img src=\"https://lh5.googleusercontent.com/u8GMZiSRJss6XJZH9pO4RKmzrmApU8ms2--s4pLKax952n3Js5qTyIq3ixrhdcvz7E6sgAAyjvffDGfRJIyWFV6aHY-wl985Z_CwmBCVU3abYnNdoEuRAhSygeQlDSR5f5J9YR49\" alt=\"dscn3545.jpg\" width=\"365\" height=\"274\" /></p>\n<p style=\"text-align: center;\">ที่มาของภาพ&nbsp;<a href=\"http://image.free.in.th/z/io/dscn3545.jpg\">http://image.free.in.th/z/io/dscn3545.jpg</a></p>\n<p style=\"text-align: center;\">&nbsp;</p>\n<p style=\"text-align: center;\" dir=\"ltr\"><strong>พระแม่มาริอัมมัน</strong> (ทมิฬ: மாரியம்மாอังกฤษ: mariammanจีน: 馬里安曼)</p>\n<p style=\"text-align: center;\" dir=\"ltr\">เป็นเทวนารี ในศาสนาฮินดู และปรากฏเฉพาะในอินเดียภาคใต้เป็นส่วนใหญ่ และทรงเป็นรู้จักและนับถือภาคใต้ของอินเดียและในพื้นที่ชนบทของรัฐทมิฬนาดู, รัฐกรณาฏกะ , รัฐมหาราษฏระและ รัฐอานธรประเทศ</p>\n<p style=\"text-align: center;\" dir=\"ltr\">ชาวฮินดูและคัมภีร์ในศาสนาฮินดูนั้นถือพระนางทรงเป็นภาคหนึ่งของ<strong>พระแม่ปารวตี</strong>และ<strong>พระแม่ทุรคา</strong> และทรงมีลักษณะคล้ายคลึงเช่นเดียวกับเทวนารีของอินเดียภาคเหนือ คือ พระแม่ศีลตาเทวีและพระแม่กาลี</p>\n<p style=\"text-align: center;\" dir=\"ltr\">ราชรถแห่เทวรูปพระแม่มาริอัมมันในงานเทศกาลอดิตรีรูวิยา (Aadi Thiruvizha) วัดพระศรีสามายาปูรัม มาริอัมมัน รัฐทมิฬนาดูประเทศอินเดีย</p>\n<p style=\"text-align: center;\">ในอินเดียใต้นั้น มีพิธีเฉลิมฉลองถวายแด่พระนางซึ่งเกิดขึ้นในช่วง ปลายฤดูร้อนทั่วภูมิภาคของอินเดียใต้ ซึ่งเป็นงานเทศกาลที่ยิ่งใหญ่ เรียกว่า \"<strong>อดิตรีรูวิยา</strong>\" (Aadi Thiruvizha) เป็นเทศกาลที่สำหรับสักการบูชาประจำปีของพระนางเป็นส่วนใหญ่ มุ่งเน้นไปที่การขอพรและการรักษาโรค เช่น โรค อหิวาตกโรค ฝีดาษ และ โรคต่างๆ ทรงเป็นที่เคารพบูชา ตามท้องถิ่นของอินเดียใต้เป็นส่วนใหญ่ โดยถือเป็นเทวีผู้ดูแลหมู่บ้านต่างๆ และมักจะมีเทวสถานเพื่อประดิษฐานเทวรูปประจำหมู่บ้าน และในเทวสถานนั้นมักขนาบข้างด้วยเทวรูปพระพิฆเนศวร และ พระขันทกุมาร ในความเชื่อของชาวฮินดูนั้น มีสัญญาลักษณ์แทนพระนางคือ <strong>สะเดา</strong> ซึ่งถือว่ามีอำนาจและพลังของพระนางสถิตอยู่พืชชนิดนี้และเครื่องเครื่องสักการบูชาหลักของพระนาง</p>\n<p style=\"text-align: center;\">&nbsp;</p>\n<p style=\"text-align: center;\">ที่มาของข้อมูล&nbsp;<a href=\"http://goo.gl/zLs1ze\">http://goo.gl/zLs1ze</a></p>\n<p style=\"text-align: center;\"><a href=\"http://www.thaigoodview.com/node/216786\"><strong>ข้อมูลเพิ่มเติม</strong>&nbsp;</a></p>\n<p style=\"text-align: center;\">&nbsp;</p>\n<p style=\"text-align: center;\">&nbsp;<img src=\"http://upic.me/i/4b/645906hmoluktu9a.gif\" alt=\"\" width=\"207\" height=\"7\" /></p>\n<p style=\"text-align: center;\">&nbsp;</p>\n<p style=\"text-align: center;\"><strong><strong><img src=\"https://upload.wikimedia.org/wikipedia/commons/thumb/c/cb/Oum.svg/2000px-Oum.svg.png\" alt=\"ผลการค้นหารูปภาพสำหรับ ฮินดู\" width=\"16\" height=\"17\" />&nbsp;</strong>พระแม่ลักษมี</strong></p>\n<p style=\"text-align: center;\"><strong><img src=\"https://lh6.googleusercontent.com/7WPRI3aJBFhm-5DKhmkRJSE-XLUdx49_HV7BIhESuuNqIWVjf2JXZYDg6A8gHa4v4c-oSeyYs2pwaqoIlhIURV5vUGOY7C2yHVFylZMglWr2edeju2qf6XplwGiZLIJBulmn6L5M\" alt=\"laksmi_ganga-jal6.jpg\" width=\"204\" height=\"298\" /></strong></p>\n<p style=\"text-align: center;\">ที่มาของภาพ&nbsp;<a href=\"http://goo.gl/9wYBBw\">http://goo.gl/9wYBBw</a></p>\n<p style=\"text-align: center;\">&nbsp;</p>\n<p style=\"text-align: center;\" dir=\"ltr\"><strong>พระลักษมี (สันสกฤต: ลกฺษฺมี) </strong>หรือ<strong> พระมหาลักษมี</strong></p>\n<p style=\"text-align: center;\" dir=\"ltr\">เป็นเทพีในศาสนาฮินดู โดยเป็นเทพีแห่ง<strong>ความร่ำรวย โชคชะตา ความรัก ความงาม ดอกบัว </strong>และ<strong>ความอุดมสมบูรณ์</strong></p>\n<p style=\"text-align: center;\" dir=\"ltr\"><strong>รูปเคารพ</strong>ของพระแม่ลักษมีนั้นนอกจากจะพบในศาสนสถานของ<strong>ศาสนาฮินดู</strong>แล้ว ยังพบในศาสนสถานของ<strong>ศาสนาเชน</strong>และ<strong>ศาสนาพุทธ</strong> ในบางแห่งอีกด้วย</p>\n<p style=\"text-align: center;\" dir=\"ltr\"><strong>พระลักษมี</strong>นั้นมีความคล้ายคลึงกันกับเทพีของกรีกองค์หนึ่ง คือ<strong>เทพีอะโฟร์ดิตี้</strong> โดยที่เทพีทั้งสองนี้ ถือ<strong>กำเนิดจากมหาสมุทร</strong>เหมือนกัน และเป็นตัวแทนของ<strong>ความสวยงาม</strong>เหมือนกันอีกด้วย</p>\n<p style=\"text-align: center;\" dir=\"ltr\">นอกจากนั้น พระแม่ลักษมี มี<strong>กำเนิดจากฟองน้ำ</strong> ในคราวเทวดาและอสูร กวนเกษียรสมุทร ทำน้ำอมฤต จึงได้นามว่า \"<strong>ชลธิชา\"</strong> (เกิดแต่น้ำ) หรือ \"<strong>กษีราพธิตนยา\"</strong> (พระธิดาแห่งพระสมุทร) ในขณะที่ผุดขึ้นมานั้นนั่งมาในดอกบัวและมือถือดอกบัวด้วย จึงมีอีกนามหนึ่งว่า \"<strong>ปัทมา\"</strong> หรือ \"<strong>กมลา\"</strong> แต่ใน<strong>คัมภีร์วิษณุปุราณะ</strong>จะกล่าวไว้ว่า พระแม่ลักษมีเป็น<strong>ธิดาของพระฤๅษีภฤคุกับนางขยาติ</strong> และยังกล่าวต่อไปอีกว่าพระแม่ลักษมีเป็นมารดา \"<strong>พระกามเทพ\"</strong> ด้วย</p>\n<p style=\"text-align: center;\" dir=\"ltr\">พระแม่ลักษมี ผู้ศรัทธาจะถือกันว่าเป็น เทพนารีผู้อำนวยโชค มีน้ำพระทัยเมตตาปราณีอยู่เป็นนิจ เป็นตัวอย่างแห่งนางที่งามตลอดทั้งรูปและกิริยามารยาท มีวาจาเปี่ยมด้วยเสน่ห์และไพเราะ ทั้งถือกันว่าเป็นผู้นำมาซึ่งความเจริญทุกประการ นับกันว่าเป็นผู้อุปถัมภ์บรรดาสตรีทุกชั้น ส่วนรูปมักเขียนเป็นสตรีที่งามยิ่งมี <strong>2 กร</strong>อย่างธรรมดา (บางแห่งก็ว่ามี 4 กร) สีกายเป็นสีทองเสื้อทรงสีเหลือง <strong>นั่งหรือยืนบนดอกบัวและมือถือดอกบัว</strong></p>\n<p style=\"text-align: center;\" dir=\"ltr\">พระแม่ลักษมี เป็น<strong>ชายาของ พระวิษณุ</strong> หรือ <strong>พระนารายณ์</strong> เมื่อพระวิษณุได้อวตารเป็นพระราม พระแม่ลักษมีก็ได้อวตารตามไปเป็น<strong>นางสีดา</strong> และเมื่อพระวิษณุอวตารเป็นพระกฤษณะ ในปางกฤษณาวตาร พระวิษณุอวตารเป็น พระกฤษณะ พระแม่ลักษมีก็ไปเป็น พระนางรุกมิณี หรือ พระนางราธาเทวี ในปางปรศุรามาวตารก็ไปอวตารเป็น <strong>พระแม่ธรณี</strong> ในปางวามนาวตารก็อวตารไปเป็น <strong>พระนางกมลา</strong> เป็นต้น</p>\n<p style=\"text-align: center;\" dir=\"ltr\">คติความเชื่อถือเกี่ยวกับพระแม่ลักษมีในเมืองไทยอาจเห็นว่า ไม่พบมากนักนอกจากปรากฏในวรรณคดีเรื่องรามเกียรติ์ หรือ รามายณะ ที่เสด็จอวตารลงมาเป็นนางสีดาในรามาวตาร ซึ่งเป็นชนวนเหตุของการรบ ระหว่างทศกัณฐ์ กับพระราม นอกจากนั้นก็ไม่พบได้เด่นชัดนัก</p>\n<p style=\"text-align: center;\" dir=\"ltr\">&nbsp;</p>\n<p style=\"text-align: center;\">ที่มาของข้อมูล&nbsp;<a href=\"http://goo.gl/gMUYKv\">http://goo.gl/gMUYKv</a></p>\n<p style=\"text-align: center;\">&nbsp;</p>\n<p style=\"text-align: center;\">&nbsp;<img src=\"http://upic.me/i/4b/645906hmoluktu9a.gif\" alt=\"\" width=\"207\" height=\"7\" /></p>\n<p style=\"text-align: center;\">&nbsp;</p>\n<p style=\"text-align: center;\"><strong><strong><img src=\"https://upload.wikimedia.org/wikipedia/commons/thumb/c/cb/Oum.svg/2000px-Oum.svg.png\" alt=\"ผลการค้นหารูปภาพสำหรับ ฮินดู\" width=\"16\" height=\"17\" />&nbsp;</strong>พระศิวะ</strong></p>\n<p style=\"text-align: center;\"><strong><img src=\"https://lh6.googleusercontent.com/x2oIBHx8SbRfh85oQScUshPPJUe3b_csL_NswzlCiVaBt_x32yTGkv-0LXqXmmxwBAjO5IBZutbnARESi2ALxClJP385-qTzthfJY4SlxcqpPxZE77OWAX7Eeno7fu3814eVIgKr\" alt=\"25570327-154023.jpg\" width=\"255\" height=\"340\" /></strong></p>\n<p style=\"text-align: center;\">ที่มาของภาพ&nbsp;<a href=\"http://goo.gl/28sVkH\">http://goo.gl/28sVkH</a></p>\n<p style=\"text-align: center;\">&nbsp;</p>\n<p style=\"text-align: center;\" dir=\"ltr\"><strong>พระศิวะ </strong>หรือ<strong> พระอิศวร (อังกฤษ: Mahesh, Shiva; สันสกฤต: शिव)</strong> หนึ่งใน<strong>ตรีมูรติ</strong> หรือเทพเจ้าสูงสุดสามพระองค์ตามความเชื่อในศาสนาพราหมณ์-ฮินดู (อีกสององค์ ได้แก่ <strong>พระพรหม และพระวิษณุ</strong>)</p>\n<p style=\"text-align: center;\" dir=\"ltr\">พระศิวะ มีรูปกายเป็นชายหนุ่มร่างกำยำ วรรณะขาว (สีผิวขาว) นุ่งห่มหนังเสือเหมือนฤๅษี มีสังวาล์เป็นลูกประคำหรือกะโหลกมนุษย์ มีงูเห่าคล้องพระศอ ไว้พระเกศายาว ซึ่งจะม้วนเป็นจุฑา (มวยผม) มีพระจันทร์เป็นปิ่น มีคงคาอยู่บนยอดจุฑา ซึ่งพ่นน้ำมาตลอด และมีดวงพระเนตร (ตาที่ 3) กลางพระนลาฏ (หน้าผาก) ซึ่งโดยปกติจะปิดอยู่เสมอ เชื่อว่าหากเปิดขึ้นเมื่อไหร่ ไฟบรรลัยกัลป์จะเผาผลาญล้างโลก (บ้างว่าเป็นพระพรหม) ถือว่าเป็นการสิ้นสุดกัปหนึ่ง ก่อนที่พระพรหมจะสร้างโลกขึ้นมาใหม่</p>\n<p style=\"text-align: center;\" dir=\"ltr\">มีพาหนะ คือ <strong>โคอุศุภราช</strong> (<strong>วัวเพศผู้สีขาวล้วน</strong>)</p>\n<p style=\"text-align: center;\" dir=\"ltr\">มีชายา คือ <strong>พระอุมา</strong> เทพีแห่งความกล้าหาญ มีโอรสสององค์ คือ <strong>พระขันทกุมาร </strong>และ<strong>พระพิฆเนศ</strong>&nbsp;มีธิดาคือ<strong>พระแม่มนสาเทวีหรือพระยามี</strong></p>\n<p style=\"text-align: center;\" dir=\"ltr\">ประทับอยู่ ณ <strong>เขาไกรลาส</strong> อันเป็นศูนย์กลางแห่งจักรวาล และพระแม่คงคา</p>\n<p style=\"text-align: center;\" dir=\"ltr\">พระศิวะเป็นเทพที่จะคอยขับไล่สิ่งชั่วร้ายให้ห่างไกล และทำให้เกิดความดีงามเป็นศิริมงคลเกิดขึ้น ผู้ที่มีความทุกข์ไม่ว่าจะเป็นในทางใด หากบวงสรวงบูชา ขอพรให้พ้นทุกข์ พระศิวะก็จะประทานพรให้ผู้นั้นได้พ้นจากห้วงแห่งความทุกข์</p>\n<p style=\"text-align: center;\" dir=\"ltr\">พระศิวะมีท่าร่ายรำอันเป็นการร่ายรำของเทพเจ้า เรียกว่า \"<strong>ปางนาฏราช</strong>\" เมื่อแปลงกายลงไปปราบฤๅษีที่ไม่ประพฤติตนอยู่ในเพศดาบส ซึ่งต่อมาชาวฮินดูได้ถือเอาท่าร่ายรำนี้เป็นต้นแบบของการร่ายรำต่าง ๆ มาตราบจนปัจจุบัน</p>\n<p style=\"text-align: center;\" dir=\"ltr\">นอกจากนี้แล้ว พระศิวะยังถือว่าเป็น<strong>เจ้าแห่งผีหรือปีศาจ</strong>อีกด้วย โดยมีพระนามเรียกว่า \"<strong>ปีศาจบดี</strong>\" หรือ \"<strong>ภูเตศวร</strong>\" นอกจากนี้แล้วพระอิศวร ยังมีพระนามอื่นอีก เช่น <strong>\"รุทร\", \"ศังกร\", \"ศุลี\", \"นิลกัณฐ์\", \"หระ\" หรือ \"อีสาน\"</strong> และยังเป็นเทพประจำทิศตะวันออกเฉียงเหนือ หรือ อีสาน อีกด้วย</p>\n<p style=\"text-align: center;\" dir=\"ltr\">นอกจากนี้แล้ว ยังเชื่อว่าพระศอของพระศิวะมีสีดำ ทั้งนี้เนื่องจากพระองค์ได้ยาพิษของพญานาคไว้เมื่อครั้งกวนเกษียรสมุทรทำน้ำอมฤตเพื่อช่วยโลก ซึ่งบทหนึ่งในกามนิต-วาสิฏฐี วรรณกรรมอิงพุทธศาสนาได้อ้างถึง สีของความรักว่าเป็นสีดำ เสมือนสีคอพระศิวะ</p>\n<p style=\"text-align: center;\" dir=\"ltr\">พระศิวะที่<strong>ประเทศศรีลังกา</strong> อันเป็นประเทศที่ศาสนาฮินดูได้เข้ามาเผยแพร่ก่อน ก่อนที่จะกลายมาเป็นพุทธศาสนาเป็นศาสนาหลักอย่างเช่นในปัจจุบัน พระศิวะในความเชื่อของที่นี่จะมี<strong>พาหนะเป็นนกยูง</strong> และกลายมาเป็นเทพเจ้าที่ทำหน้าที่ปกปักษ์รักษาพุทธศาสนา</p>\n<p style=\"text-align: center;\" dir=\"ltr\">&nbsp;</p>\n<p style=\"text-align: center;\">&nbsp;ที่มาของข้อมูล&nbsp;<a href=\"http://goo.gl/0FV6eU\">http://goo.gl/0FV6eU</a></p>\n<p style=\"text-align: center;\">&nbsp;</p>\n<p style=\"text-align: center;\">&nbsp;<img src=\"http://upic.me/i/4b/645906hmoluktu9a.gif\" alt=\"\" width=\"207\" height=\"7\" /></p>\n<p style=\"text-align: center;\">&nbsp;</p>\n<p style=\"text-align: center;\"><strong><strong><strong><img src=\"https://upload.wikimedia.org/wikipedia/commons/thumb/c/cb/Oum.svg/2000px-Oum.svg.png\" alt=\"ผลการค้นหารูปภาพสำหรับ ฮินดู\" width=\"16\" height=\"17\" />&nbsp;</strong></strong>พระกฤษณะ</strong></p>\n<p style=\"text-align: center;\"><strong><img src=\"https://lh6.googleusercontent.com/g9ZFbB4nKENMiU4X2RH1FQ_2zLmuH8a8mrSKmGoOlcHpkIRy5_AvSKU4sXxygokbBkzS-Wx8RKLMsY4KtaPj9FHac8ajAiaMVpP9ijxITEydbUN1eiEqeVscGfHI4PbKHC6zx1Se\" alt=\"I6xk2W.jpg\" width=\"277\" height=\"413\" /></strong></p>\n<p style=\"text-align: center;\" dir=\"ltr\">ที่มาของภาพ <a href=\"http://www.mx7.com/i/ed7/I6xk2W.jpg\">http://www.mx7.com/i/ed7/I6xk2W.jpg</a></p>\n<p style=\"text-align: center;\" dir=\"ltr\">&nbsp;</p>\n<p style=\"text-align: center;\" dir=\"ltr\"><strong>พระกฤษณะ (สันสกฤต: कृष्णอังกฤษ: Lord Krishna)</strong> เป็นเทวะองค์หนึ่งในศาสนาพราหมณ์-ศาสนาฮินดู</p>\n<p style=\"text-align: center;\" dir=\"ltr\">โดยถือว่ารูปแบบอวตารของพระวิษณุ และเป็นตัวดำเนินเรื่องสำคัญในมหากาพย์เรื่อง \"<strong>มหาภารตะ</strong>\" มหากาพย์ที่ยิ่งใหญ่ของประเทศอินเดียและยังทรงเป็นต้นกำเนิดของ<strong>คัมภีร์ภควัทคีตา</strong>หนึ่งในคัมภีร์สำคัญของ<strong>คัมภีร์พระเวท</strong>ทั้งเป็น<strong>พระเจ้าสูงสุดของนิกายฮเรกฤษณะ</strong></p>\n<p style=\"text-align: center;\" dir=\"ltr\">คำว่า <strong>กฤษณะ (KRISHNA)</strong> อ่านออกเสียงว่า \"<strong>คริชณะ</strong>\" เป็นภาษาสันสกฤตมีความหมายว่า <strong>ดำ คล้ำ มืด หรือน้ำเงินเข้ม</strong> ผู้เป็นเจ้าของความมั่งคั่งและชื่อเสียงทั้งหมดซึ่งใช้พรรณนาบุคคลที่มีสีผิวคล้ำ พระกฤษณะทรงได้รับคำพรรณนาบ่อย ๆ ว่าผิวดำ แต่ในรูปภาพนั้นพระองค์ได้รับการวาดด้วยสีผิวสีน้ำเงินเข้ม มี<strong>สัตว์เลียง คือ โคสีขาว</strong></p>\n<p style=\"text-align: center;\">พระกฤษณะเป็นหลานตาของกษัตริย์ ณ มถุรานคร พระกษัตริยมรมพระนามว่าอุคระเสน พระกษัตริย์มีบุตร 2 คน พญากงส์และนางเทวกี นางเทวกีได้สมรสกับพระวสุเทพ ต่อมาพญากงส์กบฏต่อพระบิดา ได้จับพระบิดาอุคระเสนและพี่สาวพี่เขยขังไว้ โหรทำนายว่าบุตรคนที่แปดของนางเทวกีจะฆ่าพญากงส์ พญากงส์จึงฆ่าลูกทุกคนของนางเทวกี หลังจากฆ่าหกคนแรกแล้ว คนที่เจ็ดแท้ง พระกฤษณะเป็นคนที่แปด พระวสุเทพสามารถลักลอบเอาพระกฤษณะไปฝากให้โคบาลชื่อนันทะและนางยโศธาเลี้ยงได้</p>\n<p style=\"text-align: center;\">&nbsp;</p>\n<p style=\"text-align: center;\">ที่มาของข้อมูล&nbsp;<a href=\"http://goo.gl/3t7ScC\">http://goo.gl/3t7ScC</a></p>\n<p style=\"text-align: center;\">&nbsp;</p>\n<p style=\"text-align: center;\"><img src=\"http://upic.me/i/4b/645906hmoluktu9a.gif\" alt=\"\" width=\"207\" height=\"7\" /></p>\n<p style=\"text-align: center;\">&nbsp;</p>\n<p style=\"text-align: center;\" dir=\"ltr\"><strong><strong><strong><strong><img src=\"https://upload.wikimedia.org/wikipedia/commons/thumb/c/cb/Oum.svg/2000px-Oum.svg.png\" alt=\"ผลการค้นหารูปภาพสำหรับ ฮินดู\" width=\"16\" height=\"17\" />&nbsp;</strong></strong></strong>พระวิษณุ</strong></p>\n<p style=\"text-align: center;\" dir=\"ltr\"><strong><img src=\"http://xn--82c3avaz2fp9hf5g.com/wp-content/uploads/2013/02/Vishnu_2.jpg\" alt=\"ผลการค้นหารูปภาพสำหรับ พระวิษณุ\" width=\"355\" height=\"534\" /></strong></p>\n<p style=\"text-align: center;\" dir=\"ltr\">ที่มาของภาพ&nbsp;<a href=\"http://xn--82c3avaz2fp9hf5g.com/wp-content/uploads/2013/02/Vishnu_2.jpg\">http://xn--82c3avaz2fp9hf5g.com/wp-content/uploads/2013/02/Vishnu_2.jpg</a></p>\n<p style=\"text-align: center;\" dir=\"ltr\">&nbsp;</p>\n<p style=\"text-align: center;\" dir=\"ltr\"><strong>พระวิษณุ (สันสกฤต: विष्णु วิษฺณุ)</strong> หรือที่รู้จักกันในพระนามอีกอย่างหนึ่งว่า <strong>พระนารายณ์ (สันสกฤต: नारायण นารายณ)</strong> เป็น<strong>หนึ่งในสามตรีมูรติ</strong> มีหน้าที่<strong>คุ้มครองแลดูแลรักษาทั้ง 3 โลก</strong>ตามความเชื่อของชาวฮินดู จากคัมภีร์พราหมณ์ รูปร่างลักษณะมีพระวรกายจะมีสีที่เปลี่ยนไปตามยุค ฉลองพระองค์ดั่งกษัตริย์ มีมงกุฎทอง อาภรณ์สีเหลือง มี 4 กร ถือ สังข์ กงจักร ตรี คทา แต่ที่จะพบเห็นได้บ่อยที่สุดคือถือ จักร์ สังข์ คทา ส่วนอีกกรจะถือ ดอกบัวบ้าง หรือ ไม่ถืออะไรเลยบ้าง (โดยจะอยู่ในลักษณะ\"<strong>ประทานพร</strong>\")</p>\n<p style=\"text-align: center;\" dir=\"ltr\">โดยปรกติ พระวิษณุ จะทรงประทับอยู่ที่เกษียรสมุทร โดยส่วนมากจะบรรทมอยู่บนหลังอนันตนาคราช โดยมีพระชายาคือพระลักษมีมหาเทวี คอยฝ้าดูแลปรนิบัติอยู่ข้าง ๆ เสมอ พาหนะของพระวิษณุคือ พญาครุฑ</p>\n<p style=\"text-align: center;\" dir=\"ltr\">พระวิษณุ มีอีกพระนามอีกอย่างหนึ่งว่า \"<strong>หริ</strong>\" แปลว่าผู้ดูแลแห่งจักรวาลถือเป็นเทพสูงสุด เพราะทุกอย่างเกิดจาก \"หริ\" โดย\"หริ\" ได้แบ่งตนเองออกเป็น 3 คือ</p>\n<p style=\"text-align: center;\" dir=\"ltr\">1) <strong>พระพรหม</strong> มีหน้าที่สร้างและลิขิตสรรพสิ่งทั้งปวงในทั้งสามโลก</p>\n<p style=\"text-align: center;\" dir=\"ltr\">2) <strong>พระวิษณุ</strong> หรือ พระหริ มีหน้าที่ดูแลทั้งสามโลกให้อยู่ในความเรียบร้อย และสมดุล</p>\n<p style=\"text-align: center;\">3) <strong>พระศิวะ</strong> มีหน้าที่ทำลายสิ่งที่ไม่ดีทั้งหลายทั้งปวงในโลกทั้งสาม</p>\n<p style=\"text-align: center;\">&nbsp;</p>\n<p style=\"text-align: center;\">ที่มาของข้อมูล&nbsp;<a href=\"http://goo.gl/R81lk0\">http://goo.gl/R81lk0</a></p>\n<p style=\"text-align: center;\">&nbsp;</p>\n<p style=\"text-align: center;\">&nbsp;<img src=\"http://upic.me/i/4b/645906hmoluktu9a.gif\" alt=\"\" width=\"207\" height=\"7\" /></p>\n<p style=\"text-align: center;\">&nbsp;</p>\n<p style=\"text-align: center;\">&nbsp;</p>\n<p style=\"text-align: center;\"><img src=\"http://upic.me/i/lm/5m004.gif\" alt=\"ผลการค้นหารูปภาพสำหรับ เส้นคั่น\" width=\"426\" height=\"71\" /></p>\n<p style=\"text-align: center;\">&nbsp;</p>\n<p style=\"text-align: left;\">ที่มาของภาพที่จัดทำแบนเนอร์ &nbsp;<a href=\"http://goo.gl/4F4jAa\">http://goo.gl/4F4jAa</a></p>\n<p style=\"text-align: left;\">จัดทำโดย</p>\n<p style=\"text-align: left;\">&nbsp; &nbsp; &nbsp; &nbsp; &nbsp; &nbsp; &nbsp; นางสาว พรนภา &nbsp; จั่นเงิน &nbsp;</p>\n<p style=\"text-align: left;\">&nbsp; &nbsp; &nbsp; &nbsp; &nbsp; &nbsp; &nbsp; นางสาว พิชชา &nbsp; &nbsp;พึ่งพิบูลย์</p>\n<p style=\"text-align: left;\">&nbsp; &nbsp; &nbsp; &nbsp; &nbsp; &nbsp; &nbsp; นางสาว ฑิฆัมพร &nbsp;เสียงเพราะ</p>\n<p style=\"text-align: left;\">&nbsp; &nbsp; &nbsp;โรงเรียนสตรีศรีสุริโยทัย &nbsp;กรุงเทพมหานคร</p>\n', created = 1729387554, expire = 1729473954, headers = '', serialized = 0 WHERE cid = '3:a16fcef2d4453f5d1ff72c2223c1c2ac' in /home/tgv/htdocs/includes/cache.inc on line 112.

องค์พระภายในวัดพระศรีมหาอุมาเทวี

รูปภาพของ sss30445

sri mahamariamman temple 6.jpg

                                         หน้าแรก  ประวัติ  ที่ตั้ง  การเดินทาง  องค์พระ  พิธีนวราตรี

                                     ข้อควรปฏิบัติ   ของเช่าบูชา  ร้านอาหาร  ร้านขนม  ประมวลภาพ  วิดีโอ

 

 ผลการค้นหารูปภาพสำหรับ เส้นคั่น

 

  Statues In Sri Maha Riamman Temple (For English)

 

 

ผลการค้นหารูปภาพสำหรับ ฮินดู องค์พระภายในวัดศรีมหาอุมาเทวี ผลการค้นหารูปภาพสำหรับ ฮินดู

 

 

 

ผลการค้นหารูปภาพสำหรับ ฮินดู พระพรหม

 

Information For English

 

DSCN9441.JPG

 รูปถ่ายโดยเจ้าของบล็อก

 

(อังกฤษ: Brahma; เตลูกู: బ్రహ్మ; สันสกฤต: ब्रह्मा; เทวนาครี: ब्रह्मा)

เป็นเทพเจ้าสูงสุด (ตรีมูรติ)

พระพรหมมีสี่พักตร์ พระศอสวมลูกประคำ พระหัตถ์แต่ละข้างถือดอกบัว, คัมภีร์ และหม้อน้ำ

มีพาหนะเป็นหงส์ หรือ ห่าน

พระชายา คือ พระสุรัสวดี เทพีแห่งศิลปะวิทยาการและความรอบรู้

 

ที่มาของข้อมูล http://goo.gl/4oWS97

ข้อมูลเพิ่มเติม

 

 

 

   ผลการค้นหารูปภาพสำหรับ ฮินดู พระพิฆเนศ 

14.jpg

ที่มาของภาพ http://goo.gl/gfnpVm

 

พระคเณศ (สันสกฤต: गणेश, ทมิฬ: பிள்ளையார்) ชาวไทยนิยมเรียกว่า พระพิฆเนศ(विघ्नेश) พระพิฆเณศวร พระพิฆเณศ หรือ พระคณปติ

เป็นเทพในศาสนาฮินดู นับถือว่าเป็นเทพเจ้าแห่งความรู้ เป็นผู้มีปัญญาเป็นเลิศ ปราดเปรื่องในศิลปวิทยาทุกแขนง เป็นหัวหน้านำคณะข้ามความขัดข้อง (ผู้เป็นใหญ่เหนือความขัดข้อง)

 

ที่มาของข้อมูล : http://goo.gl/CCa5vK

 

 

 

ผลการค้นหารูปภาพสำหรับ ฮินดู พระแม่อุมาเทวี

dscn3545.jpg

ที่มาของภาพ http://image.free.in.th/z/io/dscn3545.jpg

 

พระแม่มาริอัมมัน (ทมิฬ: மாரியம்மாอังกฤษ: mariammanจีน: 馬里安曼)

เป็นเทวนารี ในศาสนาฮินดู และปรากฏเฉพาะในอินเดียภาคใต้เป็นส่วนใหญ่ และทรงเป็นรู้จักและนับถือภาคใต้ของอินเดียและในพื้นที่ชนบทของรัฐทมิฬนาดู, รัฐกรณาฏกะ , รัฐมหาราษฏระและ รัฐอานธรประเทศ

ชาวฮินดูและคัมภีร์ในศาสนาฮินดูนั้นถือพระนางทรงเป็นภาคหนึ่งของพระแม่ปารวตีและพระแม่ทุรคา และทรงมีลักษณะคล้ายคลึงเช่นเดียวกับเทวนารีของอินเดียภาคเหนือ คือ พระแม่ศีลตาเทวีและพระแม่กาลี

ราชรถแห่เทวรูปพระแม่มาริอัมมันในงานเทศกาลอดิตรีรูวิยา (Aadi Thiruvizha) วัดพระศรีสามายาปูรัม มาริอัมมัน รัฐทมิฬนาดูประเทศอินเดีย

ในอินเดียใต้นั้น มีพิธีเฉลิมฉลองถวายแด่พระนางซึ่งเกิดขึ้นในช่วง ปลายฤดูร้อนทั่วภูมิภาคของอินเดียใต้ ซึ่งเป็นงานเทศกาลที่ยิ่งใหญ่ เรียกว่า "อดิตรีรูวิยา" (Aadi Thiruvizha) เป็นเทศกาลที่สำหรับสักการบูชาประจำปีของพระนางเป็นส่วนใหญ่ มุ่งเน้นไปที่การขอพรและการรักษาโรค เช่น โรค อหิวาตกโรค ฝีดาษ และ โรคต่างๆ ทรงเป็นที่เคารพบูชา ตามท้องถิ่นของอินเดียใต้เป็นส่วนใหญ่ โดยถือเป็นเทวีผู้ดูแลหมู่บ้านต่างๆ และมักจะมีเทวสถานเพื่อประดิษฐานเทวรูปประจำหมู่บ้าน และในเทวสถานนั้นมักขนาบข้างด้วยเทวรูปพระพิฆเนศวร และ พระขันทกุมาร ในความเชื่อของชาวฮินดูนั้น มีสัญญาลักษณ์แทนพระนางคือ สะเดา ซึ่งถือว่ามีอำนาจและพลังของพระนางสถิตอยู่พืชชนิดนี้และเครื่องเครื่องสักการบูชาหลักของพระนาง

 

ที่มาของข้อมูล http://goo.gl/zLs1ze

ข้อมูลเพิ่มเติม 

 

 

 

ผลการค้นหารูปภาพสำหรับ ฮินดู พระแม่ลักษมี

laksmi_ganga-jal6.jpg

ที่มาของภาพ http://goo.gl/9wYBBw

 

พระลักษมี (สันสกฤต: ลกฺษฺมี) หรือ พระมหาลักษมี

เป็นเทพีในศาสนาฮินดู โดยเป็นเทพีแห่งความร่ำรวย โชคชะตา ความรัก ความงาม ดอกบัว และความอุดมสมบูรณ์

รูปเคารพของพระแม่ลักษมีนั้นนอกจากจะพบในศาสนสถานของศาสนาฮินดูแล้ว ยังพบในศาสนสถานของศาสนาเชนและศาสนาพุทธ ในบางแห่งอีกด้วย

พระลักษมีนั้นมีความคล้ายคลึงกันกับเทพีของกรีกองค์หนึ่ง คือเทพีอะโฟร์ดิตี้ โดยที่เทพีทั้งสองนี้ ถือกำเนิดจากมหาสมุทรเหมือนกัน และเป็นตัวแทนของความสวยงามเหมือนกันอีกด้วย

นอกจากนั้น พระแม่ลักษมี มีกำเนิดจากฟองน้ำ ในคราวเทวดาและอสูร กวนเกษียรสมุทร ทำน้ำอมฤต จึงได้นามว่า "ชลธิชา" (เกิดแต่น้ำ) หรือ "กษีราพธิตนยา" (พระธิดาแห่งพระสมุทร) ในขณะที่ผุดขึ้นมานั้นนั่งมาในดอกบัวและมือถือดอกบัวด้วย จึงมีอีกนามหนึ่งว่า "ปัทมา" หรือ "กมลา" แต่ในคัมภีร์วิษณุปุราณะจะกล่าวไว้ว่า พระแม่ลักษมีเป็นธิดาของพระฤๅษีภฤคุกับนางขยาติ และยังกล่าวต่อไปอีกว่าพระแม่ลักษมีเป็นมารดา "พระกามเทพ" ด้วย

พระแม่ลักษมี ผู้ศรัทธาจะถือกันว่าเป็น เทพนารีผู้อำนวยโชค มีน้ำพระทัยเมตตาปราณีอยู่เป็นนิจ เป็นตัวอย่างแห่งนางที่งามตลอดทั้งรูปและกิริยามารยาท มีวาจาเปี่ยมด้วยเสน่ห์และไพเราะ ทั้งถือกันว่าเป็นผู้นำมาซึ่งความเจริญทุกประการ นับกันว่าเป็นผู้อุปถัมภ์บรรดาสตรีทุกชั้น ส่วนรูปมักเขียนเป็นสตรีที่งามยิ่งมี 2 กรอย่างธรรมดา (บางแห่งก็ว่ามี 4 กร) สีกายเป็นสีทองเสื้อทรงสีเหลือง นั่งหรือยืนบนดอกบัวและมือถือดอกบัว

พระแม่ลักษมี เป็นชายาของ พระวิษณุ หรือ พระนารายณ์ เมื่อพระวิษณุได้อวตารเป็นพระราม พระแม่ลักษมีก็ได้อวตารตามไปเป็นนางสีดา และเมื่อพระวิษณุอวตารเป็นพระกฤษณะ ในปางกฤษณาวตาร พระวิษณุอวตารเป็น พระกฤษณะ พระแม่ลักษมีก็ไปเป็น พระนางรุกมิณี หรือ พระนางราธาเทวี ในปางปรศุรามาวตารก็ไปอวตารเป็น พระแม่ธรณี ในปางวามนาวตารก็อวตารไปเป็น พระนางกมลา เป็นต้น

คติความเชื่อถือเกี่ยวกับพระแม่ลักษมีในเมืองไทยอาจเห็นว่า ไม่พบมากนักนอกจากปรากฏในวรรณคดีเรื่องรามเกียรติ์ หรือ รามายณะ ที่เสด็จอวตารลงมาเป็นนางสีดาในรามาวตาร ซึ่งเป็นชนวนเหตุของการรบ ระหว่างทศกัณฐ์ กับพระราม นอกจากนั้นก็ไม่พบได้เด่นชัดนัก

 

ที่มาของข้อมูล http://goo.gl/gMUYKv

 

 

 

ผลการค้นหารูปภาพสำหรับ ฮินดู พระศิวะ

25570327-154023.jpg

ที่มาของภาพ http://goo.gl/28sVkH

 

พระศิวะ หรือ พระอิศวร (อังกฤษ: Mahesh, Shiva; สันสกฤต: शिव) หนึ่งในตรีมูรติ หรือเทพเจ้าสูงสุดสามพระองค์ตามความเชื่อในศาสนาพราหมณ์-ฮินดู (อีกสององค์ ได้แก่ พระพรหม และพระวิษณุ)

พระศิวะ มีรูปกายเป็นชายหนุ่มร่างกำยำ วรรณะขาว (สีผิวขาว) นุ่งห่มหนังเสือเหมือนฤๅษี มีสังวาล์เป็นลูกประคำหรือกะโหลกมนุษย์ มีงูเห่าคล้องพระศอ ไว้พระเกศายาว ซึ่งจะม้วนเป็นจุฑา (มวยผม) มีพระจันทร์เป็นปิ่น มีคงคาอยู่บนยอดจุฑา ซึ่งพ่นน้ำมาตลอด และมีดวงพระเนตร (ตาที่ 3) กลางพระนลาฏ (หน้าผาก) ซึ่งโดยปกติจะปิดอยู่เสมอ เชื่อว่าหากเปิดขึ้นเมื่อไหร่ ไฟบรรลัยกัลป์จะเผาผลาญล้างโลก (บ้างว่าเป็นพระพรหม) ถือว่าเป็นการสิ้นสุดกัปหนึ่ง ก่อนที่พระพรหมจะสร้างโลกขึ้นมาใหม่

มีพาหนะ คือ โคอุศุภราช (วัวเพศผู้สีขาวล้วน)

มีชายา คือ พระอุมา เทพีแห่งความกล้าหาญ มีโอรสสององค์ คือ พระขันทกุมาร และพระพิฆเนศ มีธิดาคือพระแม่มนสาเทวีหรือพระยามี

ประทับอยู่ ณ เขาไกรลาส อันเป็นศูนย์กลางแห่งจักรวาล และพระแม่คงคา

พระศิวะเป็นเทพที่จะคอยขับไล่สิ่งชั่วร้ายให้ห่างไกล และทำให้เกิดความดีงามเป็นศิริมงคลเกิดขึ้น ผู้ที่มีความทุกข์ไม่ว่าจะเป็นในทางใด หากบวงสรวงบูชา ขอพรให้พ้นทุกข์ พระศิวะก็จะประทานพรให้ผู้นั้นได้พ้นจากห้วงแห่งความทุกข์

พระศิวะมีท่าร่ายรำอันเป็นการร่ายรำของเทพเจ้า เรียกว่า "ปางนาฏราช" เมื่อแปลงกายลงไปปราบฤๅษีที่ไม่ประพฤติตนอยู่ในเพศดาบส ซึ่งต่อมาชาวฮินดูได้ถือเอาท่าร่ายรำนี้เป็นต้นแบบของการร่ายรำต่าง ๆ มาตราบจนปัจจุบัน

นอกจากนี้แล้ว พระศิวะยังถือว่าเป็นเจ้าแห่งผีหรือปีศาจอีกด้วย โดยมีพระนามเรียกว่า "ปีศาจบดี" หรือ "ภูเตศวร" นอกจากนี้แล้วพระอิศวร ยังมีพระนามอื่นอีก เช่น "รุทร", "ศังกร", "ศุลี", "นิลกัณฐ์", "หระ" หรือ "อีสาน" และยังเป็นเทพประจำทิศตะวันออกเฉียงเหนือ หรือ อีสาน อีกด้วย

นอกจากนี้แล้ว ยังเชื่อว่าพระศอของพระศิวะมีสีดำ ทั้งนี้เนื่องจากพระองค์ได้ยาพิษของพญานาคไว้เมื่อครั้งกวนเกษียรสมุทรทำน้ำอมฤตเพื่อช่วยโลก ซึ่งบทหนึ่งในกามนิต-วาสิฏฐี วรรณกรรมอิงพุทธศาสนาได้อ้างถึง สีของความรักว่าเป็นสีดำ เสมือนสีคอพระศิวะ

พระศิวะที่ประเทศศรีลังกา อันเป็นประเทศที่ศาสนาฮินดูได้เข้ามาเผยแพร่ก่อน ก่อนที่จะกลายมาเป็นพุทธศาสนาเป็นศาสนาหลักอย่างเช่นในปัจจุบัน พระศิวะในความเชื่อของที่นี่จะมีพาหนะเป็นนกยูง และกลายมาเป็นเทพเจ้าที่ทำหน้าที่ปกปักษ์รักษาพุทธศาสนา

 

 ที่มาของข้อมูล http://goo.gl/0FV6eU

 

 

 

ผลการค้นหารูปภาพสำหรับ ฮินดู พระกฤษณะ

I6xk2W.jpg

ที่มาของภาพ http://www.mx7.com/i/ed7/I6xk2W.jpg

 

พระกฤษณะ (สันสกฤต: कृष्णอังกฤษ: Lord Krishna) เป็นเทวะองค์หนึ่งในศาสนาพราหมณ์-ศาสนาฮินดู

โดยถือว่ารูปแบบอวตารของพระวิษณุ และเป็นตัวดำเนินเรื่องสำคัญในมหากาพย์เรื่อง "มหาภารตะ" มหากาพย์ที่ยิ่งใหญ่ของประเทศอินเดียและยังทรงเป็นต้นกำเนิดของคัมภีร์ภควัทคีตาหนึ่งในคัมภีร์สำคัญของคัมภีร์พระเวททั้งเป็นพระเจ้าสูงสุดของนิกายฮเรกฤษณะ

คำว่า กฤษณะ (KRISHNA) อ่านออกเสียงว่า "คริชณะ" เป็นภาษาสันสกฤตมีความหมายว่า ดำ คล้ำ มืด หรือน้ำเงินเข้ม ผู้เป็นเจ้าของความมั่งคั่งและชื่อเสียงทั้งหมดซึ่งใช้พรรณนาบุคคลที่มีสีผิวคล้ำ พระกฤษณะทรงได้รับคำพรรณนาบ่อย ๆ ว่าผิวดำ แต่ในรูปภาพนั้นพระองค์ได้รับการวาดด้วยสีผิวสีน้ำเงินเข้ม มีสัตว์เลียง คือ โคสีขาว

พระกฤษณะเป็นหลานตาของกษัตริย์ ณ มถุรานคร พระกษัตริยมรมพระนามว่าอุคระเสน พระกษัตริย์มีบุตร 2 คน พญากงส์และนางเทวกี นางเทวกีได้สมรสกับพระวสุเทพ ต่อมาพญากงส์กบฏต่อพระบิดา ได้จับพระบิดาอุคระเสนและพี่สาวพี่เขยขังไว้ โหรทำนายว่าบุตรคนที่แปดของนางเทวกีจะฆ่าพญากงส์ พญากงส์จึงฆ่าลูกทุกคนของนางเทวกี หลังจากฆ่าหกคนแรกแล้ว คนที่เจ็ดแท้ง พระกฤษณะเป็นคนที่แปด พระวสุเทพสามารถลักลอบเอาพระกฤษณะไปฝากให้โคบาลชื่อนันทะและนางยโศธาเลี้ยงได้

 

ที่มาของข้อมูล http://goo.gl/3t7ScC

 

 

ผลการค้นหารูปภาพสำหรับ ฮินดู พระวิษณุ

ผลการค้นหารูปภาพสำหรับ พระวิษณุ

ที่มาของภาพ http://xn--82c3avaz2fp9hf5g.com/wp-content/uploads/2013/02/Vishnu_2.jpg

 

พระวิษณุ (สันสกฤต: विष्णु วิษฺณุ) หรือที่รู้จักกันในพระนามอีกอย่างหนึ่งว่า พระนารายณ์ (สันสกฤต: नारायण นารายณ) เป็นหนึ่งในสามตรีมูรติ มีหน้าที่คุ้มครองแลดูแลรักษาทั้ง 3 โลกตามความเชื่อของชาวฮินดู จากคัมภีร์พราหมณ์ รูปร่างลักษณะมีพระวรกายจะมีสีที่เปลี่ยนไปตามยุค ฉลองพระองค์ดั่งกษัตริย์ มีมงกุฎทอง อาภรณ์สีเหลือง มี 4 กร ถือ สังข์ กงจักร ตรี คทา แต่ที่จะพบเห็นได้บ่อยที่สุดคือถือ จักร์ สังข์ คทา ส่วนอีกกรจะถือ ดอกบัวบ้าง หรือ ไม่ถืออะไรเลยบ้าง (โดยจะอยู่ในลักษณะ"ประทานพร")

โดยปรกติ พระวิษณุ จะทรงประทับอยู่ที่เกษียรสมุทร โดยส่วนมากจะบรรทมอยู่บนหลังอนันตนาคราช โดยมีพระชายาคือพระลักษมีมหาเทวี คอยฝ้าดูแลปรนิบัติอยู่ข้าง ๆ เสมอ พาหนะของพระวิษณุคือ พญาครุฑ

พระวิษณุ มีอีกพระนามอีกอย่างหนึ่งว่า "หริ" แปลว่าผู้ดูแลแห่งจักรวาลถือเป็นเทพสูงสุด เพราะทุกอย่างเกิดจาก "หริ" โดย"หริ" ได้แบ่งตนเองออกเป็น 3 คือ

1) พระพรหม มีหน้าที่สร้างและลิขิตสรรพสิ่งทั้งปวงในทั้งสามโลก

2) พระวิษณุ หรือ พระหริ มีหน้าที่ดูแลทั้งสามโลกให้อยู่ในความเรียบร้อย และสมดุล

3) พระศิวะ มีหน้าที่ทำลายสิ่งที่ไม่ดีทั้งหลายทั้งปวงในโลกทั้งสาม

 

ที่มาของข้อมูล http://goo.gl/R81lk0

 

 

 

 

ผลการค้นหารูปภาพสำหรับ เส้นคั่น

 

ที่มาของภาพที่จัดทำแบนเนอร์  http://goo.gl/4F4jAa

จัดทำโดย

              นางสาว พรนภา   จั่นเงิน  

              นางสาว พิชชา    พึ่งพิบูลย์

              นางสาว ฑิฆัมพร  เสียงเพราะ

     โรงเรียนสตรีศรีสุริโยทัย  กรุงเทพมหานคร

มหาวิทยาลัยศรีปทุม ผู้ใหญ่ใจดี
 

 ช่วยด้วยครับ
นักเรียนที่สร้างบล็อก กรุณาอย่า
คัดลอกข้อมูลจากเว็บอื่นทั้งหมด
ควรนำมาจากหลายๆ เว็บ แล้ววิเคราะห์ สังเคราะห์ และเขียนขึ้นใหม่
หากคัดลอกทั้งหมด จะถูกดำเนินคดี
ตามกฎหมายจากเจ้าของลิขสิทธิ์
มีโทษทั้งจำคุกและปรับในอัตราสูง

ช่วยกันนะครับ 
ไทยกู๊ดวิวจะได้อยู่นานๆ 
ไม่ถูกปิดเสียก่อน

ขอขอบคุณในความร่วมมือครับ

อ่านรายละเอียด

ด่วน...... ขณะนี้
พระราชบัญญัติลิขสิทธิ์ (ฉบับที่ 2) พ.ศ. 2558 
มีผลบังคับใช้แล้ว 
ขอให้นักเรียนและคุณครูที่ใช้งาน
เว็บ thaigoodview ในการส่งการบ้าน
ระมัดระวังการละเมิดลิขสิทธิ์ด้วย
อ่านรายละเอียดที่นี่ครับ

 

สมาชิกที่ออนไลน์

ขณะนี้มี สมาชิก 0 คน และ ผู้เยี่ยมชม 423 คน กำลังออนไลน์