• user warning: Table 'cache_filter' is marked as crashed and should be repaired query: SELECT data, created, headers, expire, serialized FROM cache_filter WHERE cid = '3:55486483333179727fc3abc0bcd7bf18' in /home/tgv/htdocs/includes/cache.inc on line 27.
  • user warning: Table 'cache_filter' is marked as crashed and should be repaired query: UPDATE cache_filter SET data = '<!--paging_filter--><p>\n<span style=\"font-size: x-small; font-family: Tahoma\">          ภาควิชาวิศวกรรมวัสดุและโลหการ คณะวิศวกรรมศาสตร์ มหาวิทยาลัยเทคโนโลยีราชมงคล (มทร.) ธัญบุรี โดยนางสาวสุวรรณา (ยะ) หมีสัน, นางสาวจินตนา (แจ้ว)  ขวัญแก้ว, นางสาวรัชนี (บุ๋ม)  แก้วทองนักศึกษาชั้นปีที่ 4 และผศ.ดร.สมหมาย   ผิวสอาด คณบดีคณะวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี ที่ปรึกษา ได้พัฒนาวัสดุทดแทนพีวีซีเหลวด้วยน้ำยางธรรมชาติในกระบวนการจุ่มด้วยแม่พิมพ์</span>\n</p>\n<p>\n<span style=\"font-size: x-small; font-family: Tahoma\">          นางสาวรัชนี (บุ๋ม)  แก้วทอง  ตัวแทนเล่าว่า  เป็นงานวิจัยที่ช่วยลดการใช้พีวีซีโดยหันมาใช้วัตถุดิบที่มาจากธรรมชาติ โดยทำการศึกษาการเตรียมน้ำยางพรีวัลคาไนซ์ ที่มีการแปรปริมาณสารตัวเติม 2 ชนิด คือแคลเซียมคาร์บอเนตและ เคลย์ ในปริมาณที่ต่างกัน แล้วทำการศึกษาสมบัติเชิงกล สมบัติทางกายภาพ สมบัติทางไฟฟ้า และผลของการขึ้นรูปต่อความหนาของผลิตภัณฑ์ โดยวิธีการดังนี้ </span>\n</p>\n<p>\n<span style=\"font-size: x-small\"></span>\n</p>\n<p align=\"center\">\n<img border=\"0\" width=\"350\" src=\"/files/u20/pvc.jpg\" height=\"233\" />\n</p>\n<p align=\"center\">\n&nbsp;\n</p>\n<p>\n<span style=\"font-size: x-small\">          </span><strong>การเตรียมน้ำยางคอมพาวด์    <br />\n</strong><span style=\"font-size: x-small\">          </span>1.การเตรียมสารเคมีในรูปของดิสเพอร์ชัน หรือสารละลาย ด้วยเครื่องผสมโดยใช้ความเร็วรอบ 300 รอบต่อนาที ที่อุณหภูมิ 60 – 70 องศาเซลเซียส  <br />\n<span style=\"font-size: x-small\">          </span>2.ชั่งน้ำยางตามสูตร  <br />\n<span style=\"font-size: x-small\">          </span>3.ผสมน้ำยาง และสารเคมีตามลำดับด้วยเครื่องผสม 30 นาที  <br />\n<span style=\"font-size: x-small\">          </span>4.นำน้ำยางที่ได้ มาทำการกรองเพื่อแยกสารเคมีที่เหลือออกจากปฏิกิริยา  <br />\n<span style=\"font-size: x-small\">          </span>5.บ่มน้ำยางที่อุณหภูมิห้อง ทิ้งไว้ประมาณ  7 วัน\n</p>\n<p>\n<span style=\"font-size: x-small\">          </span><strong>ขั้นของการเตรียมแผ่นทดสอบ <br />\n</strong><span style=\"font-size: x-small\">          </span>1.เทน้ำยางคอมพาวด์ลงในแม่พิมพ์สำหรับขึ้นรูปแผ่นทดสอบ <br />\n<span style=\"font-size: x-small\">          </span>2.อบแผ่นทดสอบที่อุณหภูมิ 90 องศาเซลเซียส ใช้เวลา 2 ชั่วโมง <br />\n<span style=\"font-size: x-small\">          </span>3.นำชิ้นทดสอบออกจากแม่พิมพ์\n</p>\n<p>\n<span style=\"font-size: x-small; font-family: Tahoma\">          <strong>ขั้นตอนการขึ้นรูปผลิตภัณฑ์</strong>                 <br />\n          1.นำแม่พิมพ์ไปอบที่อุณหภูมิ 100 องซาเซลเซียส <br />\n          2.จุ่มสารช่วยในการจับตัว (แคลเซียมไนเทรต 20%) <br />\n          3.จุ่มน้ำยางคอมพาวด์ที่เวลา 50 วินาที  <br />\n          4.อบผลิตภัณฑ์ <br />\n          5.ถอดชิ้นงานออกจากแม่พิมพ์ 2   <br />\n          6.ตกแต่งผลิตภัณฑ์  </span>\n</p>\n<p><span style=\"font-size: x-small; font-family: Tahoma\">          งานวิจัยดังกล่าว สรุปได้ว่า สารตัวเติมที่เหมาะสมคือ เคลย์ ให้ค่าสมบัติเชิงกลที่มีความทนทานต่อแรงดึง ความทนทานต่อการฉีกขาด และความแข็ง และค่าสมบัติทางไฟฟ้าคือความต้านทานเชิงปริมาตร ความต้านทานเชิงพื้นผิว ความสำเร็จของงานวิจัยนี้ ช่วยลดการใช้พีวีซี แล้วหันมาใช้น้ำยางธรรมชาติแทน ซึ่งจะมีความยืดหยุ่น ทนทานต่อแรงดึง และการฉีกขาด และมีความเป็นชนวนไฟฟ้าดี เป็นทางเลือกที่ดีสำหรับภาคส่วนอุตสาหกรรมรถยนต์ เป็นชิ้นงานอิเล็กทรอนิกส์ จำพวกชนวนหุ้มสายไฟ และสามารถปรับการใช้งานตามความเหมาะสมหรือตามต้องการ  ไม่มากก็น้อยคงช่วยลดการปล่อยสารพิษออกสู่อากาศได้  <br />\n       <strong>   ผู้สนใจสอบถามรายละเอียดได้ที่ผศ.ดร.สมหมาย  ผิวสอาด โทร.08-9900-3227, 02-549-4150-4</strong></span><span style=\"font-size: x-small; font-family: Tahoma\"> </span></p>\n<p>\n<strong></strong></p>\n<hr id=\"null\" />\n\n\n<p align=\"right\">\nข้อมูลจาก มหาวิทยาลัยเทคโนโลยีราชมงคล (มทร.) ธัญบุรี\n</p>\n<p></p>\n<p>\n<span style=\"font-size: x-small; font-family: Tahoma\"></span>\n</p>\n', created = 1719802157, expire = 1719888557, headers = '', serialized = 0 WHERE cid = '3:55486483333179727fc3abc0bcd7bf18' in /home/tgv/htdocs/includes/cache.inc on line 112.

วัสดุทดแทนพีวีซีเหลวด้วยน้ำยางธรรมชาติ

          ภาควิชาวิศวกรรมวัสดุและโลหการ คณะวิศวกรรมศาสตร์ มหาวิทยาลัยเทคโนโลยีราชมงคล (มทร.) ธัญบุรี โดยนางสาวสุวรรณา (ยะ) หมีสัน, นางสาวจินตนา (แจ้ว)  ขวัญแก้ว, นางสาวรัชนี (บุ๋ม)  แก้วทองนักศึกษาชั้นปีที่ 4 และผศ.ดร.สมหมาย   ผิวสอาด คณบดีคณะวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี ที่ปรึกษา ได้พัฒนาวัสดุทดแทนพีวีซีเหลวด้วยน้ำยางธรรมชาติในกระบวนการจุ่มด้วยแม่พิมพ์

          นางสาวรัชนี (บุ๋ม)  แก้วทอง  ตัวแทนเล่าว่า  เป็นงานวิจัยที่ช่วยลดการใช้พีวีซีโดยหันมาใช้วัตถุดิบที่มาจากธรรมชาติ โดยทำการศึกษาการเตรียมน้ำยางพรีวัลคาไนซ์ ที่มีการแปรปริมาณสารตัวเติม 2 ชนิด คือแคลเซียมคาร์บอเนตและ เคลย์ ในปริมาณที่ต่างกัน แล้วทำการศึกษาสมบัติเชิงกล สมบัติทางกายภาพ สมบัติทางไฟฟ้า และผลของการขึ้นรูปต่อความหนาของผลิตภัณฑ์ โดยวิธีการดังนี้

 

          การเตรียมน้ำยางคอมพาวด์    
          1.การเตรียมสารเคมีในรูปของดิสเพอร์ชัน หรือสารละลาย ด้วยเครื่องผสมโดยใช้ความเร็วรอบ 300 รอบต่อนาที ที่อุณหภูมิ 60 – 70 องศาเซลเซียส  
          2.ชั่งน้ำยางตามสูตร  
          3.ผสมน้ำยาง และสารเคมีตามลำดับด้วยเครื่องผสม 30 นาที  
          4.นำน้ำยางที่ได้ มาทำการกรองเพื่อแยกสารเคมีที่เหลือออกจากปฏิกิริยา  
          5.บ่มน้ำยางที่อุณหภูมิห้อง ทิ้งไว้ประมาณ  7 วัน

          ขั้นของการเตรียมแผ่นทดสอบ 
          1.เทน้ำยางคอมพาวด์ลงในแม่พิมพ์สำหรับขึ้นรูปแผ่นทดสอบ 
          2.อบแผ่นทดสอบที่อุณหภูมิ 90 องศาเซลเซียส ใช้เวลา 2 ชั่วโมง 
          3.นำชิ้นทดสอบออกจากแม่พิมพ์

          ขั้นตอนการขึ้นรูปผลิตภัณฑ์                 
          1.นำแม่พิมพ์ไปอบที่อุณหภูมิ 100 องซาเซลเซียส 
          2.จุ่มสารช่วยในการจับตัว (แคลเซียมไนเทรต 20%) 
          3.จุ่มน้ำยางคอมพาวด์ที่เวลา 50 วินาที  
          4.อบผลิตภัณฑ์ 
          5.ถอดชิ้นงานออกจากแม่พิมพ์ 2   
          6.ตกแต่งผลิตภัณฑ์ 

          งานวิจัยดังกล่าว สรุปได้ว่า สารตัวเติมที่เหมาะสมคือ เคลย์ ให้ค่าสมบัติเชิงกลที่มีความทนทานต่อแรงดึง ความทนทานต่อการฉีกขาด และความแข็ง และค่าสมบัติทางไฟฟ้าคือความต้านทานเชิงปริมาตร ความต้านทานเชิงพื้นผิว ความสำเร็จของงานวิจัยนี้ ช่วยลดการใช้พีวีซี แล้วหันมาใช้น้ำยางธรรมชาติแทน ซึ่งจะมีความยืดหยุ่น ทนทานต่อแรงดึง และการฉีกขาด และมีความเป็นชนวนไฟฟ้าดี เป็นทางเลือกที่ดีสำหรับภาคส่วนอุตสาหกรรมรถยนต์ เป็นชิ้นงานอิเล็กทรอนิกส์ จำพวกชนวนหุ้มสายไฟ และสามารถปรับการใช้งานตามความเหมาะสมหรือตามต้องการ  ไม่มากก็น้อยคงช่วยลดการปล่อยสารพิษออกสู่อากาศได้  
          ผู้สนใจสอบถามรายละเอียดได้ที่ผศ.ดร.สมหมาย  ผิวสอาด โทร.08-9900-3227, 02-549-4150-4


ข้อมูลจาก มหาวิทยาลัยเทคโนโลยีราชมงคล (มทร.) ธัญบุรี

มหาวิทยาลัยศรีปทุม ผู้ใหญ่ใจดี
 

 ช่วยด้วยครับ
นักเรียนที่สร้างบล็อก กรุณาอย่า
คัดลอกข้อมูลจากเว็บอื่นทั้งหมด
ควรนำมาจากหลายๆ เว็บ แล้ววิเคราะห์ สังเคราะห์ และเขียนขึ้นใหม่
หากคัดลอกทั้งหมด จะถูกดำเนินคดี
ตามกฎหมายจากเจ้าของลิขสิทธิ์
มีโทษทั้งจำคุกและปรับในอัตราสูง

ช่วยกันนะครับ 
ไทยกู๊ดวิวจะได้อยู่นานๆ 
ไม่ถูกปิดเสียก่อน

ขอขอบคุณในความร่วมมือครับ

อ่านรายละเอียด

ด่วน...... ขณะนี้
พระราชบัญญัติลิขสิทธิ์ (ฉบับที่ 2) พ.ศ. 2558 
มีผลบังคับใช้แล้ว 
ขอให้นักเรียนและคุณครูที่ใช้งาน
เว็บ thaigoodview ในการส่งการบ้าน
ระมัดระวังการละเมิดลิขสิทธิ์ด้วย
อ่านรายละเอียดที่นี่ครับ

 

สมาชิกที่ออนไลน์

ขณะนี้มี สมาชิก 0 คน และ ผู้เยี่ยมชม 585 คน กำลังออนไลน์