• user warning: Table 'cache_filter' is marked as crashed and should be repaired query: SELECT data, created, headers, expire, serialized FROM cache_filter WHERE cid = '3:88d5df9723490f365d543aac578fe3be' in /home/tgv/htdocs/includes/cache.inc on line 27.
  • user warning: Table 'cache_filter' is marked as crashed and should be repaired query: UPDATE cache_filter SET data = '<!--paging_filter--><p>\n<strong><span style=\"color: #0000ff\">มอบหมายงาน <span style=\"color: #0000ff\">ชิ้นที่ 2</span></span></strong>\n</p>\n<p>\n<strong>ให้นักเรียนค้นคว้า</strong>ประวัตินักวิทยาศาสตร์ชื่อ<strong><span style=\"color: #008000\">เมนเดล</span> สรุป</strong>ชีวประวัติ และผลงาน ความยาวไม่เกิน 10 บรรทัด พร้อมรูปภาพประกอบ โดยมีการอ้างอิงที่มาของข้อมูลทั้งที่เป็น เนื้อหา และรูปภาพ\n</p>\n<p>\n<span style=\"color: #0000ff\"><strong><span style=\"color: #000000\">การส่งงาน</span></strong></span><span style=\"color: #000000\"> ให้ส่งที่</span><span style=\"color: #0000ff\"><strong><span style=\"color: #008000\">แสดงความคิดเห็น</span>.........</strong></span><span style=\"color: #000000\">นะคะ<img border=\"0\" src=\"/sites/all/modules/tinymce/tinymce/jscripts/tiny_mce/plugins/emotions/images/smiley-smile.gif\" alt=\"Smile\" title=\"Smile\" /></span>\n</p>\n<p>\n<strong>กำหนดส่ง</strong> <span style=\"color: #ff0000\">ภายใน วันจันทร์ที่ 1 มิถุนายน 2552 เวลา 16.00 น.</span>\n</p>\n', created = 1714325667, expire = 1714412067, headers = '', serialized = 0 WHERE cid = '3:88d5df9723490f365d543aac578fe3be' in /home/tgv/htdocs/includes/cache.inc on line 112.

m3/8 job2

รูปภาพของ puangtip

มอบหมายงาน ชิ้นที่ 2

ให้นักเรียนค้นคว้าประวัตินักวิทยาศาสตร์ชื่อเมนเดล สรุปชีวประวัติ และผลงาน ความยาวไม่เกิน 10 บรรทัด พร้อมรูปภาพประกอบ โดยมีการอ้างอิงที่มาของข้อมูลทั้งที่เป็น เนื้อหา และรูปภาพ

การส่งงาน ให้ส่งที่แสดงความคิดเห็น.........นะคะSmile

กำหนดส่ง ภายใน วันจันทร์ที่ 1 มิถุนายน 2552 เวลา 16.00 น.

รูปภาพของ sss28728

โจฮันน์ เกรเกอร์ เมนเดล
"บิดาแห่งวิชาพันธุศาสตร์"
เมนเดลเกิดเมื่อวันที่ 27 กรกฎาคม พ.ศ.2365 ที่เมืองโมราเวีย ประเทศออสเตรีย บิดาของเขาเป็น ชาวสวน เขาคลุกคลีกับธรรมชาติมาตั้งแต่เด็กและมักจะช่วยบิดาของเขาทำไร่ทำสวนอยู่เสมอ
การศึกษาในวัยเด็ก หลังจากจบชั้นประถมแล้ว ก็เข้าเรียนต่อชั้นมัธยม ในระหว่างนั้นบิดาของเขาก็ประสบ อุบัติเหตุ ทำให้ฐานะทางครอบครัวยากจนลง เมนเดลจึงต้องออกจากโรงเรียนและต้องทำงานอย่างหนักจนต้อง ล้มป่วย ตอนอายุประมาณ 17ปี
ในที่สุดครอบครัวของเขาก็ตกลงใจขายไร่ที่มีอยู่ทั้งหมดและแบ่งเงินคริ่งหนึ่งเพื่อให้เมนเดลได้เรียน และ เทเรเซีย ซึ่งเป็นน้องสาวของเขาก็ได้มอบเงินในส่วนของเธอให้พี่ชายเรียนต่อจนจบ ในระหว่างเรียนนั้น เมนเดลก็ทำงานไปด้วย เมนเดลตกลงใจบวชเป็นพระเมื่ออายุ 21 ปี และมีฉายาทางพระว่า "เกรเกอร์ เมื่ออายุได้ 47 ปี เขาได้เป็นสมภารวัดและต้องทำงานอย่างหนัก แต่ก็ไม่ได้ทิ้งงานค้นคว้าวิจัย เขาใช้เมล็ด ถั่วในการทดลองผสมพันธุ์และได้พิมพ์ผลงานออกเผยแพร่แต่ไม่ได้รับความสนใจ ในสมัยนั้นมีความเชื่อว่า ลูกที่เกิดมาต้องมีรูปร่างหน้าตาเหมือนพ่อแม่ทุกอย่าง เมนเดลสามารถอธิบายให้ เห็นว่าเด็กที่เกิดจากพ่อแม่เดียวกันมีความเหมือนและแตกต่างจากพ่อแม่อย่างไร ปัจจุบันนี้ทฤษฎีของเมนเดล ช่วยให้เราสามารถผสมพันธุ์พืชและสัตว์ให้ได้พันธุ์ที่ดีตามต้องการ เมนเดลถึงแก่กรรมในปี พ.ศ.2427
ผลงาน
1.ค้นพบเรื่องกฎของพันธุกรรมโดยใช้เมล้ดถั่ว
2.หนึ่งในเจ็ดผู้บุกเบิกโลกชีววิทยา ฟิสิกส์ราชมงคล
3.กฎของเมนเดล บอกถึงลักษณะทางพันธุกรรม โดยมี 2 ลักษณะดังนี้ 1.ลักษณะทางจีโนไทป์ คือ ลักษณะทางยีนส์ 2.ลักษณะภายนอก คือฟีโนไทป์

แหล่งที่มาข้อมูล http://www.geocities.com/nananaru/humhist/humhist2.html
http://www.vcharkarn.com/vcafe/37268
http://www.rmutphysics.com/CHARUD/specialnews/5/biology/bio5.htm

แหล่งที่มารูปภาพ http://www.atom.rmutphysics.com/charud/PDF-learning/6/picscientist/3/Joh...

รูปภาพของ sss28677

บิดาแห่งพันธุศาสตร์

เกรเกอร์ โจฮันน์ เมนเดล : Gregor Mendelเกิด วันที่ 27 กรกฎาคม ค.ศ. 1822 ที่เมืองโมราเวีย (Moravia) ประเทศสาธารณรัฐเชค (Republic of Czech)
เสียชีวิต วันที่ 6 มกราคม ค.ศ. 1884 ที่เมืองเบิร์น (Brunn) ประเทศสาธารณรัฐเชค (Republic of Czech)
ผลงาน - ค้นพบลักษณะการถ่ายทอดพันธุกรรมของสิ่งมีชีวิต
- ให้กำเนิดวิชาพันธุศาสตร์ (Genetices)

เมนเดลได้รับการยกย่องว่าเป็นบิดาแห่งพันธุศาสตร์ ด้วยผลงานการค้นพบความลับทางธรรมชาติ ที่ว่าด้วยการถ่ายทอดลักษณะต่าง ๆ ของพ่อแม่ไปยังลูกหลาน หรือที่เรียกว่า กรรมพันธุ์ (Heredity)

การทดลองของเมนเดล

เกรเกอร์ โจธัน เมนเดล เกิดในปี ค.ศ.1822 เมนเดลเคยศึกษาวิชาฟิสิกส์ คณิตศาสตร์และธรรมชาติวิทยา เขาบวชเป็นพระที่เมืองบรูนน์ ประเทศออสเตรีย ในสมัยของเมนเดลมีความเชื่อเกี่ยวกับเรื่องพันธุศาสตร์ที่ผิด ๆ อยู่เช่น เผ่าพันธุ์ของพืช สัตว์ จะดำรงอยู่ได้โดยไม่เปลี่ยนแปลงลักษณะและจะเปลี่ยนแปลงลักษณะต่อเมื่อธรรมชาติเปลี่ยนแปลงไป เป็นต้นแต่เมนเดลเป็นผู้ค้นพบคำตอบที่ถูกต้องโดยทดลองกับต้นถั่วลันเตา ถั่วลันเตาเป็นพืชที่ไม่มีความสลับซับซ้อนเพราะเมื่อสังเกตลักษณะภายนอกจะพบความแตกต่างง่าย ๆ เช่น ความสูงของลำต้นมี 2 ขนาด มีลักษณะเมล็ด 2 แบบ ถั่วลันเตาเป็นพืชที่เหมาะสมที่ใช้ในการทดลอง

วิธีการทดลองของเมนเดล

1. เมนเดล ผสมต้นถั่วลันเตาจนได้พันธุ์บริสุทธิ์ทั้ง พ่อพันธุ์ แม่พันธุ์

2. เมนเดล นำต้นถั่วพันธุ์สูงเป็นพ่อพันธุ์ หรือแม่พันธุ์ มาผสมกับต้นถั่วพันธุ์เตี้ยซึ่งเป็นแม่พันธุ์หรือพ่อพันธุ์ เป็นการผสมข้ามต้นต่างลักษณะ

3. เมนเดล นำต้นถั่วรุ่นที่สอง (F2) มาผสมพันธุ์กันเอง

สรุปผลการทดลองของเมนเดล

1. ลักษณะทางพันธุกรรมที่ควบคุมความสูงของต้นถั่วมีลักษณะเด่น คือ ลักษณะลำต้นสูงกับลักษณะด้อย คือ ลักษณะลำต้นเตี้ย ลักษณะทางพันธุกรรมของพ่อจะอยู่ในละอองเกสรตัวผู้ ของแม่จะอยู่ในรังไข่ ลักษณะพันธุกรรมจึงถ่ายทอดถึงลูกหลานได้

2. ลักษณะเด่นจะข่มลักษณะด้อยในรุ่นลูก (F1) จึงพบรุ่นลูกมีลักษณะเด่นหมด ทั้งนี้ภายในข้อจำกัดพ่อและแม่ ต้องเป็นพันธุ์เด่นแท้และด้อยแท้

3. ในชั่วรุ่นหลาน (F2) โดยปล่อยให้รุ่นลูก (F1) ผสมพันธุ์กันเองจะได้ลักษณะเด่นต่อลักษณะด้อยในอัตราส่วน 3 : 1

ทฤษฎีความน่าจะเป็น

ทฤษฎีความน่าจะเป็น (Probability Theory) เป็นทฤษฎีทางคณิตศาสตร์ ที่ใช้อธิบายโอกาสที่จะเป็นไปได้อย่างสุ่มซึ่งไม่สามารถบังคับได้ เช่น การโยนเหรียญ เราไม่ทราบว่าเหรียญจะออกหัวหรือก้อย หรืออาจกล่าวได้ว่าเหรียญอาจออกหัวหรือก้อยด้วยโอกาสเท่า ๆ กัน

ทฤษฎีความน่าจะเป็นนี้นำมาประยุกต์ได้กับกฎเกณฑ์ต่าง ๆ ในทางพันธุศาสตร์ได้คือ ในการผสมพันธุ์โดยปกติ ไม่ว่าจะเป็นพืช สัตว์หรือคน ลูกจะเหมือนพ่อแม่ ปู่ ย่า ตา ยายแต่ลูกคนใดจะนำลักษณะใดมาบ้างนั้นเป็นสิ่งที่ไม่สามารถบังคับได้

กฎแห่งการถ่ายทอดลักษณะทางพันธุกรรมของเมนเดล
กฎข้อที่ 1 กฎแห่งการแยกตัว ( law of segregation) กล่าวว่า สิ่งที่ควบคุมลักษณะทางพันธุกรรมของสิ่งมีชีวิตที่สืบพันธุ์แบบอาศัยเพศมีอยู่เป็นคู่ ๆ แต่ละคู่แยกจากกันในระหว่าง การสร้างเซลล์พืชสืบพันธุ์ ทำให้เซลล์สืบพันธ์แต่ละเซลล์มีหน่วยควบคุมลักษณะนี้เพียงหนึ่งหน่วยและจะกลับเข้าคู่อีกเมื่อเซลล์สืบพันธ์ผสมกัน
สิ่งที่ควบคุมลักษณะทางพันธุกรรมซึ่งเป็นหน่วยที่คงตัวนั้น เมนเดล เรียกว่าแฟกเตอร์ (factor) ในปัจจุบันเรียกกันว่า ยีน (gene)กฎข้อที่ 2 กฎแห่งการรวมกลุ่มอย่างอิสระ กล่าวว่า ในเซลล์สืบพันธุ์จะมีการรวมกลุ่มของหน่วยพันธุกรรมของลักษณะต่าง ๆ การรวมกลุ่มเหล่านี้เป็นไปอย่างอิสระ จึงทำให้เราสามารถทำนายผลที่เกิดขึ้นในรุ่นลูก และรุ่นหลานได้ตัวอย่าง ถั่วเมล็ดกลม สีเหลือง จีโนไทป็เป็น R/r Y/y

ที่มา http://dna202.exteen.com/20060813/entry-6

ที่มา http://upload.wikimedia.org/wikipedia/commons/5/53/NHGRI_human_male_kary...

 

แหล่งที่มาข้อมูล http://dna202.exteen.com/20060813/entry-6

 

 

รูปภาพของ sss28717

[แก้ไขงานค่ะ] เกรเกอร์ โยฮัน เมนเดล เกิดในปี ค.ศ. 1822 ที่ไฮน์เซนดรอฟ ประเทศออสเตรีย เขาได้รับการศึกษาเพราะการช่วยเหลือจากเงินของพี่สาว พอเงินหมด เขาจึงต้องบวชเพื่อให้ได้ศึกษาต่อ ในปี 1847 โดยรับหน้าที่รับผิดชอบดูแลสวน และพืชพันธุ์ไม้ของวัด อันเป็นแรงดลใจในการค้นคว้าของเขาอย่างยิ่ง ในปี 1852 เจ้าอาวาสของวัดได้ส่งบาทหลวงเกรเกอร์ไปศึกษาวิชาวิทยาศาสตร์ที่มหาวิทยาลัยเวียนนา และได้รับปริญญาทางด้านธรรมชาติวิทยา ในปี 1854 เขาจึงได้ทุ่มเทเวลาว่างทั้งหมดโดยทำงานในสวนของวัด ที่นั่นมีพืชพันธุ์ไม้มากมาย แต่ละชนิดแตกต่างกันไปหลายอย่าง ความแตกต่างกันนี้ ทำให้บาทหลวงเกรเกอร์นึกสงสัย เขาจึงผสมพันธุ์ถั่วพันธุ์เดียวกันและต่างพันธุ์ เป็นจำนวนแตกต่างกันถึงยี่สิบสองชนิดของต้นถั่ว เพื่อศึกษาลักษณะทั้งหมด เขาศึกษาเมล็ด ดอก และความสูงที่เติบโตและจากเวลาแปดปีเต็มในการทำงานและการทดลองหลายพันครั้ง บาทหลวงเกรเกอร์พบสามสิ่งสิ่งแรก เมื่อผสมพันธุ์ถั่วชนิดต่างกันสองชนิดผลผลิตต่อมาที่ได้เป็นพันธุ์ชนิดเดียว ยกตัวอย่าง ถ้าหากเขาผสมพันธุ์ถั่วเมล็ดสีเหลืองกับชนิดเมล็ดสีแดง มันจะผลิตพันธุ์เมล็ดสีเหลืองออกมาสิ่งที่สอง เมื่อผสมพันธุ์ต่างชนิดกันของผลผลิตรุ่นแรกรุ่นต่อไปจะมีเมล็ดทั้งสองชนิด ต้นที่มีเมล็ดสีเขียวทุกๆต้น จะมีสามต้นที่มีเมล็ดสีเหลือง นี่เป็นเพราะว่าหน่วยถ่ายพันธุ์ที่ผลิตเมล็ด สีเหลืองเป็นหน่วยถ่ายพันธุ์ที่สำคัญคือ โดมิแนนท์ยีน หน่วยถ่ายพันธุ์ที่ผลิตเมล็ดสีเขียวเรียกว่า รีเซสซีพยีน หรือหน่วยถ่ายพันธุ์ตัวรองสิ่งที่สาม ถ้าหากเขาผสมพันธุ์ถั่วต่างชนิดกันด้วยถั่วสองชนิด หรือมากกว่านั้นที่มีลักษณะแตกต่างกัน เขาจะค้นพบกฎข้อที่สาม สมมติว่าเขาผสมพันธุ์ถั่วที่มีเมล็ดเรียบสีเหลืองกับพันธุ์ถั่วที่มีเมล็ดหยาบสีเขียว รุ่นแรกเมล็ดเรียบสีเหลืองจะเป็นตัวเด่นในรุ่นต่อไป จะมีอัตราส่วนเมล็ดเรียบสีเหลือง 9ส่วนต่อ 3ส่วน เมล็ดหยาบสีเขียว เมล็ดหยาบสีเหลืองหนึ่งต่อหนึ่งเมล็ดหยาบสีเขียว

ผลงานของเมนเดล ได้แก่ ค้นพบลักษณะการถ่ายทอดพันธุกรรมของสิ่งมีชีวิต, ให้กำเนิดวิชาพันธุศาสตร์ และได้ยกย่องเป็นบิดาแห่งวิชาพันธุศาสตร์

รูปภาพ:

http://www.atom.rmutphysics.com/charud/PDF-learning/6/picscientist/3/Johann-Gregor-mendel.jpg

http://student.nu.ac.th/Nokcy/Picture004.jpg

แหล่งอ้างอิง: http://dbsql.sura.ac.th/library/sc1/Gregor_Mendel.htm

ด.ญ.ครองขวัญ วัฒนกูล ชั้นม.3/8 เลขที่ 25

โยฮันน์ เกรกอร์ เมนเดล เกิดในปี ค.ศ.1822 เป็นบาทหลวงชาวออสเตรีย และในขณะเดียวกันเขาก็เป็นอาจารย์สอนหนังสือให้แก่นักเรียนด้วย โดยสอนเรื่องพันธุ์กรรม เมนเดลมีความสนใจศึกษาด้านวิทยาศาสตร์ โดยเฉพาะด้านพันธุศาสตร์ เขาได้ใช้สถานที่ภายในบริเวณวัดเพื่อทำการทดลองสิ่งต่างๆ ที่เขาสนใจ เมนเดลเริ่มต้นทดลองเป็นครั้งแรกในปี ค.ศ.1856 เรื่องที่เขาทำการทดลองคือ การรวบรวมต้นถั่วหลายๆ พันธุ์นำมาผสมกันหลายๆ วิธีเขาใช้เวลาทดลองต่อเนื่องถึง 7 ปี จนได้ข้อมูลมากเพียงพอ ในปี ค.ศ.1865 เมนเดล จึงได้รายงานผลการทดลองซึ่งเกี่ยวข้องกับการผสมพันธุ์ต้นถั่วให้แก่ที่ประชุม Natural History Society ในกรุงบรุนน์ ผลงานของเขาได้รับการตีพิมพ์เผยแพร่ออกไปทั่วทวีปยุโรปและอเมริกา ในปีต่อมาคือปี ค.ศ.1866 ผลงานของเขาถูกปล่อยไว้นานถึง 34 ปี จนกระทั่งปี ค.ศ.1900 ได้มีนัก ชีววิทยา 3 ท่าน คือ ฮูโก เดฟรีส์ ชาวฮอลันดา คาร์ล คอเรนส์ ชาวเยอรมันและ เอริช ฟอน แชร์มาค ชาวออสเตรเลีย ได้ทดลองผสมพันธุ์พืชชนิดอื่นๆ และได้ผลการทดลองตรงกับที่เมนเดลเคยรายงานไว้ ทำให้เมนเดลเป็นที่รู้จัก ในวงการพันธุศาสตร์นับแต่นั้นเป็นต้นมา และ เมนเดลยังได้รับการยกย่องว่า เป็นบิดาแห่งวิชาพันธุศาสตร์อีกด้วย เมนเดลเสียชีวิตลงในปี ค.ศ.1884 ถึงแม้ความเป็นจริงเขาจะไม่ได้รับการยอมรับนับถือในฐานะนักวิทยาศาสตร์มากนัก แต่ประชาชนทั่วไปก็นับถือเขาและมีความศรัทธาในฐานะนักบวชเป็นอย่างมาก
ผลงานของเมนเดล ได้แก่ ค้นพบลักษณะการถ่ายทอดพันธุกรรมของสิ่งมีชีวิต, ให้กำเนิดวิชาพันธุศาสตร์

รูป

: http://www.vcharkarn.com/uploads/61/61839.jpg

: http://siweb.dss.go.th/Scientist/images/Gregor%20Mendel/mendel2.jpg

แหล่งอ้างอิง
: http://www.vcharkarn.com/vcafe/127685
:

รูปภาพของ sss28741

                 ชีวประวัติเกรเกอร์ เมนเดล

  เกิด        วันที่ 27 กรกฎาคม ค.ศ. 1822 ที่เมืองโมราเวีย (Moravia) ประเทศสาธารณรัฐเชค (Republic of Czech)
เสียชีวิต วันที่ 6 มกราคม ค.ศ. 1884 ที่เมืองเบิร์น (Brunn) ประเทศสาธารณรัฐเชค (Republic of Czech)
ผลงาน   - ค้นพบลักษณะการถ่ายทอดพันธุกรรมของสิ่งมีชีวิต
             - ให้กำเนิดวิชาพันธุศาสตร์ (Genetices)

        เมนเดลได้รับการยกย่องว่าเป็นบิดาแห่งพันธุศาสตร์ ด้วยผลงานการค้นพบความลับทางธรรมชาติ ที่ว่าด้วยการถ่ายทอด
ลักษณะต่าง ๆ ของพ่อแม่ไปยังลูกหลาน หรือที่เรียกว่า กรรมพันธุ์ (Heredity)

        บาทหลวงเกรเกอร์เผชิญกับความพลาดหวังอย่างอดทนเป็นเวลาถึง 20 ปี ที่เขายังคงสอนหนังสือในฐานะครูผู้ช่วยและเพื่อชดเชยกับความผิดหวัง เขาจึงได้ทุ่มเทเวลาว่างทั้งหมดโดยทำงานในสวนของวัด ที่นั่นมีพืชพันธุ์ไม้มากมาย แต่ละชนิดแตกต่างกันไปหลายอย่าง ความแตกต่างกันนี้ ทำให้บาทหลวงเกรเกอร์นึกสงสัย เขาจึงผสมพันธุ์ถั่วพันธุ์เดียวกันและต่างพันธุ์ เป็นจำนวนแตกต่างกันถึงยี่สิบสองชนิดของต้นถั่ว เพื่อศึกษาลักษณะทั้งหมด เขาศึกษาเมล็ด ดอก และความสูงที่เติบโตและจากเวลาแปดปีเต็มในการทำงานและการทดลองหลายพันครั้ง บาทหลวงเกรเกอร์พบสามสิ่ง

        สิ่งแรก เมื่อผสมพันธุ์ถั่วชนิดต่างกันสองชนิดผลผลิตต่อมาที่ได้เป็นพันธุ์ชนิดเดียว ยกตัวอย่าง ถ้าหากเขาผสมพันธุ์ถั่วเมล็ดสีเหลืองกับชนิดเมล็ดสีแดง มันจะผลิตพันธุ์เมล็ดสีเหลืองออกมา

        ต่อไป เมื่อผสมพันธุ์ต่างชนิดกันของผลผลิตรุ่นแรกรุ่นต่อไปจะมีเมล็ดทั้งสองชนิด ต้นที่มีเมล็ดสีเขียวทุกๆต้น จะมีสามต้นที่มีเมล็ดสีเหลือง นี่เป็นเพราะว่าหน่วยถ่ายพันธุ์ที่ผลิตเมล็ด สีเหลืองเป็นหน่วยถ่ายพันธุ์ที่สำคัญคือ โดมิแนนท์ยีน หน่วยถ่ายพันธุ์ที่ผลิตเมล็ดสีเขียวเรียกว่า รีเซสซีพยีน หรือหน่วยถ่ายพันธุ์ตัวรอง

       สิ่งที่สาม ถ้าหากเขาผสมพันธุ์ถั่วต่างชนิดกันด้วยถั่วสองชนิด หรือมากกว่านั้นที่มีลักษณะแตกต่างกัน เขาจะค้นพบกฎข้อที่สาม สมมติว่าเขาผสมพันธุ์ถั่วที่มีเมล็ดเรียบสีเหลืองกับพันธุ์ถั่วที่มีเมล็ดหยาบสีเขียว รุ่นแรกเมล็ดเรียบสีเหลืองจะเป็นตัวเด่นในรุ่นต่อไป จะมีอัตราส่วนเมล็ดเรียบสีเหลือง 9ส่วนต่อ 3ส่วน เมล็ดหยาบสีเขียว เมล็ดหยาบสีเหลืองหนึ่งต่อหนึ่งเมล็ดหยาบสีเขียว

       เมนเดลทราบว่า การค้นพบของเขาสำคัญมากสำหรับผู้ที่ผสมพันธุ์พืช และสัตว์ เขาได้เขียนเรื่องราวเหล่านี้ ส่งไปยังสมาคมวิทยาศาสตร์แห่งหนึ่ง แต่ไม่มีใครสนใจแม้แต่น้อย เมนเดลจึงเลิกล้มความพยายามที่จะตีพิมพ์งานของเขา เขาเก็บรายงานไว้ในห้องสมุดของวัดและทำการทดลองต่อด้วยตนเองอย่างเงียบๆ ในส่วนสำนักสงฆ์ จนกระทั่งถึงแก่กรรมในปี ค.ศ. 1884 หลังจากนั้นอีก 16 ปี คือในปี ค.ศ. 1900 นักวิทยาศาสตร์เมนเดล จึงได้ตีพิมพ์เผยแพร่ และก็มีการทดลองค้นคว้าเกี่ยวกับเรื่องนี้ โดยอาศัยการค้นพบของเกรเกอร์ เมนเดล ผู้ซึ่งตัวเขาเอง ในสมัยที่มีชีวิตอยู่ไม่เคยได้รับการยกย่องจากสิ่งนั้นเลย

 รูปภาพ

แหล่งที่มา :

http://www.zheza.com/index.php?a=blog&b=entry&uid=1119106&eid=3

http://siweb.dss.go.th/Scientist/scientist/Gregor%20Mendel.html

รูปภาพของ sss28705

(แก้ไขแล้วค่ะ)

เกรเกอร์ เมนเดล เผชิญความผิดหวังนับ 20 ปี ที่เขายังคงสอนหนังสือเพื่อชดเชยความผิดหวัง เขาทำงานในสวนของวัดทุกเวลาที่ว่าง ที่นั่นมีพันธุ์พืชมากมาย แต่ละชนิดแตกต่างหลากหลายอย่าง ความแตกต่างนี้ ทำให้เกรเกอร์นึกสงสัย เขาได้ผสมพันธุ์ถั่วเดียวกันและต่างพันธุ์ เป็นจำนวนแตกต่างถึง 22 ชนิดของต้นถั่ว เพื่อศึกษาลักษณะทั้งหมด เป็นเวลารวม 8 ปีเต็มในการทดลองร่วมพันครั้ง พบได้ 3 สิ่ง ดังนี้

สิ่งแรก เมื่อผสมพันธุ์ถั่วชนิดต่างกันสองชนิดผลผลิตต่อมาที่ได้เป็นพันธุ์ชนิดเดียว ยกตัวอย่าง ถ้าหากเขาผสมพันธุ์ถั่วเมล็ดสีเหลืองกับชนิดเมล็ดสีแดง มันจะผลิตพันธุ์เมล็ดสีเหลืองออกมา

ต่อไป เมื่อผสมพันธุ์ต่างชนิดกันของผลผลิตรุ่นแรกรุ่นต่อไปจะมีเมล็ดทั้งสองชนิด ต้นที่มีเมล็ดสีเขียวทุกๆสี่ต้นจะมีสามต้นที่มีเมล็ดสีเหลือง นี่เป็นเพราะว่าหน่วยถ่ายพันธุ์ที่ผลิตเมล็ดสีเหลืองเป็นหน่วยถ่ายพันธุ์ที่เด่น คือ โดมิแนนท์ยีน หน่วยถ่ายพันธุ์ที่ผลิตเมล็ดสีเขียวเรียกว่า รีเซสซีพยีน หรือหน่วยถ่ายพันธุ์ด้อย

สิ่งที่สาม ถ้าหากเขาผสมพันธุ์ถั่วต่างชนิดกันด้วยถั่วสองชนิด หรือมากกว่านั้นที่มีลักษณะแตกต่างกัน เขาจะค้นพบกฎข้อที่สาม สมมติว่าเขาผสมพันธุ์ถั่วที่มีเมล็ดเรียบสีเหลืองกับพันธุ์ถั่วที่มีเมล็ดหยาบสีเขียว รุ่นแรกเมล็ดเรียบสีเหลืองจะเป็นตัวเด่น ในรุ่นต่อไปจะมีอัตราส่วนเมล็ดเรียบสีเหลือง 9 ส่วน ต่อเมล็ดหยาบสีเขียว 3ส่วน เมล็ดหยาบสีเหลือง 1 ส่วน ต่อเมล็ดหยาบสีเขียว 1 ส่วน

หลังจากนั้น เมนเดลได้ส่งผลการทดลองนี้ไปยังสมาคมวิทยาศาสตร์แห่งหนึ่ง แต่กลับไม่มีผู้ที่สนใจเลย เมนเดลก็ได้ทำการล้มล้างการตีพิมพ์งานของตน เขาเก็บรายงานนี้ไว้ที่ห้องสมุดและทำการทดลองต่อไปเงียบๆ จนกระทั่งถึงแก่กรรม ในปี พ.ศ. 2427ในอัตราส่วน 3 ต่อ 1 ในผลผลิต 4 อัน

แหล่งอ้างอิงข้อมูล http://th.wikipedia.org/wiki/%E0%B9%80%E0%B8%81%E0%B8%A3%E0%B9%80%E0%B8%81%E0%B8%AD%E0%B8%A3%E0%B9%8C_%E0%B9%80%E0%B8%A1%E0%B8%99%E0%B9%80%E0%B8%94%E0%B8%A5

แหล่งอ้างอิงรูปภาพ http://www.rmutphysics.com/CHARUD/oldnews/252/Picture004.jpg

http://school.obec.go.th/uts_s/webpages/bio/mendel/61839.jpg

รูปภาพของ sss28705

(แก้ไขแล้วค่ะ)

เกรเกอร์ เมนเดล เผชิญความผิดหวังนับ 20 ปี ที่เขายังคงสอนหนังสือเพื่อชดเชยความผิดหวัง เขาทำงานในสวนของวัดทุกเวลาที่ว่าง ที่นั่นมีพันธุ์พืชมากมาย แต่ละชนิดแตกต่างหลากหลายอย่าง ความแตกต่างนี้ ทำให้เกรเกอร์นึกสงสัย เขาได้ผสมพันธุ์ถั่วเดียวกันและต่างพันธุ์ เป็นจำนวนแตกต่างถึง 22 ชนิดของต้นถั่ว เพื่อศึกษาลักษณะทั้งหมด เป็นเวลารวม 8 ปีเต็มในการทดลองร่วมพันครั้ง พบได้ 3 สิ่ง ดังนี้

สิ่งแรก เมื่อผสมพันธุ์ถั่วชนิดต่างกันสองชนิดผลผลิตต่อมาที่ได้เป็นพันธุ์ชนิดเดียว ยกตัวอย่าง ถ้าหากเขาผสมพันธุ์ถั่วเมล็ดสีเหลืองกับชนิดเมล็ดสีแดง มันจะผลิตพันธุ์เมล็ดสีเหลืองออกมา

ต่อไป เมื่อผสมพันธุ์ต่างชนิดกันของผลผลิตรุ่นแรกรุ่นต่อไปจะมีเมล็ดทั้งสองชนิด ต้นที่มีเมล็ดสีเขียวทุกๆสี่ต้นจะมีสามต้นที่มีเมล็ดสีเหลือง นี่เป็นเพราะว่าหน่วยถ่ายพันธุ์ที่ผลิตเมล็ดสีเหลืองเป็นหน่วยถ่ายพันธุ์ที่เด่น คือ โดมิแนนท์ยีน หน่วยถ่ายพันธุ์ที่ผลิตเมล็ดสีเขียวเรียกว่า รีเซสซีพยีน หรือหน่วยถ่ายพันธุ์ด้อย

สิ่งที่สาม ถ้าหากเขาผสมพันธุ์ถั่วต่างชนิดกันด้วยถั่วสองชนิด หรือมากกว่านั้นที่มีลักษณะแตกต่างกัน เขาจะค้นพบกฎข้อที่สาม สมมติว่าเขาผสมพันธุ์ถั่วที่มีเมล็ดเรียบสีเหลืองกับพันธุ์ถั่วที่มีเมล็ดหยาบสีเขียว รุ่นแรกเมล็ดเรียบสีเหลืองจะเป็นตัวเด่น ในรุ่นต่อไปจะมีอัตราส่วนเมล็ดเรียบสีเหลือง 9 ส่วน ต่อเมล็ดหยาบสีเขียว 3ส่วน เมล็ดหยาบสีเหลือง 1 ส่วน ต่อเมล็ดหยาบสีเขียว 1 ส่วน

หลังจากนั้น เมนเดลได้ส่งผลการทดลองนี้ไปยังสมาคมวิทยาศาสตร์แห่งหนึ่ง แต่กลับไม่มีผู้ที่สนใจเลย เมนเดลก็ได้ทำการล้มล้างการตีพิมพ์งานของตน เขาเก็บรายงานนี้ไว้ที่ห้องสมุดและทำการทดลองต่อไปเงียบๆ จนกระทั่งถึงแก่กรรม ในปี พ.ศ. 2427ในอัตราส่วน 3 ต่อ 1 ในผลผลิต 4 อัน

แหล่งอ้างอิงข้อมูล http://th.wikipedia.org/wiki/%E0%B9%80%E0%B8%81%E0%B8%A3%E0%B9%80%E0%B8%81%E0%B8%AD%E0%B8%A3%E0%B9%8C_%E0%B9%80%E0%B8%A1%E0%B8%99%E0%B9%80%E0%B8%94%E0%B8%A5

แหล่งอ้างอิงรูปภาพ http://www.rmutphysics.com/CHARUD/oldnews/252/Picture004.jpg

http://school.obec.go.th/uts_s/webpages/bio/mendel/61839.jpg

รูปภาพของ sss28703

*แก้ไขแล้วค่ะ*

เกรเกอร์ โจฮันน์ เมนเดล : Gregor Mendelเกิด วันที่ 27 กรกฎาคม ค.ศ. 1822 ที่เมืองโมราเวีย (Moravia) ประเทศสาธารณรัฐเชค (Republic of Czech)
เสียชีวิต วันที่ 6 มกราคม ค.ศ. 1884 ที่เมืองเบิร์น (
Brunn) ประเทศสาธารณรัฐเชค (Republic of Czech)
ผลงาน - ค้นพบลักษณะการถ่ายทอดพันธุกรรมของสิ่งมีชีวิต
- ให้กำเนิดวิชาพันธุศาสตร์ (
Genetices)
เมนเดลได้รับการยกย่องว่าเป็นบิดาแห่งพันธุศาสตร์ ด้วยผลงานการค้นพบความลับทางธรรมชาติ ที่ว่าด้วยการถ่ายทอด
ลักษณะต่าง ๆ ของพ่อแม่ไปยังลูกหลาน หรือที่เรียกว่า กรรมพันธุ์ (
Heredity)เมนเดลเกิดเมื่อวันที่ 27 กรกฎาคม ค.ศ. 1822 ที่เมืองโมราเวีย ครอบครัวของเขาอยู่ในฐานะดีแต่ไม่ถึงกับมั่งคั่งนักบิดา
ของเขาเป็นเกษตรกร ทำให้เมนเดลมีความรู้เกี่ยวกับพืชเป็นอย่างดีเมนเดลเริ่มต้นการศึกษาขั้นแรกที่โรงเรียนมัธยมในเมือง
ทรอปโป (
Troppau) ในระหว่างนี้ครอบครัวเขายากจนลงทำให้เมนเดลต้องลาออกจากโรงเรียนเพื่อช่วยทำงานภายใน
ฟาร์ม ทั้งต่อมา บิดาของเขาได้เสียชีวิตจากอุบัติเหตุ ครอบครัวจึงตกลงขายที่ดิน และนำเงินมาแบ่งกันน้องสาวของเขาเห็นว่า
เขามีความจำเป็นต้องใช้เงินในการศึกษาจึงมอบเงินส่วนของเธอให้กับเมนเดลเพื่อศึกษาต่อ แต่ถึงอย่างนั้นเงินที่มีอยู่ก็ยังคงไม่
เพียงพอและจากความช่วยเหลือสนับสนุนจากครูผู้หนึ่ง ในปี ค.ศ.1843 เมนเดลจึงได้บวชเป็นเณรในสำนักออกัสทิเนียน
(
Augustinion Order) ที่เมืองบรูโน (Bruno) ต่อมาเมนเดลได้สอบเข้าโรงเรียนในเมืองบรูโน แต่ก็ไม่สามารถสอบเข้าได้
ทั้ง ๆ ที่ได้พยายามอยู่หลายครั้ง ดังนั้นเมนเดลจึงได้เข้าศึกษาต่อที่วิทยาลัยโอลมุทซ์ (
Olmutz College) ในที่สุดเมนเดลก็
สำเร็จการศึกษา หลังจากจบการศึกษาเมนเดล ได้บวชเป็นพระอยู่ที่วิหารออกัสทิเนียนนั่นเอง และได้รับฉายาว่า เกรเกอร์
หน้าชื่อของเขาเป็นเกรเกอร์โจฮันน์ เมนเดล
แม้ว่าเมนเดลจะไม่ได้เข้าศึกษาต่อในวิชาประวัติศาสตร์ธรรมชาติตาที่เขาได้ตั้งใจไว้แต่นั้นก็ไม่ได้เป็นอุปสรรคสำคัญ
สำหรับการค้นคว้างานด้านนี้ นอกจากนั้นในปี ค.ศ. 1862 เขายังเป็นผู้หนึ่งที่ร่วมก่อตั้ง
Natural Science Society
ซึ่งถือได้ว่าเป็นสถาบันที่มีความสำคัญในการศึกษางานด้านประวัติศาสตร์ธรรมชาติมากสถาบันหนึ่ง
จากการที่เมนเดลเคยทำงานในฟาร์มมาก่อนทำให้เขามีความรู้ด้านพืชเป็นอย่างดีเมนเดลได้ปลูกพืชพันธ์ชนิดต่าง ๆ เป็น
จำนวนมากในสวนหลังโบสถ์ที่มีเนื้อที่เพียง
? เอเคอร์ เท่านั้นเขาเริ่มสังเกตุเห็นความแตกต่างของต้นไม้แต่ละต้นทั้งที่เกิดจาก ต้นกำเนิดเดียวกันและต่างพันธุ์กันดังนั้นเขาจึงเริ่มหันมาให้ความสนใจเกี่ยวกับเรื่องพันธุศาสตร์ และเริ่มทำการทดลอง ในปี
ค.ศ. 1865 เมนเดลได้เริ่มต้นทำการทดลองเกี่ยวกับการถ่ายทอดลักษณะทางพันธุกรรม ว่าเป็นไปได้มากน้อยเพียงไร เขาได้
ทำการทดลองโดยใช้ต้นถั่วในการทดลอง เนื่องจากต้นถั่วเป็นพืชล้มลุก ใช้ระยะเวลาในการเจริญเติบโตสั้น และมีพันธุ์ที่แตก
ต่างกันมากมายหลายพันธุ์ เช่น ชนิดต้นใหญ่ ต้นเตี้ย ส่วนเมล็ดบางชนิดสีเขียว สีเหลือง และสีน้ำตาล ดังนั้นดอกก็ย่อมมีสีที่ แตกต่างกันด้วย เช่นกัน คือ ดอกบางชนิดสีขาว สีม่วงแกมแดง ซึ่งลักษณะของดอกต้นถั่วนี้คือเหตุผลที่สำคัญที่สุดเนื่องจาก
ดอกของต้นถั่วซึ่งเรียกกันตามลัษณะทางพฤษศาสตร์ว่า ดอกสมบูรณ์เพศ (
Rerfect flowered) คือ ดอกที่มีทั้งเกสรตัวผู้
และตัวเมียอยู่ในดอกเดียวกัน ย่อมเป็นการง่ายต่อการนำมาทดลองซึ่ง ในขั้นต้นเมนเดลได้หว่านเมล็ดพืชลงบริเวณแปลง
ทดลอง ในเรือนเพาะชำ และปล่อยให้ต้นถัวผสมพันธ์และเจริญเติบโตกันเองตามธรรมชาติ จากผลการทดลองพบว่าต้นถั่ว
มีขนาดไม่เท่ากันบางต้นสูง บางต้นเตี้ย อีกทั้งเมล็ดก็มีสีต่างกัน บางต้นเหลืออ่อน บางต้นสีน้ำตาล การทดลองครั้งแรกจึงไม่
ประสบผลสำเร็จ เพราะเมนเดลไม่สามารถหาข้อสรุปได้
จากนั้นเขาจึงทำการทดลองอีกครั้งหนึ่ง โดยการใช้กระดาษห่อดอกที่ต้องการผสมพันธุ์เพื่อป้องกันไม่ใช้เกิดการผสมพันธุ์
กันเอง จากนั้นเอมเดลได้คัดเลือกเกสรของพันธ์ถั่วชนิดต่าง ๆ ที่มากถึง 7 พันธุ์ มาผสมข้ามพันธุ์กัน โดยการทดลองครั้งนี้
เมนเดลได้มุ่งประเด็นไปที่ความสูงและความเตี้ยของต้นถั่วเป็นสำคัญ เมนเดลนำเกสรตัวผู้ของต้นสูง มาผสมกับเกสรตัวเมีย
ของต้นเตี้ย จากผลการทดลองปรากฏว่าได้พันธุ์ทาง (
Hybrid) ที่มีต้นเตี้ยและต้นสูง แลไม่มีต้นที่มีความสูงระดับปานกลาง
จากนั้นเขาจึงทำให้การทดลองต่อไปโดยการสลับกัน คือ นำเกสรตัวผู้ของต้นเตี้ย มาผสมกับเกสรตัวเมียของต้นสูง จากนั้นเขา
ได้สลับไปมาระหว่างต้นสูง และต้นเตี้ยกว่า 10 ครั้ง ทำให้เมนเดลมีเมล็ดถั่วจำนวนมาก เมนเดลได้นำเมล็ดถั่วมาทดลองปลูก
ปรากฏว่าต้นถั่วชุดแรกได้พันธุ์สูงทั้งหมด ตามลักษณะเช่นนี้เมนเดลได้สันนิษฐานว่า พันธุ์ต้นสูงเป็นลักษณะพันธุ์เด่นที่ข่ม
พันธ์เตี้ยซึ่งด้อยกว่าไว้
จากนั้นเมนเดลได้ปล่อยให้ต้นถั่วผสมพันธุ์กันเอง และเมื่อเมนเดลเก็บเมล็ดถั่วมาปลูกในปีต่อมา ผลปรากฏว่าในจำนวน
1
,064 ต้น เป็นต้นสูง 787 ต้น ต้นเตี้ย 277 ต้น จากสิ่งที่ปรากฏขึ้นทำให้เมนเดลเกิดความสงสัยเป็นอันมาก ดังนั้นเขาจึงทำ
การทดลองต่อไปในครั้งที่ 3 ซึ่งใช้วิธีการเดียวกับครั้งแรกและครั้งที่ 2 คือ ปล่อยให้ผสมกันเองตามธรรมชาติ ผลปรากฏว่า
ได้พันธุ์แท้ตามลักษณะของพ่อแม่พันธุ์ คือ ต้นสูงได้ต้นสูง ต้นเตี้ยได้ต้นเตี้ย จากผลการทดลองหลายครั้งซึ่งในเวลานานหลายปี
เขาสามารถสรุปได้ และเปิดเผยความจริงเกี่ยวกับการถ่ายทอดลักษณะทางพันธุกรรมว่า ลักษณะเด่นและด้อยที่อยู่ในแต่ละพันธุ์
จะไม่ถูกผสมกลมกลืน แต่ยังคงเก็บลักษณะต่าง ๆ ไว้เพื่อถ่ายทอดให้กับลูกหลานภายใน 2-3 ชั่วอายุ ซึ่งลูกที่ออกมาจะเป็นไปใน
อัตราส่วน พันธุ์เด่น : พันธุ์ด้อย เท่ากับ 3 : 1เสมอ แต่ถ้ามี การผสมข้ามพันธุ์ไปอีกย่อมเกิดความเปลี่ยนแปลงไปอีกเช่นกัน ส่วนนี้
เป็นเรื่องของพันธุ์ทาง แต่ถ้าเป็นพันธุ์แท้ คือไม่มีการผสมข้ามพันธุ์แล้วลูกย่อมมีลักษณะเช่นเดียวกับพ่อแม่ แม้จะต่อไปถึง 2-3
ชั่วอายุแล้วก็ตาม
เมนเดลยังคงอธิบายเพิ่มเติมเกี่ยวกับสิ่งเหล่านี้ว่าลักษณะทางพันธุกรรมที่ว่านี้ถูกกำหนดโดย Heredity Atoms ซึ่งอยู่ ภายในเซลล์ของสิ่งมีชีวิตทุกชนิด ปัจจุบันรู้จักกันดีในชื่อของ ยีนส์ (Genes) ซึ่งเป็นตัวการสำคัญที่ถ่ายทอดลักษณะทาง
พันธุกรรมจากพ่อแม่ไปยังลูกหลาน โดยหน่วยของยีนส์จะอยู่ในทั้งเซลล์สืบพันธุ์ตัวผู้ (
Male genetices) และเซลล์สืบพันธุ์
ตัวเมีย (
Female genetices)

หลังจากการทดลองและพบความจริงของธรรมชาติเกี่ยวกับการถ่ายทอดลักษระทางพันธุกรรม เขาได้นำผลงานเสนอต่อ
สมาคมวิทยาศาสตร์และธรรมชาติแห่งกรุงเบิร์น (
Natural Science Society of Brunn) ทางสมาคมได้นำผลงานของ
เมนเดลตีพิมพ์ลงในหนังสือชื่อว่า
Proceedings of the Nature History Society of Brunn ในปี ค.ศ. 1866 และ
ผลงานชิ้นนี้เป็นผลงานทางวิทยาศาสตร์เพียงชิ้นเดียวของเขา แต่ผลงานชิ้นนี้ได้รับการเผยแพร่ในปี ค.ศ. 1900 ภายหลังจาก
ที่เขาเสียชีวิตไปแล้วถึง 34 ปี เนื่องจากมีบุคคลกลุ่มหนึ่งที่ทำให้ผลงานของเขาได้เผยแพร่คือ อีริค เชอร์มัค (
Erich
Thshermak) ฮิวโก เดอร์ วีส (Hugo de Vries) และคาร์ล คอร์เรนส์ (Karl Correns) ซึ่งกำลังศึกษาเกี่ยวกับเรื่อง
พันธุศาสตร์ และได้ค้นเจอหนังสือเล่มนี้ของเมนเดลเกี่ยวกับการทดลองเรื่องถั่วในห้องสมุด ซึ่งการทดลองนี้ได้เป็นส่วนหนึ่ง
ของความลับในการถ่ายทอดลักษระทางพันธุกรรมของสิ่งมีชีวิต รวมถึงมนุษย์ด้วย นอกจากนี้ยังมีบันทึกที่เกี่ยวกับสิ่งอื่น ๆ อีก
ได้แก่การศึกษาชีวิตของผึ้ง ระยะเวลาของการขึ้นและตกของดวงอาทิตย์ อุณหภูมิประจำวัน ทิศทางของลม และการศึกษาการ
เจริญเติบโต การขยายพันธ์ของพืชชนิดอื่น ๆ ซึ่งนับว่ามีประโยชน์อย่างมากสำหรับวงการวิทยาศาสตร์

รูปภาพ :

ภาพของเกรเกอร์ เมนเดล 
    

รูปวิธีการทดลองของเมนเดล 

แหล่งที่มา : http://www.vcharkarn.com/include/vcafe/showkratoo.php?Pid=21124
ที่มารูปภาพ : http://www.vcharkarn.com/uploads/9/9129.png
http://www.rmutphysics.com/CHARUD/oldnews/231/Picture0041.jpg

รูปภาพของ sss28701

เกรเกอร์ เมนเดล

 

ที่มา:http://www.atom.rmutphysics.com/charud/PDF-learning/6/picscientist/3/Johann-Gregor-mendel.jpg 

เกรเกอร์ เมนเดล บิดาทางพันธุศาสตร์ เกิดที่เมืองไฮน์เซนดรอฟ ประเทศออสเตรีย เป็นบุตรชายคนเดียวในจำนวนพี่น้อง 3 คน

เกรเกอร์ เมนเดล เผชิญความผิดหวังนับ 20 ปี ที่เขายังคงสอนหนังสือเพื่อชดเชยความผิดหวัง เขาทำงานในสวนของวัดทุกเวลาที่ว่าง ที่นั่นมีพันธุ์พืชมากมาย แต่ละชนิดแตกต่างหลากหลายอย่าง ความแตกต่างนี้ ทำให้เกรเกอร์นึกสงสัย เขาได้ผสมพันธุ์ถั่วเดียวกันและต่างพันธุ์ เป็นจำนวนแตกต่างถึง 22 ชนิดของต้นถั่ว เพื่อศึกษาลักษณะทั้งหมด เป็นเวลารวม 8 ปีเต็มในการทดลองร่วมพันครั้ง พบได้ 3 สิ่ง ดังนี้

สิ่งแรก เมื่อผสมพันธุ์ถั่วชนิดต่างกันสองชนิดผลผลิตต่อมาที่ได้เป็นพันธุ์ชนิดเดียว ยกตัวอย่าง ถ้าหากเขาผสมพันธุ์ถั่วเมล็ดสีเหลืองกับชนิดเมล็ดสีแดง มันจะผลิตพันธุ์เมล็ดสีเหลืองออกมา

ต่อไป เมื่อผสมพันธุ์ต่างชนิดกันของผลผลิตรุ่นแรกรุ่นต่อไปจะมีเมล็ดทั้งสองชนิด ต้นที่มีเมล็ดสีเขียวทุกๆสี่ต้นจะมีสามต้นที่มีเมล็ดสีเหลือง นี่เป็นเพราะว่าหน่วยถ่ายพันธุ์ที่ผลิตเมล็ดสีเหลืองเป็นหน่วยถ่ายพันธุ์ที่เด่น คือ โดมิแนนท์ยีน หน่วยถ่ายพันธุ์ที่ผลิตเมล็ดสีเขียวเรียกว่า รีเซสซีพยีน หรือหน่วยถ่ายพันธุ์ด้อย

สิ่งที่สาม ถ้าหากเขาผสมพันธุ์ถั่วต่างชนิดกันด้วยถั่วสองชนิด หรือมากกว่านั้นที่มีลักษณะแตกต่างกัน เขาจะค้นพบกฎข้อที่สาม สมมติว่าเขาผสมพันธุ์ถั่วที่มีเมล็ดเรียบสีเหลืองกับพันธุ์ถั่วที่มีเมล็ดหยาบสีเขียว รุ่นแรกเมล็ดเรียบสีเหลืองจะเป็นตัวเด่น ในรุ่นต่อไปจะมีอัตราส่วนเมล็ดเรียบสีเหลือง 9 ส่วน ต่อเมล็ดหยาบสีเขียว 3ส่วน เมล็ดหยาบสีเหลือง 1 ส่วน ต่อเมล็ดหยาบสีเขียว 1 ส่วน

หลังจากนั้น เมนเดลได้ส่งผลการทดลองนี้ไปยังสมาคมวิทยาศาสตร์แห่งหนึ่ง แต่กลับไม่มีผู้ที่สนใจเลย เมนเดลก็ได้ทำการล้มล้างการตีพิมพ์งานของตน เขาเก็บรายงานนี้ไว้ที่ห้องสมุดและทำการทดลองต่อไปเงียบๆ จนกระทั่งถึงแก่กรรม ในปี พ.ศ. 2427

ในอัตราส่วน 3 ต่อ 1 ในผลผลิต 4 อัน  

ผลการทดลอง

ไฟล์:Mendel seven characters.svg

ที่มา :  http://th.wikipedia.org/wiki/%E0%B9%84%E0%B8%9F%E0%B8%A5%E0%B9%8C:Mendel_seven_characters.svg 

ที่มาเนื้อหา:

http://www.school.net.th/library/create-

 web/10000/science/10000-11032.html 

http://th.wikipedia.org/wiki/%E0%B9%80%E0%B8%81%E0%B8%A3%E0%B9%80%E0%B8%81%E0%B8%AD%E0%B8%A3%E0%B9%8C_%E0%B9%80%E0%B8%A1%E0%B8%99%E0%B9%80%E0%B8%94%E0%B8%A5 

(แก้ไขแล้ว)

เกรเกอร์ โจฮันน์ เมนเดล : Gregor Mendel

-เกิด วันที่ 27 กรกฎาคม ค.ศ. 1822 ที่เมืองโมราเวีย (Moravia) ประเทศสาธารณรัฐเชค (Republic of Czech)
-เสียชีวิต วันที่ 6 มกราคม ค.ศ. 1884 ที่เมืองเบิร์น (Brunn) ประเทศสาธารณรัฐเชค (Republic of Czech)
เมนเดลได้รับการยกย่องว่าเป็นบิดาแห่งพันธุศาสตร์ ด้วยผลงานการค้นพบความลับทางธรรมชาติ ที่ว่าด้วยการถ่ายทอดลักษณะต่าง ๆ ของพ่อแม่ไปยังลูกหลาน หรือที่เรียกว่า กรรมพันธุ์ (Heredity)

สรุปผลการทดลองของเมนเดล

1. ลักษณะทางพันธุกรรมที่ควบคุมความสูงของต้นถั่วมีลักษณะเด่น คือ ลักษณะลำต้นสูงกับลักษณะด้อย คือ ลักษณะลำต้นเตี้ย ลักษณะทางพันธุกรรมของพ่อจะอยู่ในละอองเกสรตัวผู้ ของแม่จะอยู่ในรังไข่ ลักษณะพันธุกรรมจึงถ่ายทอดถึงลูกหลานได้
2. ลักษณะเด่นจะข่มลักษณะด้อยในรุ่นลูก (F1) จึงพบรุ่นลูกมีลักษณะเด่นหมด ทั้งนี้ภายในข้อจำกัดพ่อและแม่ ต้องเป็นพันธุ์เด่นแท้และด้อยแท้
3. ในชั่วรุ่นหลาน (F2) โดยปล่อยให้รุ่นลูก (F1) ผสมพันธุ์กันเองจะได้ลักษณะเด่นต่อลักษณะด้อยในอัตราส่วน 3 : 1

กฎแห่งการถ่ายทอดลักษณะทางพันธุกรรมของเมนเดล
กฎข้อที่ 1 กฎแห่งการแยกตัว ( law of segregation) กล่าวว่า สิ่งที่ควบคุมลักษณะทางพันธุกรรมของสิ่งมีชีวิตที่สืบพันธุ์แบบอาศัยเพศมีอยู่เป็นคู่ ๆ แต่ละคู่แยกจากกันในระหว่าง การสร้างเซลล์พืชสืบพันธุ์ ทำให้เซลล์สืบพันธุ์แต่ละเซลล์มีหน่วยควบคุมลักษณะนี้เพียงหนึ่งหน่วยและจะกลับเข้าคู่อีกเมื่อเซลล์สืบพันธุ์ผสมกัน
สิ่งที่ควบคุมลักษณะทางพันธุกรรมซึ่งเป็นหน่วยที่คงตัวนั้น เมนเดล เรียกว่าแฟกเตอร์ (factor) ในปัจจุบันเรียกกันว่า ยีน (gene)

กฎข้อที่ 2 กฎแห่งการรวมกลุ่มอย่างอิสระ กล่าวว่า ในเซลล์สืบพันธุ์จะมีการรวมกลุ่มของหน่วยพันธุกรรมของลักษณะต่าง ๆ การรวมกลุ่มเหล่านี้เป็นไปอย่างอิสระ จึงทำให้เราสามารถทำนายผลที่เกิดขึ้นในรุ่นลูก และรุ่นหลานได้

ที่มา http://dna202.exteen.com/20060813/entry-6

รูป http://www.rmutphysics.com/charud/scibook/bio2/chapter2/Pictures/Mendel.gif

 

รูปภาพของ sss28690

 

 

 

 

 

 

 

 

 

 

 

 

 

 

 

 

 

 

 

เกรเกอร์ โจฮันน์ เมนเดล : Gregor Mendel
เกิด วันที่ 27 กรกฎาคม ค.ศ. 1822 ที่เมืองโมราเวีย (Moravia) ประเทศสาธารณรัฐเชค (Republic of Czech)
เสียชีวิต วันที่ 6 มกราคม ค.ศ. 1884 ที่เมืองเบิร์น (Brunn) ประเทศสาธารณรัฐเชค (Republic of Czech)

เมนเดลได้รับการยกย่องว่าเป็นบิดาแห่งพันธุศาสตร์ ด้วยผลงานการค้นพบความลับทางธรรมชาติ ที่ว่าด้วยการถ่ายทอด
ลักษณะต่าง ๆ ของพ่อแม่ไปยังลูกหลาน หรือที่เรียกว่า กรรมพันธุ์ (Heredity)

การทดลองของเมนเดล
1. เมนเดล ผสมต้นถั่วลันเตาจนได้พันธุ์บริสุทธิ์ทั้ง พ่อพันธุ์ แม่พันธุ์
2. เมนเดล นำต้นถั่วพันธุ์สูงเป็นพ่อพันธุ์ หรือแม่พันธุ์ มาผสมกับต้นถั่วพันธุ์เตี้ยซึ่งเป็นแม่พันธุ์หรือพ่อพันธุ์ เป็นการผสมข้ามต้นต่างลักษณะ
3. เมนเดล นำต้นถั่วรุ่นที่สอง (F2) มาผสมพันธุ์กันเอง

สรุปผลการทดลองของเมนเดล
1. ลักษณะทางพันธุกรรมที่ควบคุมความสูงของต้นถั่วมีลักษณะเด่น คือ ลักษณะลำต้นสูงกับลักษณะด้อย คือ ลักษณะลำต้นเตี้ย ลักษณะทางพันธุกรรมของพ่อจะอยู่ในละอองเกสรตัวผู้ ของแม่จะอยู่ในรังไข่ ลักษณะพันธุกรรมจึงถ่ายทอดถึงลูกหลานได้
2. ลักษณะเด่นจะข่มลักษณะด้อยในรุ่นลูก (F1) จึงพบรุ่นลูกมีลักษณะเด่นหมด ทั้งนี้ภายในข้อจำกัดพ่อและแม่ ต้องเป็นพันธุ์เด่นแท้และด้อยแท้
3. ในชั่วรุ่นหลาน (F2) โดยปล่อยให้รุ่นลูก (F1) ผสมพันธุ์กันเองจะได้ลักษณะเด่นต่อลักษณะด้อยในอัตราส่วน 3 : 1

กฎแห่งการถ่ายทอดลักษณะทางพันธุกรรมของเมนเดล
กฎข้อที่ 1 กฎแห่งการแยกตัว ( law of segregation) กล่าวว่า สิ่งที่ควบคุมลักษณะทางพันธุกรรมของสิ่งมีชีวิตที่สืบพันธุ์แบบอาศัยเพศมีอยู่เป็นคู่ ๆ แต่ละคู่แยกจากกันในระหว่าง การสร้างเซลล์พืชสืบพันธุ์ ทำให้เซลล์สืบพันธ์แต่ละเซลล์มีหน่วยควบคุมลักษณะนี้เพียงหนึ่งหน่วยและจะกลับเข้าคู่อีกเมื่อเซลล์สืบพันธ์ผสมกัน
สิ่งที่ควบคุมลักษณะทางพันธุกรรมซึ่งเป็นหน่วยที่คงตัวนั้น เมนเดล เรียกว่าแฟกเตอร์ (factor) ในปัจจุบันเรียกกันว่า ยีน (gene)
กฎข้อที่ 2 กฎแห่งการรวมกลุ่มอย่างอิสระ กล่าวว่า ในเซลล์สืบพันธุ์จะมีการรวมกลุ่มของหน่วยพันธุกรรมของลักษณะต่าง ๆ การรวมกลุ่มเหล่านี้เป็นไปอย่างอิสระ จึงทำให้เราสามารถทำนายผลที่เกิดขึ้นในรุ่นลูก และรุ่นหลานได้
ตัวอย่าง ถั่วเมล็ดกลม สีเหลือง จีโนไทป็เป็น R/r Y/y

 

แหล่งที่มาข้อมูล : http://www.coconuthead.org/content/%E0%B9%80%E0%B8%81%E0%B8%A3%E0%B9%80%...

แหล่งที่มารูปภาพ : http://www.atom.rmutphysics.com/charud/PDF-learning/6/picscientist/3/Joh...

เด็กหญิงณัฏฐา ประพันธ์พงพินิจ ชั้นม.3/8 เลขที่ 10

รูปภาพของ sss28707

เกรเกอร์ โยฮัน เมนเดล

เกรเกอร์ โยฮัน เมนเดล เกิดในปี ค.ศ. 1822 ที่ไฮน์เซนดรอฟ ประเทศออสเตรีย เป็นบุตรชายคนเดียวในจำนวนพี่น้อง 3 คน ของชาวนายากจนชาวโบฮีเมียน เขาได้รับการศึกษาเพราะการช่วยเหลือจากเงินของพี่สาว พอเงินหมด เขาจึงต้องบวชเพื่อให้ได้ศึกษาต่อ ในปี 1847 โดยรับหน้าที่รับผิดชอบดูแลสวน และพืชพันธุ์ไม้ของวัด อันเป็นแรงดลใจในการค้นคว้าของเขาอย่างยิ่ง เขาจึงได้ทุ่มเทเวลาว่างทั้งหมดโดยทำงานในสวนของวัด ที่นั่นมีพืชพันธุ์ไม้มากมาย แต่ละชนิดแตกต่างกันไปหลายอย่าง ความแตกต่างกันนี้ เขาจึงผสมพันธุ์ถั่วพันธุ์เดียวกันและต่างพันธุ์ เป็นจำนวนแตกต่างกันถึงยี่สิบสองชนิดของต้นถั่ว เพื่อศึกษาลักษณะทั้งหมด เขาศึกษาเมล็ด ดอก และความสูงที่เติบโตบาทหลวงเกรเกอร์จึงพบสามสิ่งดังนี้

1. เมื่อผสมพันธุ์ถั่วชนิดต่างกันสองชนิดผลผลิตต่อมาที่ได้เป็นพันธุ์ชนิดเดียว ยกตัวอย่าง ถ้าหากเขาผสมพันธุ์ถั่วเมล็ดสีเหลืองกับชนิดเมล็ดสีแดง มันจะผลิตพันธุ์เมล็ดสีเหลืองออกมา

2. เมื่อผสมพันธุ์ต่างชนิดกันของผลผลิตรุ่นแรกรุ่นต่อไปจะมีเมล็ดทั้งสองชนิด ต้นที่มีเมล็ดสีเขียวทุกๆต้น จะมีสามต้นที่มีเมล็ดสีเหลือง นี่เป็นเพราะว่าหน่วยถ่ายพันธุ์ที่ผลิตเมล็ด สีเหลืองเป็นหน่วยถ่ายพันธุ์ที่สำคัญคือ โดมิแนนท์ยีน หน่วยถ่ายพันธุ์ที่ผลิตเมล็ดสีเขียวเรียกว่า รีเซสซีพยีน หรือหน่วยถ่ายพันธุ์ตัวรอง

3. ถ้าหากเขาผสมพันธุ์ถั่วต่างชนิดกันด้วยถั่วสองชนิด หรือมากกว่านั้นที่มีลักษณะแตกต่างกัน เขาจะค้นพบกฎข้อที่สาม สมมติว่าเขาผสมพันธุ์ถั่วที่มีเมล็ดเรียบสีเหลืองกับพันธุ์ถั่วที่มีเมล็ดหยาบสีเขียว รุ่นแรกเมล็ดเรียบสีเหลืองจะเป็นตัวเด่นในรุ่นต่อไป จะมีอัตราส่วนเมล็ดเรียบสีเหลือง 9ส่วนต่อ 3 ส่วน เมล็ดหยาบสีเขียว เมล็ดหยาบสีเหลืองหนึ่งต่อหนึ่งเมล็ดหยาบสีเขียว

แหล่งอ้างอิง

 

ข้อมูล

http://www.school.net.th/library/create-web/10000/science/10000-11032.html

 

รูปภาพ

http://www.maceducation.com/e-knowledge/2432209100/01-15.JPG

http://school.obec.go.th/uts_s/webpages/bio/mendel/61839.jpg

เขียนโดย ด.ญ.ปวิมล อ่าววิจิตรกุล ม.3/8 เลขที่ 19

รูปภาพของ sss28704
เกรเกอร์ โจฮันน์ เมนเดล : Gregor Mendel


เมนเดลได้รับการยกย่องว่าเป็นบิดาแห่งพันธุศาสตร์ ด้วยผลงานการค้นพบความลับทางธรรมชาติ ที่ว่าด้วยการถ่ายทอดลักษณะต่าง ๆ ของพ่อแม่ไปยังลูกหลาน หรือที่เรียกว่า กรรมพันธุ์ (Heredity)

เมนเดลเกิดเมื่อวันที่ 27 กรกฎาคม ค.ศ. 1822 ที่เมืองโมราเวีย

บิดาของเขาเป็นเกษตรกร ทำให้เมนเดลมีความรู้เกี่ยวกับพืชเป็นอย่างดี ในระหว่างที่เขาเรียนหนังสือครอบครัวเขายากจนลงทำให้เมนเดลต้องลาออกจากโรงเรียนเพื่อช่วยทำงานภายในฟาร์ม ในปี ค.ศ.1843 เมนเดลได้บวชเป็นเณรในสำนักออกัสทิเนียน ที่เมืองบรูโน หลังจากจบการศึกษาเมนเดล ได้บวชเป็นพระอยู่ที่วิหารออกัสทิเนียนนั่นเอง และได้รับฉายาว่า เกรเกอร์ หน้าชื่อของเขาเป็นเกรเกอร์ โจฮันน์ เมนเดลเขายังเป็นผู้หนึ่งที่ร่วมก่อตั้ง Natural Science Society ซึ่งถือได้ว่าเป็นสถาบันที่มีความสำคัญในการศึกษางานด้านประวัติศาสตร์ธรรมชาติมากสถาบันหนึ่ง เมนเดล เขาเริ่มสังเกตเห็นความแตกต่างของต้นไม้แต่ละต้น ดังนั้นเขาจึงเริ่มหันมาให้ความสนใจเกี่ยวกับเรื่องพันธุศาสตร์ และเริ่มทำการทดลอง ในปี ค.ศ. 1865 เมนเดลได้เริ่มต้นทำการทดลองเกี่ยวกับการถ่ายทอดลักษณะทางพันธุกรรม ที่แตกต่างกัน จากนั้นเขาจึงทำการทดลอง จากนั้นเมนเดลได้คัดเลือกเกสรของพันธ์ถั่ว มาผสมข้ามพันธุ์กัน โดยการทดลองครั้งนี้ เมนเดลได้มุ่งประเด็นไปที่ความสูงและความเตี้ยของต้นถั่ว จากผลการทดลองปรากฏว่าได้พันธุ์ทาง (Hybrid) ที่มีต้นเตี้ยและต้นสูงเมื่อเมนเดลเก็บเมล็ดถั่วมาปลูกในปีต่อมา ผลปรากฏว่าได้ เป็นต้นสูง 787 ต้น ต้นเตี้ย 277 ต้น จากผลการทดลองหลายครั้งซึ่งในเวลานานหลายปีเขาสามารถสรุปได้ และเปิดเผยความจริงเกี่ยวกับการถ่ายทอดลักษณะทางพันธุกรรมว่า ลักษณะเด่นและด้อยที่อยู่ในแต่ละพันธุ์จะไม่ถูกผสมกลมกลืน แต่ยังคงเก็บลักษณะต่าง ๆ ไว้เพื่อถ่ายทอดให้กับลูกหลานภายใน 2-3 ชั่วอายุ ซึ่งลูกที่ออกมาจะเป็นไปใน
อัตราส่วน พันธุ์เด่น : พันธุ์ด้อย เท่ากับ 3 : 1เสมอ แต่ถ้ามี การผสมข้ามพันธุ์ไปอีกย่อมเกิดความเปลี่ยนแปลงไปอีกเช่นกัน ส่วนนี้เป็นเรื่องของพันธุ์ทาง แต่ถ้าเป็นพันธุ์แท้ คือไม่มีการผสมข้ามพันธุ์แล้วลูกย่อมมีลักษณะเช่นเดียวกับพ่อแม่ แม้จะต่อไปถึง 2-3ชั่วอายุแล้วก็ตาม

ที่มาเนื้อหา http://www.thaigoodview.com/node/8203?page=0%2C1ที่มารูปภาพ http://www.thaigoodview.com/node/8203?page=0%2C1 http://www.dvpschool.com/kroosomweb/testsciene/science/science5/pic/75.jpg

รูปภาพของ sss28685

เกรเกอร์ เมนเดล

เกรเกอร์ เมนเดล (พ.ศ. 2365-พ.ศ. 2427) บิดาทางพันธุศาสตร์ เกิดที่เมืองไฮน์เซนดรอฟ ประเทศออสเตรีย เป็นบุตรชายคนเดียวในจำนวนพี่น้อง 3 คน ของชาวนายากจนคนหนึ่ง โดยต่อมา เมนเดลได้ไปบวชแล้วได้รับตำแหน่งรับผิดชอบดูแลสวน ในปี พ.ศ. 2390บิดาทางพันธุศาสตร์เกรเกอร์ เมนเดล เผชิญความผิดหวังนับ 20 ปี ที่เขายังคงสอนหนังสือเพื่อชดเชยความผิดหวัง เขาทำงานในสวนของวัดทุกเวลาที่ว่าง ที่นั่นมีพันธุ์พืชมากมาย แต่ละชนิดแตกต่างหลากหลายอย่าง ความแตกต่างนี้ ทำให้เกรเกอร์นึกสงสัย เขาได้ผสมพันธุ์ถั่วเดียวกันและต่างพันธุ์ เป็นจำนวนแตกต่างถึง 22 ชนิดของต้นถั่ว เพื่อศึกษาลักษณะทั้งหมด เป็นเวลารวม 8 ปีเต็มในการทดลองร่วมพันครั้ง พบได้ 3 สิ่ง ดังนี้ สิ่งแรก เมื่อผสมพันธุ์ถั่วชนิดต่างกันสองชนิดผลผลิตต่อมาที่ได้เป็นพันธุ์ชนิดเดียว ยกตัวอย่าง ถ้าหากเขาผสมพันธุ์ถั่วเมล็ดสีเหลืองกับชนิดเมล็ดสีแดง มันจะผลิตพันธุ์เมล็ดสีเหลืองออกมาต่อไป เมื่อผสมพันธุ์ต่างชนิดกันของผลผลิตรุ่นแรกรุ่นต่อไปจะมีเมล็ดทั้งสองชนิด ต้นที่มีเมล็ดสีเขียวทุกๆสี่ต้นจะมีสามต้นที่มีเมล็ดสีเหลือง นี่เป็นเพราะว่าหน่วยถ่ายพันธุ์ที่ผลิตเมล็ดสีเหลืองเป็นหน่วยถ่ายพันธุ์ที่เด่น คือ โดมิแนนท์ยีน หน่วยถ่ายพันธุ์ที่ผลิตเมล็ดสีเขียวเรียกว่า รีเซสซีพยีน หรือหน่วยถ่ายพันธุ์ด้อยสิ่งที่สาม ถ้าหากเขาผสมพันธุ์ถั่วต่างชนิดกันด้วยถั่วสองชนิด หรือมากกว่านั้นที่มีลักษณะแตกต่างกัน เขาจะค้นพบกฎข้อที่สาม สมมติว่าเขาผสมพันธุ์ถั่วที่มีเมล็ดเรียบสีเหลืองกับพันธุ์ถั่วที่มีเมล็ดหยาบสีเขียว รุ่นแรกเมล็ดเรียบสีเหลืองจะเป็นตัวเด่น ในรุ่นต่อไปจะมีอัตราส่วนเมล็ดเรียบสีเหลือง 9 ส่วน ต่อเมล็ดหยาบสีเขียว 3ส่วน เมล็ดหยาบสีเหลือง 1 ส่วน ต่อเมล็ดหยาบสีเขียว 1 ส่วนหลังจากนั้น เมนเดลได้ส่งผลการทดลองนี้ไปยังสมาคมวิทยาศาสตร์แห่งหนึ่ง แต่กลับไม่มีผู้ที่สนใจเลย เมนเดลก็ได้ทำการล้มล้างการตีพิมพ์งานของตน เขาเก็บรายงานนี้ไว้ที่ห้องสมุดและทำการทดลองต่อไปเงียบๆ จนกระทั่งถึงแก่กรรม ในปี พ.ศ. 2427

แหล่งที่มา...เนื้อหา http://th.wikipedia.org/wiki/%E0%B9%80%E0%B8%81%E0%B8%A3%E0%B9%80%E0%B8%81%E0%B8%AD%E0%B8%A3%E0%B9%8C_%E0%B9%80%E0%B8%A1%E0%B8%99%E0%B9%80%E0%B8%94%E0%B8%A5

แหล่งที่มารูปภาพ

http://www.nstlearning.com/~km/wp-content/uploads/2008/12/zgs4f1.gif

โดย ด.ญ ช่อผกามาศ กมลวิทยากุล ม.3/8 เลขที่ 8

<แก้ไขใหม่ : ใส่รูป > 

เกรเกอร์ โจฮันน์ เมนเดล : Gregor Mendel
เกิด วันที่ 27 กรกฎาคม ค.ศ. 1822  ที่ไฮน์เซนดรอฟ ประเทศออสเตรีย  ปัจจุบันอยู่ที่เมืองโมราเวีย (Moravia)
ประเทศสาธารณรัฐเชค (Republic of Czech)
เสียชีวิต วันที่ 6 มกราคม ค.ศ. 1884  ที่เมืองเบิร์น (Brunn) ประเทศสาธารณรัฐเชค (Republic of Czech)
ผลงาน - ค้นพบลักษณะการถ่ายทอดพันธุกรรมของสิ่งมีชีวิต
- ให้กำเนิดวิชาพันธุศาสตร์ (Genetices)

บิดาทางพันธุศาสตร์
เกรเกอร์ เมนเดล เป็นบุตรชายคนเดียวในจำนวนพี่น้อง 3 คน ของชาวนายากจนคนหนึ่ง โดยต่อมา
เมนเดลได้ไปบวชแล้วได้รับตำแหน่งรับผิดชอบดูแลสวน ในปี พ.ศ. 2390 เกรเกอร์ เมนเดล เผชิญความผิดหวังนับ 20 ปี ที่เขายังคงสอนหนังสือเพื่อชดเชยความผิดหวังเขาทำงานในสวนของวัดทุกเวลาที่ว่าง ที่นั่นมีพันธุ์พืชมากมาย แต่ละชนิดแตกต่างหลากหลายอย่าง
ความแตกต่างนี้ ทำให้เกรเกอร์นึกสงสัย เขาได้ผสมพันธุ์ถั่วเดียวกันและต่างพันธุ์เป็นจำนวนแตกต่างถึง
22 ชนิดของต้นถั่วเพื่อศึกษาลักษณะทั้งหมด เป็นเวลารวม 8 ปีเต็มในการทดลองร่วมพันครั้ง
พบได้
3 สิ่ง ดังนี้

1. เมื่อผสมพันธุ์ถั่วชนิดต่างกันสองชนิดผลผลิตต่อมาที่ได้เป็นพันธุ์ชนิดเดียว
ยกตัวอย่าง ถ้าหากเขาผสมพันธุ์ถั่วเมล็ดสีเหลืองกับชนิดเมล็ดสีแดง มันจะผลิตพันธุ์เมล็ดสีเหลืองออกมา

2. เมื่อผสมพันธุ์ต่างชนิดกันของผลผลิตรุ่นแรกรุ่นต่อไปจะมีเมล็ดทั้งสองชนิด
ต้นที่มีเมล็ดสีเขียวทุกๆต้นจะมีสามต้นที่มีเมล็ดสีเหลือง นี่เป็นเพราะว่าหน่วยถ่ายพันธุ์ที่ผลิตเมล็ดสีเหลืองเป็นหน่วยถ่ายพันธุ์ที่
เด่น คือ โดมิแนนท์ยีน หน่วยถ่ายพันธุ์ที่ผลิตเมล็ดสีเขียวเรียกว่า รีเซสซีพยีนหรือหน่วยถ่ายพันธุ์ด้อย

3. ถ้าหากเขาผสมพันธุ์ถั่วต่างชนิดกันด้วยถั่วสองชนิดหรือมากกว่านั้นที่มีลักษณะแตกต่างกัน เขาจะค้นพบกฎข้อที่สามสมมติว่าเขาผสมพันธุ์ถั่วที่มีเมล็ดเรียบสีเหลืองกับพันธุ์ถั่วที่มีเมล็ดหยาบสีเขียว รุ่นแรกเมล็ดเรียบสีเหลืองจะเป็นตัวเด่น
ในรุ่นต่อไปจะมีอัตราส่วนเมล็ดเรียบสีเหลือง
9 ส่วน เมล็ดหยาบสีเขียว 3ส่วน เมล็ดหยาบสีเหลือง1ส่วน เมล็ดหยาบสีเขียว 1 ส่วน

หลังจากนั้นเมนเดลได้ส่งผลการทดลองนี้ไปยังสมาคมวิทยาศาสตร์แห่งหนึ่ง แต่กลับไม่มีผู้ที่สนใจเลย
เมนเดลก็ได้ทำการล้มล้างการตีพิมพ์งานของตน เขาเก็บรายงานนี้ไว้ที่ห้องสมุดและทำการทดลองต่อไปเงียบๆจนกระทั่งถึงแก่กรรม ในปี พ.ศ.
2427

^^การถ่ายทอดลักษณะทางพันธุกรรมของพืช^^

^^การถ่ายทอดลักษณะทางพันธุกรรมของมนุษย์^^


 

ที่มาเนื้อหา: http://dusitaram.dyndns.org/display/eti322/?EntryID=1579

http://www.thaigoodview.com/node/13466

http://www.bloggang.com/viewblog.php?id=thainavyseal&date=11-12-2005&gro...

ที่มารูปภาพ: http://202.143.128.66/~kruya/m651/m65/09675/news_clip_image002.jpg

http://library.uru.ac.th/webdb/images/issue001_sompid_files/peaflower.gif

http://ebook.nfe.go.th/ebook/html//020/155.files/image002.jpg

โดย เด็กหญิง วัชรี  ศรีโรจนากูร  เลขที่ 18  ม.3/8

รูปภาพของ sss28708

 

เกรเกอร์ เมนเดล (Gregor Mendel)

            เมนเดลได้รับการยกย่องว่าเป็นบิดาแห่งพันธุศาสตร์ ด้วยผลงานการค้นพบความลับทางธรรมชาติ ที่ว่าด้วยการถ่ายทอดลักษณะต่าง ๆ ของพ่อแม่ไปยังลูกหลาน หรือที่เรียกว่า กรรมพันธุ์ (Heredity)
           สมัยของเมนเดลมีความเชื่อเกี่ยวกับเรื่องพันธุศาสตร์ที่ผิด ๆ อยู่เช่น เผ่าพันธุ์ของพืช สัตว์ จะดำรงอยู่ได้โดยไม่เปลี่ยนแปลงลักษณะและจะเปลี่ยนแปลงลักษณะต่อเมื่อธรรมชาติเปลี่ยนแปลงไป เป็นต้นแต่เมนเดลเป็นผู้ค้นพบคำตอบที่ถูกต้องโดยทดลองกับต้นถั่วลันเตา

           การทดลองของเมนเดล
1. เมนเดล ผสมต้นถั่วลันเตาจนได้พันธุ์บริสุทธิ์ทั้ง พ่อพันธุ์ แม่พันธุ์
2. เมนเดล นำต้นถั่วพันธุ์สูงเป็นพ่อพันธุ์ หรือแม่พันธุ์ มาผสมกับต้นถั่วพันธุ์เตี้ยซึ่งเป็นแม่พันธุ์หรือพ่อพันธุ์ เป็นการผสมข้ามต้นต่างลักษณะ
3. เมนเดล นำต้นถั่วรุ่นที่สอง (F1) มาผสมพันธุ์กันเอง
         

           สรุปผลการทดลองของเมนเดล
1. ลักษณะทางพันธุกรรมที่ควบคุมความสูงของต้นถั่วมีลักษณะเด่น คือ ลักษณะลำต้นสูงกับลักษณะด้อย คือ ลักษณะลำต้นเตี้ย ลักษณะทางพันธุกรรมของพ่อจะอยู่ในละอองเกสรตัวผู้ ของแม่จะอยู่ในรังไข่ ลักษณะพันธุกรรมจึงถ่ายทอดถึงลูกหลานได้
2. ลักษณะเด่นจะข่มลักษณะด้อยในรุ่นลูก (F1) จึงพบรุ่นลูกมีลักษณะเด่นหมด ทั้งนี้ภายในข้อจำกัดพ่อและแม่ ต้องเป็นพันธุ์เด่นแท้และด้อยแท้
3. ในชั่วรุ่นหลาน (F2) โดยปล่อยให้รุ่นลูก (F1) ผสมพันธุ์กันเองจะได้ลักษณะเด่นต่อลักษณะด้อยในอัตราส่วน 3 : 1

 

ที่มาเนื้อหา :  http://www.coconuthead.org/content/%E0%B9%80%E0%B8%81%E0%B8%A3%E0%B9%80%E0%B8%81%E0%B8%AD%E0%B8%A3%E0%B9%8C-%E0%B9%82%E0%B8%88%E0%B8%AE%E0%B8%B1%E0%B8%99%E0%B8%99%E0%B9%8C-%E0%B9%80%E0%B8%A1%E0%B8%99%E0%B9%80%E0%B8%94%E0%B8%A5-gregor-mendel
ที่มารูป : http://www.dvpschool.com/kroosomweb/testsciene/science/science5/pic/75.jpg
              http://www.coconuthead.org/files/images/mendel2.jpg

 

ด.ญ.เพ็ญพิชชา พิทยาพิบูลพงศ์ ม.3/8 เลขที่20 

รูปภาพของ sss28730

 

เกรเกอร์ เมนเดล ( Gregor Mendel ) บิดาทางพันธุศาสตร์ เกิดที่เมืองไฮน์เซนดรอฟ ออสเตรีย
เกรเกอร์ เมนเดล เผชิญความผิดหวังนับ 20 ปี ที่เขายังคงสอนหนังสือเพื่อชดเชยความผิดหวัง เขาทำงานในสวนของวัดทุกเวลาที่ว่าง ที่นั่นมีพันธุ์พืชมากมาย แต่ละชนิดแตกต่างหลากหลายอย่าง ความแตกต่างนี้ ทำให้เกรเกอร์นึกสงสัย เขาได้ผสมพันธุ์ถั่วเดียวกันและต่างพันธุ์ เป็นจำนวนแตกต่างถึง 22 ชนิดของต้นถั่ว เพื่อศึกษาลักษณะทั้งหมด เป็นเวลารวม 8 ปีเต็มในการทดลองร่วมพันครั้ง พบได้ 3 สิ่ง ดังนี้
- สิ่งแรก เมื่อผสมพันธุ์ถั่วชนิดต่างกันสองชนิดผลผลิตต่อมาที่ได้เป็นพันธุ์ชนิดเดียว
- สิ่งที่สอง เมื่อผสมพันธุ์ต่างชนิดกันของผลผลิตรุ่นแรกรุ่นต่อไปจะมีเมล็ดทั้งสองชนิด ต้นที่มีเมล็ดสีเขียวทุกๆสี่ต้นจะมีสามต้นที่มีเมล็ดสีเหลือง
- สิ่งที่สาม ถ้าหากเขาผสมพันธุ์ถั่วต่างชนิดกันด้วยถั่วสองชนิด เขาจะค้นพบกฏข้อที่ 3


ในอัตราส่วน 3 ต่อ 1 ในผลผลิต 4 อัน 

 

 

เมนเดลได้ส่งผลการทดลองนี้ไปยังสมาคมวิทยาศาสตร์แห่งหนึ่ง แต่ไม่มีผู้ที่สนใจเลย เมนเดลก็ได้ทำการล้มล้างการตีพิมพ์งานของตน เขาเก็บรายงานนี้ไว้ที่ห้องสมุดและทำการทดลองต่อไปเงียบๆ จนกระทั่งถึงแก่กรรม (พ.ศ. 2427)

ที่มา : http://th.wikipedia.org/wiki/เกรเกอร์_เมนเดล

 

ด.ญ.ภัณฑิรา คุณะสารพันธ์ ม.3/8 เลขที่ 31 (แก้ไข : เพิ่มรูป)

เกรเกอร์ โยฮัน เมนเดล เกิดในปี ค.ศ. 1822 ที่ไฮน์เซนดรอฟ ประเทศออสเตรีย เขาได้เรียนเพราะเงินของพี่สาว แต่พอพี่สาวเงินหมดจึงได้บวชเพื่อจะได้เรียนต่อ
เมนเดลได้ผิดหวังมาตลอด 20 ปี จึงได่ทุ่มเทเวลาว่างทั้งหมดมาทำการวิจัยและได้ค้นพบสามสิ่งคือ
1- เมื่อผสมพันธุ์ถั่วชนิดต่างกันสองชนิดผลผลิตต่อมาที่ได้เป็นพันธุ์ชนิดเดียว
2- เมื่อผสมพันธุ์ต่างชนิดกันของผลผลิตรุ่นแรกรุ่นต่อไปจะมีเมล็ดทั้งสองชนิด ต้นที่มีเมล็ดสีเดียวกันทุกต้น จะมีสามต้นที่มีสีอื่น เพราะว่าหน่วยถ่ายพันธุ์ที่ผลิตเมล็ด สีอื่นเป็นหน่วยถ่ายพันธุ์ที่สำคัญคือ โดมิแนนท์ยีน หน่วยถ่ายพันธุ์ที่ผลิตเมล็ดสีเดียวเรียกว่า รีเซสซีพยีน หรือหน่วยถ่ายพันธุ์ตัวรอง
3- เขาผสมพันธุ์ถั่วต่างชนิดกันด้วยถั่วสองชนิด หรือมากกว่านั้นที่มีลักษณะแตกต่างกัน เขาค้นพบข้อที่สามผสมพันธุ์ถั่วที่มีเมล็ดเรียบสีเหลืองกับพันธุ์ถั่วที่มีเมล็ดหยาบสีเขียว รุ่นแรกเมล็ดเรียบสีเหลืองจะเป็นตัวเด่นในรุ่นต่อไป
เมนเดลคิว่าการวิจัยของเขาเป็นประโยชน์จึงนำไปส่งให้องค์กรวิทยาศาสตร์แต่ไม่มีใครสนใจ จนกระทั่งถึงแก่กรรมในปี ค.ศ. 1884 หลังจากนั้นอีก 16 ปี คือในปี ค.ศ. 1900 เรื่องของเมนเดล จึงได้ตีพิมพ์ และมีการทดลองค้นคว้าเกี่ยวกับเรื่องนี้ โดยอาศัยการค้นพบของเกรเกอร์ เมนเดล
แหล่งที่มา http://www.geocities.com/joomp69/Gregor_Mendel.htm
แหล่งที่มาของรูป http://upload.wikimedia.org/wikipedia/commons/5/53/NHGRI_human_male_kary...
http://www.thaigoodview.com/library/contest2551/science03/53/2/heredity/...
http://202.143.128.66/~kruya/m651/m65/09675/news_clip_image002.jpg

รูปภาพของ sss28684

เกรเกอร์ โยฮัน เมนเดล เกิดในปี ค.ศ. 1822 ที่ไฮน์เซนดรอฟ ประเทศออสเตรีย เขาได้รับการศึกษาเพราะการช่วยเหลือจากเงินของพี่สาว พอเงินหมด เขาจึงต้องบวชเพื่อให้ได้ศึกษาต่อ

 บาทหลวงเกรเกอร์เผชิญกับความพลาดหวังอย่างอดทนเป็นเวลาถึง 20 ปี ที่เขายังคงสอนหนังสือในฐานะครูผู้ช่วยและเพื่อชดเชยกับความผิดหวัง เขาจึงผสมพันธุ์ถั่วพันธุ์เดียวกันและต่างพันธุ์ เป็นจำนวนแตกต่างกันถึงยี่สิบสองชนิดของต้นถั่ว บาทหลวงเกรเกอร์พบสามสิ่ง

        สิ่งแรก เมื่อผสมพันธุ์ถั่วชนิดต่างกันสองชนิดผลผลิตต่อมาที่ได้เป็นพันธุ์ชนิดเดียว ยกตัวอย่าง ถ้าหากเขาผสมพันธุ์ถั่วเมล็ดสีเหลืองกับชนิดเมล็ดสีแดง มันจะผลิตพันธุ์เมล็ดสีเหลืองออกมา

        ต่อไป เมื่อผสมพันธุ์ต่างชนิดกันของผลผลิตรุ่นแรกรุ่นต่อไปจะมีเมล็ดทั้งสองชนิด ต้นที่มีเมล็ดสีเขียวทุกๆต้น จะมีสามต้นที่มีเมล็ดสีเหลือง นี่เป็นเพราะว่าหน่วยถ่ายพันธุ์ที่ผลิตเมล็ด สีเหลืองเป็นหน่วยถ่ายพันธุ์ที่สำคัญคือ โดมิแนนท์ยีน หน่วยถ่ายพันธุ์ที่ผลิตเมล็ดสีเขียวเรียกว่า รีเซสซีพยีน หรือหน่วยถ่ายพันธุ์ตัวรอง

       สิ่งที่สาม ถ้าหากเขาผสมพันธุ์ถั่วต่างชนิดกันด้วยถั่วสองชนิด หรือมากกว่านั้นที่มีลักษณะแตกต่างกัน เขาจะค้นพบกฎข้อที่สาม สมมติว่าเขาผสมพันธุ์ถั่วที่มีเมล็ดเรียบสีเหลืองกับพันธุ์ถั่วที่มีเมล็ดหยาบสีเขียว รุ่นแรกเมล็ดเรียบสีเหลืองจะเป็นตัวเด่นในรุ่นต่อไป จะมีอัตราส่วนเมล็ดเรียบสีเหลือง 9ส่วนต่อ 3ส่วน เมล็ดหยาบสีเขียว เมล็ดหยาบสีเหลืองหนึ่งต่อหนึ่งเมล็ดหยาบสีเขียว

       เมนเดลทราบว่า การค้นพบของเขาสำคัญมากสำหรับผู้ที่ผสมพันธุ์พืช และสัตว์ เขาได้เขียนเรื่องราวเหล่านี้ ส่งไปยังสมาคมวิทยาศาสตร์แห่งหนึ่ง แต่ไม่มีใครสนใจแม้แต่น้อย เมนเดลจึงเลิกล้มความพยายามที่จะตีพิมพ์งานของเขา เขาเก็บรายงานไว้ในห้องสมุดของวัดและทำการทดลองต่อด้วยตนเองอย่างเงียบๆ ในส่วนสำนักสงฆ์ จนกระทั่งถึงแก่กรรมในปี ค.ศ. 1884 หลังจากนั้นอีก 16 ปี คือในปี ค.ศ. 1900 นักวิทยาศาสตร์เมนเดล จึงได้ตีพิมพ์เผยแพร่ และก็มีการทดลองค้นคว้าเกี่ยวกับเรื่องนี้ โดยอาศัยการค้นพบของเกรเกอร์ เมนเดล ผู้ซึ่งตัวเขาเอง ในสมัยที่มีชีวิตอยู่ไม่เคยได้รับการยกย่องจากสิ่งนั้นเลย

ที่มา -http://www.school.net.th/library/create-web/10000/science/10000-11032.html
      -http://siweb.dss.go.th/Scientist/scientist/Gregor%20Mendel.html

 

 

ที่มา -http://siweb.dss.go.th/Scientist/images/Gregor%20Mendel/mendel2.jpg
       -http://www.atom.rmutphysics.com/charud/PDF-learning/6/picscientist/3/Johann-Gregor-mendel.jpg

เกรเกอร์ เมนเดล

บิดาทางพันธุศาสตร์ เกิดที่เมืองไฮน์เซนดรอฟ ประเทศออสเตรีย เป็นบุตรชายคนเดียวในจำนวนพี่น้อง 3 คน ของชาวนายากจนคนหนึ่ง ต่อมา เมนเดลได้ไปบวชแล้วได้รับตำแหน่งรับผิดชอบดูแลสวน ซึ่งที่นั่นมีพันธุ์พืชมากมาย แต่ละชนิดแตกต่างกัน ความแตกต่างนี้ ทำให้เขานึกสงสัย เขาได้ผสมพันธุ์ถั่วเดียวกันและต่างพันธุ์ เป็นเวลารวม 8 ปี เต็มในการทดลองร่วมพันครั้ง พบได้ 3 สิ่ง ดังนี้ สิ่งแรก เมื่อผสมพันธุ์ถั่วชนิดต่างกันสองชนิดผลผลิตต่อมาที่ได้เป็นพันธุ์ชนิดเดียว สิ่งที่สอง เมื่อผสมพันธุ์ต่างชนิดกันของผลผลิตรุ่นแรกรุ่นต่อไปจะมีเมล็ดทั้งสองชนิด ต้นที่มีเมล็ดสีเขียวทุกสี่ต้นจะมีสามต้นที่มีเมล็ดสีเหลือง นี่เป็นเพราะว่าหน่วยถ่ายพันธุ์ที่ผลิตเมล็ดสีเหลืองเป็นหน่วยถ่ายพันธุ์ที่เด่น สิ่งที่สาม ถ้าหากเขาผสมพันธุ์ถั่วต่างชนิดกันด้วยถั่วสองชนิด หรือมากกว่านั้นที่มีลักษณะแตกต่างกัน เขาจะ ค้นพบกฎข้อที่สาม สมมติว่าเขาผสมพันธุ์ถั่วที่มีเมล็ดเรียบสีเหลืองกับพันธุ์ถั่วที่มีเมล็ดหยาบสีเขียว รุ่นแรกเมล็ดเรียบสีเหลืองจะเป็นตัว เด่น ในรุ่นต่อไปจะมีอัตราส่วนเมล็ดเรียบสีเหลือง 9 ส่วน ต่อเมล็ดหยาบสีเขียว 3ส่วน เมล็ดหยาบสีเหลือง 1 ส่วน ต่อเมล็ดหยาบสีเขียว 1 ส่วน หลังจากนั้น เมนเดลได้ส่งผลการทดลองนี้ไปยังสมาคมวิทยาศาสตร์แห่งหนึ่ง แต่กลับไม่มีผู้ที่สนใจเลย เมนเดลก็ได้ทำการล้มล้างการตีพิมพ์งานของตน เขาเก็บรายงานนี้ไว้ที่ห้องสมุดและทำการทดลองต่อไปเงียบๆ จนกระทั่งถึงแก่กรรม ในปี พ.ศ. 2427
นี่คือของถั่วลันเตาที่เมนเดล ใช้ในการศึกษาการถ่ายทอดลักษณะพันธุกรรม
แหล่งที่มาของรูป : http://www.thaigoodview.com/library/contest2551/science03/53/2/heredity/... : http://www.neutron.rmutphysics.com/teaching-glossary/index.php?option=co... อ้างอิงข้อมูลจาก : http://th.wikipedia.org/wiki/%E0%B9%80%E0%B8%81%E0%B8%A3%E0%B9%80%E0%B8%...

ประวัติเมนเดล
เกรเกอร์ เมนเดล (พ.ศ. 2365-พ.ศ. 2427) บิดาทางพันธุศาสตร์ เกิดที่เมืองไฮน์เซนดรอฟ ประเทศออสเตรีย เป็นบุตรชายคนเดียวในจำนวนพี่น้อง 3 คน ของชาวนายากจนคนหนึ่ง โดยต่อมา เมนเดลได้ไปบวชแล้วได้รับตำแหน่งรับผิดชอบดูแลสวน ในปี พ.ศ. 2390

บิดาทางพันธุศาสตร์
เกรเกอร์ เมนเดล เผชิญความผิดหวังนับ 20 ปี ที่เขายังคงสอนหนังสือเพื่อชดเชยความผิดหวัง เขาทำงานในสวนของวัดทุกเวลาที่ว่าง ที่นั่นมีพันธุ์พืชมากมาย แต่ละชนิดแตกต่างหลากหลายอย่าง ความแตกต่างนี้ ทำให้เกรเกอร์นึกสงสัย เขาได้ผสมพันธุ์ถั่วเดียวกันและต่างพันธุ์ เป็นจำนวนแตกต่างถึง 22 ชนิดของต้นถั่ว เพื่อศึกษาลักษณะทั้งหมด เป็นเวลารวม 8 ปีเต็มในการทดลองร่วมพันครั้ง พบได้ 3 สิ่ง ดังนี้
สิ่งแรก เมื่อผสมพันธุ์ถั่วชนิดต่างกันสองชนิดผลผลิตต่อมาที่ได้เป็นพันธุ์ชนิดเดียว ยกตัวอย่าง ถ้าหากเขาผสมพันธุ์ถั่วเมล็ดสีเหลืองกับชนิดเมล็ดสีแดง มันจะผลิตพันธุ์เมล็ดสีเหลืองออกมา
ต่อไป เมื่อผสมพันธุ์ต่างชนิดกันของผลผลิตรุ่นแรกรุ่นต่อไปจะมีเมล็ดทั้งสองชนิด ต้นที่มีเมล็ดสีเขียวทุกๆสี่ต้นจะมีสามต้นที่มีเมล็ดสีเหลือง นี่เป็นเพราะว่าหน่วยถ่ายพันธุ์ที่ผลิตเมล็ดสีเหลืองเป็นหน่วยถ่ายพันธุ์ที่เด่น คือ โดมิแนนท์ยีน หน่วยถ่ายพันธุ์ที่ผลิตเมล็ดสีเขียวเรียกว่า รีเซสซีพยีน หรือหน่วยถ่ายพันธุ์ด้อย
สิ่งที่สาม ถ้าหากเขาผสมพันธุ์ถั่วต่างชนิดกันด้วยถั่วสองชนิด หรือมากกว่านั้นที่มีลักษณะแตกต่างกัน เขาจะค้นพบกฎข้อที่สาม สมมติว่าเขาผสมพันธุ์ถั่วที่มีเมล็ดเรียบสีเหลืองกับพันธุ์ถั่วที่มีเมล็ดหยาบสีเขียว รุ่นแรกเมล็ดเรียบสีเหลืองจะเป็นตัวเด่น ในรุ่นต่อไปจะมีอัตราส่วนเมล็ดเรียบสีเหลือง 9 ส่วน ต่อเมล็ดหยาบสีเขียว 3ส่วน เมล็ดหยาบสีเหลือง 1 ส่วน ต่อเมล็ดหยาบสีเขียว 1 ส่วน
หลังจากนั้น เมนเดลได้ส่งผลการทดลองนี้ไปยังสมาคมวิทยาศาสตร์แห่งหนึ่ง แต่กลับไม่มีผู้ที่สนใจเลย เมนเดลก็ได้ทำการล้มล้างการตีพิมพ์งานของตน เขาเก็บรายงานนี้ไว้ที่ห้องสมุดและทำการทดลองต่อไปเงียบๆ จนกระทั่งถึงแก่กรรม ในปี พ.ศ. 2427
ในอัตราส่วน 3 ต่อ 1 ในผลผลิต 4 อัน
แหล่งที่มาข้อมูล: http://th.wikipedia.org/wiki/%E0%B9%80%E0%B8%81%E0%B8%A3%E0%B9%80%E0%B8%...
แหล่งที่มารูปภาพ: http://www.thaigoodview.com/library/studentshow/st2545/5-5/no31/images/k...
http://www.geocities.com/sciencetist_world/mendel1.jpg

โยฮันน์ เกรกอร์ เมนเดล เกิดเมื่อ เกิดเมื่อ 8 กุมภาพันธ์ ค.ศ.1822 เป็นบุตรของชาวนายากจนเขาจึงต้องบวชเพื่อที่จะได้มีโอกาสศึกษาต่อ เขาบาทหลวงชาวออสเตรีย และในขณะเดียวกันเขาก็เป็นอาจารย์สอนหนังสือให้แก่นักเรียน ถึงเรื่องพันธุ์กรรมด้วย เมนเดลเกิดความสงสัยว่าอะไรเป็นสาเหตุของสิ่งมีชีวิตทั้งๆที่อยู่ในตระกูลเดียวกันก็ทำให้สี ขนาด และรูปร่างแตกต่างกันไป เขามีความสนใจศึกษาด้านวิทยาศาสตร์โดยเฉพาะ ด้านพันธุศาสตร์ เขาได้ใช้สถานที่ภายในบริเวณวัดเพื่อทำการทดลองสิ่งต่างๆ ที่เขาสนใจ เมนเดลเริ่มต้นทดลองเป็นครั้งแรกในปี ค.ศ.1856 เรื่องที่เขาทำการทดลองคือ การรวบรวมต้นถั่วหลายๆพันธุ์นำมาผสมกันหลายๆวิธีเขาใช้เวลาทดลองต่อเนื่องถึง 7 ปี จนได้ข้อมูลมากเพียงพอ ในปี ค.ศ.1865 เมนเดล จึงได้ รายงานผลการทดลอง ซึ่งเกี่ยวข้องกับการผสมพันธุ์ ต้นถั่ว ให้แก่ที่ประชุม Natural History Society ในกรุงบรุนน์ ( Brunn ) ผลงานของเขาได้รับการตีพิมพ์เผยแพร่ออกไปทั่วทวีปยุโรปและ อเมริกาในปีต่อมาคือปี ค.ศ.1866 ผลงานของเขาถูกปล่อยไว้นานถึง 34 ปี จนกระทั่งปี ค.ศ.1900 ได้มีนัก ชีววิทยา 3 ท่าน คือ ฮูโก เดฟรีส์ ชาวฮอลันดา คาร์ล คอเรนส์ ชาวเยอรมันและ เอริช ฟอน แชร์มาค ชาวออสเตรเลีย ได้ทดลองผสมพันธุ์พืชชนิดอื่นๆ และได้ผลการทดลองตรงกับที่เมนเดลเคยรายงานไว้ ทำให้เมนเดลเป็นที่รู้จัก ในวงการพันธุศาสตร์นับแต่นั้นเป็นต้นมา และ เมนเดลยังได้รับการยกย่องว่า เป็นบิดาแห่งวิชาพันธุศาสตร์อีกด้วย เมนเดลเสียชีวิตลงในปี ค.ศ.1884 ถึงแม้เป็นความจริง เขาจะไม่ได้รับการ ยอมรับนับถือในฐานะนักวิทยาศาสตร์มากนัก แต่ประชาชนทั่วไปก็นับถือเขาและมีความศรัทธาในฐานะนักบวชเป็นอย่างมาก

ที่มา www.school.net.th/library/create-web/10000/science/10000-6858.html - 6k -
www.thaigoodview.com/library/studentshow/st2545/5-5/no31/mendel.htm - 21k -

รูป http://www.thaigoodview.com/library/studentshow/st2545/5-5/no31/images/k...

Mendel เกิดเมื่อวันที่ 20 กรกฎาคม พ.ศ.2365 ที่เมือง Heinzendorf ซึ่งขณะนั้น อยู่ในประเทศออสเตรีย แต่บัดนี้สถานที่เกิดอยู่ในเมือง Brno ของประเทศเชกโกสโลวะเกีย บิดามีอาชีพทำไร่ ขณะอยู่ในวัยเด็ก Mendel เรียนหนังสือเก่ง ขณะที่มีอายุได้ 21 ปี เขาได้บวชเป็นพระในนิกาย Augustine ที่เมือง Brünn และในเวลาเดียวกันนั้น เขาก็ได้สอบเพื่อรับประกาศนียบัตรวิชาชีพครูด้วย แต่สอบตก เพราะได้คะแนนวิชาชีววิทยา
ต่ำ ถึงกระนั้น Mendel ก็ยังรักวิชาวิทยาศาสตร์ จึงได้ไปสมัครเรียนวิชาคณิตศาสตร์และ วิทยาศาสตร์ต่อที่มหาวิทยาลัยเวียนนา เป็นเวลา 2 ปี ภาพจาก : การมีบิดาเป็นชาวไร่ได้ทำให้ Mendel ชอบศึกษาการแพร่พันธุ์ของพืช ดังนั้น เมื่อเขามีอายุได้ 34 ปี เขาได้นำถั่วมาทดลองผสมพันธุ์ โดยได้วิเคราะห์เอกลักษณ์ที่สำคัญของถั่วถึง 7 ประเด็น การบันทึกข้อสังเกตต่างๆ ที่ได้จากการทดลองได้ทำให้ Mendel พบกฎ พันธุกรรมงานวิจัยของเขาเรื่อง Experiments With Plant Hybirds ไม่ได้เสนอรายงานผลการทดลองอย่างละเอียด ได้รับการ ลงพิมพ์ในวารสาร Transactions of the Brünn Natural History Society ที่ไม่มีคนอ่านมากนัก และในเวลาเดียว กันนั้น เขาก็ได้ส่งรายงานการวิจัยฉบับเดียวกันนี้ไปให้ Karl Nageli ซึ่งเป็นผู้เชี่ยวชาญด้านการผสมพันธุ์พืชอ่านด้วย แต่เมื่อ Nageli อ่านรายงานของ Mendel แล้ว เขามีความรู้สึกสงสัยและเคลือบแคลงในผลสรุปของ Mendel มาก เขาจึงได้เสนอแนะให้ Mendel ทดลองใหม่โดยพืชชนิดอื่นแทน แต่ Mendel ก็มิได้ดำเนินการใดๆ ตามที่ Nageli เสนอ เพราะในปี พ.ศ. 2411 นั้น เขาได้รับการ สถาปนาสมณศักดิ์เป็นเจ้าอาวาสประจำโบสถ์ที่ Alt Brünn ภาระงานบริหารได้ทำให้เขาไม่มีเวลาทำการทดลองเรื่องการ ผสมพันธุ์พืชอีกเลย จนกระทั่งเขาเสียชีวิตลงในวันที่ 6 มกราคม พ.ศ.2427 ขณะมีอายุได้ 61 ปี ด้วยโรคหัวใจวาย
ภาพจากhttp://tidepool.st.usm.edu/crswr/103inheritance.html
แหล่งข้อมูล http://www.mwit.ac.th/~Physicslab/content_01/sutut/mendel.html

ชื่อ โยฮันน์ เกรกอร์ เมนเดล
เกิดเมื่อ 8 กุมภาพันธ์ ค.ศ.1822
สถานที่เกิด ไฮน์เซนดรอฟ ประเทศออสเตรีย
ผลงาน เป็นผู้ค้นพบทฤษฎีการถ่ายพันธุ์
ถึงแก่กรรม ค.ศ.1884
ประวัติ
โยฮันน์ เกรกอร์ เมนเดล เกิดในปี ค.ศ.1822 เป็นบาทหลวงชาวออสเตรีย และในขณะเดียวกันเขาก็เป็นอาจารย์สอนหนังสือให้แก่นักเรียน สอนนักเรียน ถึงเรื่องพันธุ์กรรมด้วย เมนเดลมีความสนใจศึกษาด้านวิทยาศาสตร์โดยเฉพาะ ด้านพันธุศาสตร์ เขาได้ใช้สถานที่ภายในบริเวณวัดเพื่อทำการทดลองสิ่งต่างๆ ที่เขาสนใจ เมนเดลเริ่มต้นทดลองเป็นครั้งแรกในปี ค.ศ.1856 เรื่องที่เขาทำการทดลองคือ การรวบรวมต้นถั่วหลายๆพันธุ์นำมาผสมกันหลายๆวิธีเขาใช้เวลาทดลองต่อเนื่องถึง 7 ปี จนได้ข้อมูลมากเพียงพอ ในปี ค.ศ.1865 เมนเดล จึงได้ รายงานผลการทดลอง ซึ่งเกี่ยวข้องกับการผสมพันธุ์ ต้นถั่ว ให้แก่ที่ประชุม Natural History Society ในกรุงบรุนน์ ( Brunn ) ผลงานของเขาได้รับการตีพิมพ์เผยแพร่ออกไปทั่วทวีปยุโรปและ อเมริกาในปีต่อมาคือปี ค.ศ.1866 ผลงานของเขาถูกปล่อยไว้นานถึง 34 ปี จนกระทั่งปี ค.ศ.1900 ได้มีนัก ชีววิทยา 3 ท่าน คือ ฮูโก เดฟรีส์ ชาวฮอลันดา คาร์ล คอเรนส์ ชาวเยอรมันและ เอริช ฟอน แชร์มาค ชาวออสเตรเลีย ได้ทดลองผสมพันธุ์พืชชนิดอื่นๆ และได้ผลการทดลองตรงกับที่เมนเดลเคยรายงานไว้ ทำให้เมนเดลเป็นที่รู้จัก ในวงการพันธุศาสตร์นับแต่นั้นเป็นต้นมา และ เมนเดลยังได้รับการยกย่องว่า เป็นบิดาแห่งวิชาพันธุศาสตร์อีกด้วย เมนเดลเสียชีวิตลงในปี ค.ศ.1884 ถึงแม้เป็นความจริง เขาจะไม่ได้รับการ ยอมรับนับถือในฐานะนักวิทยาศาสตร์มากนัก แต่ประชาชนทั่วไปก็นับถือเขาและมีความศรัทธาในฐานะนักบวชเป็นอย่างมาก
ต้องยอมรับว่านี่คือ “ยุคแห่งพันธุศาสตร์” เพราะในช่วง 50 ปีที่ผ่านมานี้ การค้นคว้าและความก้าวหน้าทางด้านเทคโนโลยีชีวภาพได้เติบโตอย่างก้าวกระโดด นั่นก็เพราะความต้องการแก้ปัญหาด้านสุขภาพ และต้องการไขปริศนาธรรมชาติในกระบวนการสร้างสิ่งมีชีวิตต่างๆ ทำให้มวลมนุษย์เดินหน้าหาวิธีการต่างๆ เพื่อให้ร่างกายสามารถพิชิตโรคภัย และดำรงตนอยู่ในโลกยุคใหม่อย่างสบายใจไร้ทุกข์ ด้วยความรู้ทางวิทยาศาสตร์ที่พัฒนาขึ้นมาถึงระดับเทคโนโลยี
สัปดาห์นี้ผู้จัดการวิทยาศาสตร์จึงนำสุดยอดการค้บพบทางวิทยาศาสตร์ที่นำเสนอโดยรายการ"ไซน์แชนแนล" (Science Channel) ทางช่อง "ดิสคัฟเวอร์รี" (Discovery Channel) ในประเด็น “การค้นพบทางพันธุกรรม” โดยสรุป 13 ข้อค้นพบเด่นที่ขับเคลื่อนให้วงการเทคโนโลยีชีวภาพก้าวไกลมาได้ถึงขนาดนี้
“กฎของเมนเดล” (Rules of Heredity หรือกฎของการสืบสายเลือด) ในช่วงปี 1850
แน่นอนว่า...ประวัติศาสตร์แห่งวงการพันธุศาสตร์ต้องเริ่มต้นจาก บาทหลวงชาวออสเตรียที่เป็นนักพฤกษศาสตร์นามว่า “เกรเกอร์ โยฮัน เมนเดล” (Gregor Mendel) ที่ได้ค้นพบข้อมูลการถ่ายทอดทางพันธุกรรมจากรุ่นสู่รุ่น โดยเมนเดลได้ทดลองกับพืชตระกูลถั่ว เขาสังเกตว่าลักษณะบางอย่างของต้นถั่วรุ่นลูก อย่างเช่นความสูง การแสดงถึงลักษณะเด่นเหล่านี้จะแตกต่างกันไป

ผลงาน
เมนเดลได้ใช้เวลาทั้งชีวิตค้นคว้าในเรื่องนี้จนกระทั่งสิ้นใจ โดยหารู้ไม่ว่าสิ่งที่เขาค้นพบทำให้เขากลายเป็น “บิดาแห่งพันธุกรรม” ในเวลาต่อมา

แหล่งที่มาข้อมูล http://www.vcharkarn.com/vcafe/127685
http://www.mgronline.com/Science/ViewNews.aspx?NewsID=9470000089123
แหล่งข้อมูลภาพ http://www.nstlearning.com/~km/wp-content/uploads/2008/12/zgs4f1.gif

+--------ประวัติของเมนเดล---------+
โยฮันน์ เกรกอร์ เมนเดล (Gregor Mendel)
โยฮันน์ เกรกอร์ เมนเดล เกิดในปี ค.ศ.1822 เป็นบาทหลวงชาวออสเตรีย และในขณะเดียวกันเขาก็เป็นอาจารย์สอนหนังสือให้แก่นักเรียน สอนนักเรียน ถึงเรื่องพันธุ์กรรมด้วย เมนเดลมีความสนใจศึกษาด้านวิทยาศาสตร์โดยเฉพาะ ด้านพันธุศาสตร์ เขาได้ใช้สถานที่ภายในบริเวณวัดเพื่อทำการทดลองสิ่งต่างๆ ที่เขาสนใจ เมนเดลเริ่มต้นทดลองเป็นครั้งแรกในปี ค.ศ.1856 เรื่องที่เขาทำการทดลองคือ การรวบรวมต้นถั่วหลายๆพันธุ์นำมาผสมกันหลายๆวิธีเขาใช้เวลาทดลองต่อเนื่องถึง 7 ปี จนได้ข้อมูลมากเพียงพอ ในปี ค.ศ.1865 เมนเดล จึงได้ รายงานผลการทดลอง ซึ่งเกี่ยวข้องกับการผสมพันธุ์ ต้นถั่ว ให้แก่ที่ประชุม Natural History Society ในกรุงบรุนน์ ( Brunn ) ผลงานของเขาได้รับการตีพิมพ์เผยแพร่ออกไปทั่วทวีปยุโรปและ อเมริกาในปีต่อมาคือปี ค.ศ.1866 ผลงานของเขาถูกปล่อยไว้นานถึง 34 ปี จนกระทั่งปี ค.ศ.1900 ได้มีนัก ชีววิทยา 3 ท่าน คือ ฮูโก เดฟรีส์ ชาวฮอลันดา คาร์ล คอเรนส์ ชาวเยอรมันและ เอริช ฟอน แชร์มาค ชาวออสเตรเลีย ได้ทดลองผสมพันธุ์พืชชนิดอื่นๆ และได้ผลการทดลองตรงกับที่เมนเดลเคยรายงานไว้ ทำให้เมนเดลเป็นที่รู้จัก ในวงการพันธุศาสตร์นับแต่นั้นเป็นต้นมา และ เมนเดลยังได้รับการยกย่องว่า เป็นบิดาแห่งวิชาพันธุศาสตร์อีกด้วย เมนเดลเสียชีวิตลงในปี ค.ศ.1884 ถึงแม้เป็นความจริง เขาจะไม่ได้รับการ ยอมรับนับถือในฐานะนักวิทยาศาสตร์มากนัก แต่ประชาชนทั่วไปก็นับถือเขาและมีความศรัทธาในฐานะนักบวชเป็นอย่างมาก

+-----------ผลงานของเมนเดล------------+
โยฮันน์ เกรกอร์ เมนเดล ได้ตั้งกฎไว้ดังนี้
1. ในการผสมพันธุ์ ลักษณะต่างๆจะอยู่กันเป็นคู่ๆ และจะสืบเนื่องถ่ายทอดไปสู่พันธุ์ รุ่นต่อๆไป
2. ลักษณะบางชนิดจะปรากฏออกมาให้เห็น เพราะเป็นลักษณะเด่น เช่น สีเหลือง ส่วนบางลักษณะจะแฝงไว้ เพราะเป็นลักษณะด้อย
3. ลักษณะด้วย ปรากฏให้เห็นในรุ่นหลาน
4. ลักษณะเด่น และลักษณะด้วยจะปรากฏในรุ่นหลาน ในอัตราส่วน 3:1
ลักษณะต่างๆที่ปรากฏออกมาให้เห็น เรียกว่า ฟีโนไทป์ ลักษณะต่างๆที่ถ่ายทอดออกมา เรียกว่า จีนส์ เราเรียกลักษณะของ จีนส์ ว่า จีโนไทป์

ที่มาของเนื้อหา---http://www.absorn.ac.th/e-learning/ebook2/sakdanai/05.html
http://ecurriculum.mv.ac.th/health/m.5/lesson1/sf21/men.bmp
ที่มาของรูปภาพ---http://school.obec.go.th/uts_s/webpages/bio/mendel/61839.jpg
http://www.kr.ac.th/ebook2/sakdanai/images/flower.gif

โจฮันน์ เกรเกอร์ เมนเดล
"บิดาแห่งวิชาพันธุศาสตร์"
เมนเดลเกิดเมื่อวันที่ 27 กรกฎาคม พ.ศ.2365 ที่เมืองโมราเวีย ประเทศออสเตรีย บิดาของเขาเป็น ชาวสวน เขาคลุกคลีกับธรรมชาติมาตั้งแต่เด็กและมักจะช่วยบิดาของเขาทำไร่ทำสวนอยู่เสมอ
การศึกษาในวัยเด็ก หลังจากจบชั้นประถมแล้ว ก็เข้าเรียนต่อชั้นมัธยม ในระหว่างนั้นบิดาของเขาก็ประสบ อุบัติเหตุ ทำให้ฐานะทางครอบครัวยากจนลง เมนเดลจึงต้องออกจากโรงเรียนและต้องทำงานอย่างหนักจนต้อง ล้มป่วย ตอนอายุประมาณ 17ปี
ในที่สุดครอบครัวของเขาก็ตกลงใจขายไร่ที่มีอยู่ทั้งหมดและแบ่งเงินคริ่งหนึ่งเพื่อให้เมนเดลได้เรียน และ เทเรเซีย ซึ่งเป็นน้องสาวของเขาก็ได้มอบเงินในส่วนของเธอให้พี่ชายเรียนต่อจนจบ ในระหว่างเรียนนั้น เมนเดลก็ทำงานไปด้วย เมนเดลตกลงใจบวชเป็นพระเมื่ออายุ 21 ปี และมีฉายาทางพระว่า "เกรเกอร์ เมื่ออายุได้ 47 ปี เขาได้เป็นสมภารวัดและต้องทำงานอย่างหนัก แต่ก็ไม่ได้ทิ้งงานค้นคว้าวิจัย เขาใช้เมล็ด ถั่วในการทดลองผสมพันธุ์และได้พิมพ์ผลงานออกเผยแพร่แต่ไม่ได้รับความสนใจ ในสมัยนั้นมีความเชื่อว่า ลูกที่เกิดมาต้องมีรูปร่างหน้าตาเหมือนพ่อแม่ทุกอย่าง เมนเดลสามารถอธิบายให้ เห็นว่าเด็กที่เกิดจากพ่อแม่เดียวกันมีความเหมือนและแตกต่างจากพ่อแม่อย่างไร ปัจจุบันนี้ทฤษฎีของเมนเดล ช่วยให้เราสามารถผสมพันธุ์พืชและสัตว์ให้ได้พันธุ์ที่ดีตามต้องการ เมนเดลถึงแก่กรรมในปี พ.ศ.2427
ผลงาน
1.ค้นพบเรื่องกฎของพันธุกรรมโดยใช้เมล้ดถั่ว
2.หนึ่งในเจ็ดผู้บุกเบิกโลกชีววิทยา ฟิสิกส์ราชมงคล
3.กฎของเมนเดล บอกถึงลักษณะทางพันธุกรรม โดยมี 2 ลักษณะดังนี้ 1.ลักษณะทางจีโนไทป์ คือ ลักษณะทางยีนส์ 2.ลักษณะภายนอก คือฟีโนไทป์

แหล่งที่มาข้อมูล http://www.geocities.com/nananaru/humhist/humhist2.html
http://www.vcharkarn.com/vcafe/37268
http://www.rmutphysics.com/CHARUD/specialnews/5/biology/bio5.htm

แหล่งที่มารูปภาพ http://www.atom.rmutphysics.com/charud/PDF-learning/6/picscientist/3/Joh...

ชื่อ เกกอร์ เมนเดล ( Gregor Mendel ) เกิดเมื่อ 8 กุมภาพันธ์ ค.ศ.1822 สถานที่เกิดไฮน์เซนดรอฟ ประเทศออสเตรีย ผลงาน เป็นผู้ค้นพบทฤษฎีการถ่ายพันธุ์ ถึงแก่กรรม ค.ศ.1884

ประวัติโดยย่อ

เกกอร์ เมนเดล เป็นบุตรของชาวนายากจน เขาจึงต้องบวชเพื่อจะได้มีโอกาสศึกษาต่อ หลังจากศึกษาจบ เขาเป็นบาทหลวงและทุ่มเทเวลาให้กับการสอนและการทำงานในสวนของวัด เขาเกิดความสงสัยว่าอะไรเป็นสาเหตุของสิ่งมีชีวิตทั้งๆที่อยู่ในตระกูลเดียวกันก็ทำให้สี ขนาด และรูปร่างแตกต่างกันไป เมนเดลใช้เวลาในการทดลองเกี่ยวกับต้นถั่งเป็นเวลาถึงแปดปี

ผลงาน
การค้นพบของเมนเดลถือว่าเป็นการค้นพบยิ่งใหญ่ครั้งหนึ่งในวงการพันธุศาสตร์ เนื่องจากเมนเดลสามารถไขความลับการสืบทอดลักษณะทางพันธุกรรมต่างๆ จากบรรพบุรุษไปสู่ลูกหลานโดยที่ในสมัยนั้นยังไม่มีการค้นพบสารพันธุกรรม ดีเอ็นเอ ยีน หรือ โครโมโซมแต่อย่างใด

แหล่งข้อมูล http://th.wikipedia.org/wiki/%E0%B9%80%E0%B8%81%E0%B8%A3%E0%B9%80%E0%B8%...

แหล่งรูปภาพ http://th.wikipedia.org/wiki/%E0%B9%84%E0%B8%9F%E0%B8%A5%E0%B9%8C:Gregor...

ชื่อ เกกอร์ เมนเดล ( Gregor Mendel ) เกิดเมื่อ 8 กุมภาพันธ์ ค.ศ.1822 สถานที่เกิดไฮน์เซนดรอฟ ประเทศออสเตรีย ผลงาน เป็นผู้ค้นพบทฤษฎีการถ่ายพันธุ์ ถึงแก่กรรม ค.ศ.1884

ประวัติโดยย่อ

เกกอร์ เมนเดล เป็นบุตรของชาวนายากจน เขาจึงต้องบวชเพื่อจะได้มีโอกาสศึกษาต่อ หลังจากศึกษาจบ เขาเป็นบาทหลวงและทุ่มเทเวลาให้กับการสอนและการทำงานในสวนของวัด เขาเกิดความสงสัยว่าอะไรเป็นสาเหตุของสิ่งมีชีวิตทั้งๆที่อยู่ในตระกูลเดียวกันก็ทำให้สี ขนาด และรูปร่างแตกต่างกันไป เมนเดลใช้เวลาในการทดลองเกี่ยวกับต้นถั่งเป็นเวลาถึงแปดปี

ผลงาน
การค้นพบของเมนเดลถือว่าเป็นการค้นพบยิ่งใหญ่ครั้งหนึ่งในวงการพันธุศาสตร์ เนื่องจากเมนเดลสามารถไขความลับการสืบทอดลักษณะทางพันธุกรรมต่างๆ จากบรรพบุรุษไปสู่ลูกหลานโดยที่ในสมัยนั้นยังไม่มีการค้นพบสารพันธุกรรม ดีเอ็นเอ ยีน หรือ โครโมโซมแต่อย่างใด

แหล่งข้อมูล http://th.wikipedia.org/wiki/%E0%B9%80%E0%B8%81%E0%B8%A3%E0%B9%80%E0%B8%...

แหล่งรูปภาพ http://th.wikipedia.org/wiki/%E0%B9%84%E0%B8%9F%E0%B8%A5%E0%B9%8C:Gregor...

เกรเกอร์ เมนเดล
เกิดวันที่ 27 กรกฎาคม ค.ศ.1822 ที่เมืองไฮน์เซนดรอฟ ประเทศออสเตรีย เป็นบุตรชายคนเดียวในจำนวนพี่น้อง 3 คน ของชาวนายากจนคน
เมนเดลได้รับการยกย่องว่าเป็นบิดาแห่งพันธุศาสตร์ ด้วยผลงานการค้นพบความลับทางธรรมชาติ ที่ว่าด้วยการถ่ายทอดลักษณะต่างๆของพ่อแม่ไปยังลูกหลาน หรือที่เรียกกันว่า กรรมพันธุ์
ผลงานของเมนเดล
เมนเดลศึกษาวิชาฟิสิกส์ คณิตศาสตร์ และธรรมชาติวิทยา เขาบวชที่เมืองบรูนน์ ประเทศออสเตรเลีย ในสมัยเมนเดลมีความเชื่อเกี่ยวกับเรื่องพันธุศาสตร์ที่ผิดอยู่ เช่น เผ่าพันธุ์ของพืช สัตว์ จะดำรงอยู่ได้โดยไม่เปลี่ยนแปลงลักษณะ เมื่อธรรมชาติเปลี่ยนไป แต่เมนเดลค้นพบคำตอบที่ถูกต้อง โดยทดลองกับต้นถั่วลันเตา เป็นพืชที่ไม่มีการสลับสับซ้อนเพราะเมื่อสังเกตลักษณะภายนอกจะพบความแตกต่างง่ายๆ เช่นความสูงของลำต้นมี 2 ขนาด มีลักษณะเมล็ด 2 แบบ
ถั่วลันเตาจึงเหมาะสมแก่การทดลอง
การทดลอง
1. ผสมพันธุ์ถั่วลันเตาที่บริสุทธิ์ทั้งพ่อพันธุ์ แม่พันธุ์
2. นำต้นถั่วต้นสูงเป็นพ่อพันธุ์ หรือแม่พันธุ์ มาผสมกับต้นถั่วพันธ์เตี้ยเป็นพ่อพันธุ์ หรือแม่พันธุ์ เป็นการผสมข้ามต้นต่างลักษณะ
3. นำต้นถั่วพันธุ์ที่ 2 มาผสมพันธุ์กันเอง
สรุปผลการทดลอง
1. ลักษณะที่ควบคุมพันธุกรรมที่ควบคุมความสูงของต้นถั่วมีลักษณะเด่น คือ ลักษณะลำต้นสูง ลักษณะด้อย คือ ลำต้นเตี้ย ลักษณะทางพันธุกรรมของพ่อจะอยู่ในละอองเกสรตัวผู้ ของแม่จะอยู่ในรังไข่ ลักษณะพันธุกรรมถ่ายทอดถึงลูกหลานได้
2. ลักษณะเด่นจะข่มลักษณะด้อยในรุ่นลูก จึงพบรุ่นลูกมีลักษณะเด่นหมด ทั้งนี้ภายในข้อจำกัดพ่อและแม่ ต้องเป็นพันธุ์เด่นแท้และด้อยแท้
3. ในชั่วรุ่นหลาน โดยปล่อยให้รุ่นลูก ผสมพันธุ์กันเองจะได้ลักษณะเด่นต่อลักษณะด้อยในอัตราส่วน 3: 1
แหล่งข้อมูลhttp://www.coconuthead.org/content/%E0%B9%80%E0%B8%81%E0%B8%A3%E0%B9%80%E0%B8%81%E0%B8%AD%E0%B8%A3%E0%B9%8C%E0%B9%82%E0%B8%88%E0%B8%AE%E0%B8%B1%E0%B8%99%E0%B8%99%E0%B9%8C%E0%B9%80%E0%B8%A1%E0%B8%99%E0%B9%80%E0%B8%94%E0%B8%A5-gregor-mendel
http://www.thaigoodview.com/node/4777
แหล่งข้อมูลรูปภาพ
http://202.149.101.227/student_project/cromosome/page1.html

เกรเกอร์ เมนเดล (พ.ศ. 2365-พ.ศ. 2427) บิดาทางพันธุศาสตร์ เกิดที่เมืองไฮน์เซนดรอฟ ประเทศออสเตรีย เป็นบุตรชายคนเดียวในจำนวนพี่น้อง 3 คน ของชาวนายากจนคนหนึ่ง โดยต่อมา เมนเดลได้ไปบวชแล้วได้รับตำแหน่งรับผิดชอบดูแลสวน ในปี พ.ศ. 2390

เกรเกอร์ เมนเดล เผชิญความผิดหวังนับ 20 ปี ที่เขายังคงสอนหนังสือเพื่อชดเชยความผิดหวัง เขาทำงานในสวนของวัดทุกเวลาที่ว่าง ที่นั่นมีพันธุ์พืชมากมาย แต่ละชนิดแตกต่างหลากหลายอย่าง ความแตกต่างนี้ ทำให้เกรเกอร์นึกสงสัย เขาได้ผสมพันธุ์ถั่วเดียวกันและต่างพันธุ์ เป็นจำนวนแตกต่างถึง 22 ชนิดของต้นถั่ว เพื่อศึกษาลักษณะทั้งหมด เป็นเวลารวม 8 ปีเต็มในการทดลองร่วมพันครั้ง พบได้ 3 สิ่ง ดังนี้

สิ่งแรก เมื่อผสมพันธุ์ถั่วชนิดต่างกันสองชนิดผลผลิตต่อมาที่ได้เป็นพันธุ์ชนิดเดียว
ต่อไป เมื่อผสมพันธุ์ต่างชนิดกันของผลผลิตรุ่นแรกรุ่นต่อไปจะมีเมล็ดทั้งสองชนิด ต้นที่มีเมล็ดสีเขียวทุกๆสี่ต้นจะมีสามต้นที่มีเมล็ดสีเหลือง นี่เป็นเพราะว่าหน่วยถ่ายพันธุ์ที่ผลิตเมล็ดสีเหลืองเป็นหน่วยถ่ายพันธุ์ที่เด่น คือ โดมิแนนท์ยีน หน่วยถ่ายพันธุ์ที่ผลิตเมล็ดสีเขียวเรียกว่า รีเซสซีพยีน หรือหน่วยถ่ายพันธุ์ด้อย

สิ่งที่สาม ถ้าหากเขาผสมพันธุ์ถั่วต่างชนิดกันด้วยถั่วสองชนิด หรือมากกว่านั้นที่มีลักษณะแตกต่างกัน เขาจะค้นพบกฎข้อที่สาม สมมติว่าเขาผสมพันธุ์ถั่วที่มีเมล็ดเรียบสีเหลืองกับพันธุ์ถั่วที่มีเมล็ดหยาบสีเขียว รุ่นแรกเมล็ดเรียบสีเหลืองจะเป็นตัวเด่น ในรุ่นต่อไปจะมีอัตราส่วนเมล็ดเรียบสีเหลือง 9 ส่วน ต่อเมล็ดหยาบสีเขียว 3ส่วน เมล็ดหยาบสีเหลือง 1 ส่วน ต่อเมล็ดหยาบสีเขียว 1 ส่วน

ที่มาของข้อมูล : http://th.wikipedia.org/wiki/%E0%B9%80%E0%B8%81%E0%B8%A3%E0%B9%80%E0%B8%...
ที่มาของรูปภาพ : http://th.wikipedia.org/wiki/%E0%B9%84%E0%B8%9F%E0%B8%A5%E0%B9%8C:Gregor...

มหาวิทยาลัยศรีปทุม ผู้ใหญ่ใจดี
 

 ช่วยด้วยครับ
นักเรียนที่สร้างบล็อก กรุณาอย่า
คัดลอกข้อมูลจากเว็บอื่นทั้งหมด
ควรนำมาจากหลายๆ เว็บ แล้ววิเคราะห์ สังเคราะห์ และเขียนขึ้นใหม่
หากคัดลอกทั้งหมด จะถูกดำเนินคดี
ตามกฎหมายจากเจ้าของลิขสิทธิ์
มีโทษทั้งจำคุกและปรับในอัตราสูง

ช่วยกันนะครับ 
ไทยกู๊ดวิวจะได้อยู่นานๆ 
ไม่ถูกปิดเสียก่อน

ขอขอบคุณในความร่วมมือครับ

อ่านรายละเอียด

ด่วน...... ขณะนี้
พระราชบัญญัติลิขสิทธิ์ (ฉบับที่ 2) พ.ศ. 2558 
มีผลบังคับใช้แล้ว 
ขอให้นักเรียนและคุณครูที่ใช้งาน
เว็บ thaigoodview ในการส่งการบ้าน
ระมัดระวังการละเมิดลิขสิทธิ์ด้วย
อ่านรายละเอียดที่นี่ครับ

 

สมาชิกที่ออนไลน์

ขณะนี้มี สมาชิก 0 คน และ ผู้เยี่ยมชม 1018 คน กำลังออนไลน์