• user warning: Table 'cache_filter' is marked as crashed and should be repaired query: SELECT data, created, headers, expire, serialized FROM cache_filter WHERE cid = '3:8cff23d491845f2c96cd0f65215adb5d' in /home/tgv/htdocs/includes/cache.inc on line 27.
  • user warning: Table 'cache_filter' is marked as crashed and should be repaired query: UPDATE cache_filter SET data = '<!--paging_filter--><p>\n<strong><span style=\"color: #0000ff\">งานชิ้นที่ 1</span></strong> บทคัดย่อโครงงานวิทยาศาสตร์\n</p>\n<p>\nให้ระบุสาขาวิชา และเขียนบทคัดย่อโครงงานวิทยาศาสตร์ โดยมีแหล่งที่มาของเอกสารอ้างอิงด้วย\n</p>\n<p>\n<strong>วิธีส่ง</strong> ส่งที่<span style=\"color: #008000\"><strong>แสดงความคิดเห็น</strong>..............นะคะ<img border=\"0\" src=\"/sites/all/modules/tinymce/tinymce/jscripts/tiny_mce/plugins/emotions/images/smiley-wink.gif\" alt=\"Wink\" title=\"Wink\" /></span>\n</p>\n', created = 1714256652, expire = 1714343052, headers = '', serialized = 0 WHERE cid = '3:8cff23d491845f2c96cd0f65215adb5d' in /home/tgv/htdocs/includes/cache.inc on line 112.

ม.5/7 ส่งงานชิ้นที่ 1 วิชาฟิสิกส์พื้นฐานและเพิ่มเติม เทอม 1 ปี 2552 ถึงครูพวงทิพย์ ร.ร.สตรีศรีสุริโยทัย กทม.

รูปภาพของ puangtip

งานชิ้นที่ 1 บทคัดย่อโครงงานวิทยาศาสตร์

ให้ระบุสาขาวิชา และเขียนบทคัดย่อโครงงานวิทยาศาสตร์ โดยมีแหล่งที่มาของเอกสารอ้างอิงด้วย

วิธีส่ง ส่งที่แสดงความคิดเห็น..............นะคะWink

เค้าโครงงานวิทยาศาสตร์ (แก้ไข)
สาขาวิชา ฟิสิกส์

ชื่อโครงงานวิทยาศาสตร์
เครื่องส่งกลิ่นไล่ยุง

คณะผู้จัดทำโครงงานวิทยาศาสตร์
1. น.ส. นัสรีน เอกชน ชั้น ม.5/7 เลขที่ 40
2. น.ส. วรางคณา มงคลรัตน์ ชั้น ม.5/7 เลขที่ 41
3. น.ส. ปิยวรรณ ครองมิ่งมงคล ชั้น ม.5/7 เลขที่ 42
4. น.ส. วรรณธิดา นาคเกษม ชั้น ม.5/7 เลขที่ 43

ชื่อครูที่ปรึกษาโครงงาน
อ.พวงทิพย์ วีระณรงค์ อาจารย์ผู้สอนวิชา ฟิสิกส์
อ.กุลรณี อารีมิตร อาจารย์ผู้สอนวิชา เคมี
อ.สมบูรณ์ กมลาสนากูร อาจารย์ผู้สอนวิชา ชีววิทยา
อ.สมชาย น่วมกลิ่น อาจารย์ผู้สอนวิชา การงานอาชีพและเทคโนโลยี

ที่มาและความสำคัญของโครงงานวิทยาศาสตร์
เนื่องจากประเทศไทยเป็นประเทศในเขตร้อนชื้น ทำให้มียุงชุมมาก ซึ่งยุงเป็นสาเหตุที่นำมาซึ่งหลายๆโรค อาทิเช่น โรคไข้เลือดออก โรคไข้มาลาเรีย และโรคเท้าช้าง และในแต่ละปีประชากรในประเทศก็เป็นโรคจากยุงที่เป็นพาหะจำนวนมาก ซึ่งโรคเหล่านี้มีความเป็นอันตรายและเป็นอันตรายถึงชีวิต กลุ่มของข้าพเจ้าจึงคิดเครื่องส่งกลิ่นไล่ยุงนี้ขึ้นมา โดยใช้สมุนไพรไทยเป็นส่วนประกอบและใช้วัสดุที่หาได้ง่ายและสามารถประดิษฐ์ขึ้นใช้เองได้ในครัวเรือน เครื่องส่งกลิ่นไล่ยุงนี้จะส่งกลิ่นแผ่ขยายออกไปเป็นบริเวณกว้าง ทำให้ลดการเสี่ยงต่อการถูกยุงกัดและลดการเสี่ยงต่อการเป็นโรคที่ยุงเป็นพาหะ

วัตถุประสงค์ของการทำโครงงานวิทยาศาสตร์
1. เพื่อศึกษาวงจรไฟฟ้าและอุปกรณ์อิเล็กทรอนิกส์
2. เพื่อประดิษฐ์อุปกรณ์ส่งกลิ่นไล่ยุง
3. เพื่อฝึกทักษะการทำโครงงานวิทยาศาสตร์
4. เพื่อลดการระบาดของโรคที่เกิดจากยุงเป็นพาหะ
5. เพื่อเป็นการประยุกต์ใช้สิ่งของที่หาได้ในท้องถิ่นมาทำให้เกิดประโยชน์สูงสุด

วิธีดำเนินการ
1. แบ่งกลุ่ม กำหนดปัญหา และเลือกหัวข้อโครงงาน
2. ศึกษาค้นคว้าเอกสารที่เกี่ยวข้อง
3. เขียนเค้าโครงงาน
4. ออกแบบเครื่องส่งกลิ่นไล่ยุง
5. จัดเตรียมวัสดุอุปกรณ์เพื่อประดิษฐ์เครื่องส่งกลิ่นไล่ยุง
6. ลงมือประดิษฐ์
7. ทดสอบประสิทธิภาพของเครื่องส่งกลิ่นไล่ยุง
8. แก้ไข ปรับปรุงผลงาน
9. จัดทำรูปเล่มรายงานสรุป และบอร์ดแสดงโครงงาน
10. ส่งโครงงาน

แผนการกำหนดเวลาปฏิบัติงาน
14-19/5/52 ประชุม กำหนดปัญหา เลือกหัวข้อโครงงาน และเสนอเค้าโครงงานให้อาจารย์ที่ปรึกษาโครงงาน
21/5/52 เขียนเค้าโครงงานและส่ง
22-23/5/52 ศึกษาอุปกรณ์อิเล็กทรอนิกส์ที่เกี่ยวข้องและจัดซื้ออุปกรณ์ต่างๆ
1-5/6/52 ศึกษาการต่อวงจรไฟฟ้าและคุณสมบัติของสมุนไพร
6-19/6/52 ลงมือประดิษฐ์ เครื่องส่งกลิ่นไล่ยุง
20-26/6/52 ทดสอบประสิทธิภาพการทำงานครั้งที่ 1 แก้ไขผลงาน
27-30/6/52 สรุปผลการทดสอบประสิทธิภาพ จัดทำรายงานและบอร์ดแสดงผลงาน
30-2/7/2552 ตรวจเช็คความเรียบร้อยทั้งหมดของโครงงาน รวมยอดรายจ่าย และประเมินผล
18/8/2552 จัดแสดงผลงานในงานสัปดาห์วันวิทยาศาสตร์ของโรงเรียน
(*ตารางอาจมีการเปลี่ยนแปลงได้)

ประโยชน์หรือผลที่คาดว่าจะได้รับ
1. เกิดความรู้ความเข้าใจในเรื่องของวงจรไฟฟ้า
2. เกิดความรู้ความเข้าใจในคุณสมบัติของสมุนไพร
3. ได้เครื่องส่งกลิ่นไล่ยุงที่ประดิษฐ์โดยใช้วัสดุที่หาได้ในท้องถิ่น และสามารถทำงานได้จริง
3. เกิดทักษะการทำโครงงานวิทยาศาสตร์

เอกสารอ้างอิง
http://203.158.184.2/elearning/HeatMassTransfer/unit104.htm

เค้าโครงงานวิทยาศาสตร์ (แก้ไข)
สาขาวิชา ฟิสิกส์

ชื่อโครงงานวิทยาศาสตร์
เครื่องส่งกลิ่นไล่ยุง

คณะผู้จัดทำโครงงานวิทยาศาสตร์
1. น.ส. นัสรีน เอกชน ชั้น ม.5/7 เลขที่ 40
2. น.ส. วรางคณา มงคลรัตน์ ชั้น ม.5/7 เลขที่ 41
3. น.ส. ปิยวรรณ ครองมิ่งมงคล ชั้น ม.5/7 เลขที่ 42
4. น.ส. วรรณธิดา นาคเกษม ชั้น ม.5/7 เลขที่ 43

ชื่อครูที่ปรึกษาโครงงาน
อ.พวงทิพย์ วีระณรงค์ อาจารย์ผู้สอนวิชา ฟิสิกส์
อ.กุลรณี อารีมิตร อาจารย์ผู้สอนวิชา เคมี
อ.สมบูรณ์ กมลาสนากูร อาจารย์ผู้สอนวิชา ชีววิทยา
อ.สมชาย น่วมกลิ่น อาจารย์ผู้สอนวิชา การงานอาชีพและเทคโนโลยี

ที่มาและความสำคัญของโครงงานวิทยาศาสตร์
เนื่องจากประเทศไทยเป็นประเทศในเขตร้อนชื้น ทำให้มียุงชุมมาก ซึ่งยุงเป็นสาเหตุที่นำมาซึ่งหลายๆโรค อาทิเช่น โรคไข้เลือดออก โรคไข้มาลาเรีย และโรคเท้าช้าง และในแต่ละปีประชากรในประเทศก็เป็นโรคจากยุงที่เป็นพาหะจำนวนมาก ซึ่งโรคเหล่านี้มีความเป็นอันตรายและเป็นอันตรายถึงชีวิต กลุ่มของข้าพเจ้าจึงคิดเครื่องส่งกลิ่นไล่ยุงนี้ขึ้นมา โดยใช้สมุนไพรไทยเป็นส่วนประกอบและใช้วัสดุที่หาได้ง่ายและสามารถประดิษฐ์ขึ้นใช้เองได้ในครัวเรือน เครื่องส่งกลิ่นไล่ยุงนี้จะส่งกลิ่นแผ่ขยายออกไปเป็นบริเวณกว้าง ทำให้ลดการเสี่ยงต่อการถูกยุงกัดและลดการเสี่ยงต่อการเป็นโรคที่ยุงเป็นพาหะ

วัตถุประสงค์ของการทำโครงงานวิทยาศาสตร์
1. เพื่อศึกษาวงจรไฟฟ้าและอุปกรณ์อิเล็กทรอนิกส์
2. เพื่อประดิษฐ์อุปกรณ์ส่งกลิ่นไล่ยุง
3. เพื่อฝึกทักษะการทำโครงงานวิทยาศาสตร์
4. เพื่อลดการระบาดของโรคที่เกิดจากยุงเป็นพาหะ
5. เพื่อเป็นการประยุกต์ใช้สิ่งของที่หาได้ในท้องถิ่นมาทำให้เกิดประโยชน์สูงสุด

วิธีดำเนินการ
1. แบ่งกลุ่ม กำหนดปัญหา และเลือกหัวข้อโครงงาน
2. ศึกษาค้นคว้าเอกสารที่เกี่ยวข้อง
3. เขียนเค้าโครงงาน
4. ออกแบบเครื่องส่งกลิ่นไล่ยุง
5. จัดเตรียมวัสดุอุปกรณ์เพื่อประดิษฐ์เครื่องส่งกลิ่นไล่ยุง
6. ลงมือประดิษฐ์
7. ทดสอบประสิทธิภาพของเครื่องส่งกลิ่นไล่ยุง
8. แก้ไข ปรับปรุงผลงาน
9. จัดทำรูปเล่มรายงานสรุป และบอร์ดแสดงโครงงาน
10. ส่งโครงงาน

แผนการกำหนดเวลาปฏิบัติงาน
14-19/5/52 ประชุม กำหนดปัญหา เลือกหัวข้อโครงงาน และเสนอเค้าโครงงานให้อาจารย์ที่ปรึกษาโครงงาน
21/5/52 เขียนเค้าโครงงานและส่ง
22-23/5/52 ศึกษาอุปกรณ์อิเล็กทรอนิกส์ที่เกี่ยวข้องและจัดซื้ออุปกรณ์ต่างๆ
1-5/6/52 ศึกษาการต่อวงจรไฟฟ้าและคุณสมบัติของสมุนไพร
6-19/6/52 ลงมือประดิษฐ์ เครื่องส่งกลิ่นไล่ยุง
20-26/6/52 ทดสอบประสิทธิภาพการทำงานครั้งที่ 1 แก้ไขผลงาน
27-30/6/52 สรุปผลการทดสอบประสิทธิภาพ จัดทำรายงานและบอร์ดแสดงผลงาน
30-2/7/2552 ตรวจเช็คความเรียบร้อยทั้งหมดของโครงงาน รวมยอดรายจ่าย และประเมินผล
18/8/2552 จัดแสดงผลงานในงานสัปดาห์วันวิทยาศาสตร์ของโรงเรียน
(*ตารางอาจมีการเปลี่ยนแปลงได้)

ประโยชน์หรือผลที่คาดว่าจะได้รับ
1. เกิดความรู้ความเข้าใจในเรื่องของวงจรไฟฟ้า
2. เกิดความรู้ความเข้าใจในคุณสมบัติของสมุนไพร
3. ได้เครื่องส่งกลิ่นไล่ยุงที่ประดิษฐ์โดยใช้วัสดุที่หาได้ในท้องถิ่น และสามารถทำงานได้จริง
3. เกิดทักษะการทำโครงงานวิทยาศาสตร์

เอกสารอ้างอิง
http://www.skn.ac.th/skl/skn42/phy67/heat2.htm

http://www.ipst.ac.th/Activity_PrimarySci/science-m/sci-05.html
http://elib.ipst.ac.th/elib/cgi-bin/opacexe.exe?op=dsp&wa=E428BA&bid=174...

ชื่อโครงงาน : เครื่องส่งกลิ่นไล่ยุง โรงเรียนสตรีศรีสุริโยทัย

ชื่อผู้ทำโครงงาน : น.ส. นัสรีน เอกชน ชั้น ม.5/7 เลขที่ 40
น.ส. วรางคณา มงคลรัตน์ ชั้น ม.5/7 เลขที่ 41
น.ส. ปิยวรรณ ครองมิ่งมงคล ชั้น ม.5/7 เลขที่ 42
น.ส. วรรณธิดา นาคเกษม ชั้น ม.5/7 เลขที่ 43

ชื่อที่ปรึกษาโครงงาน : อ. พวงทิพย์ วีระณรงค์
อ.สมบูรณ์
อ.กุลณี

ที่มาและความสำคัญของโครงงาน/ความเป็นมา : ที่กลุ่มของข้าพเจ้าจัดทำโครงงานนี้เพราะฤดูฝนเป็นฤดูที่มียุงชุมมาก ทำให้เกิดโรคระบาดจากยุง กลุ่มข้าพเจ้าจึงประดิษฐ์เครื่องส่งกลิ่นไล่ยุงเพื่อใช้เป็นประโยชน์ในภาย หน้า

วัตถุประสงค์ของการศึกษาค้นคว้า/เป้าหมาย : เครื่องส่งกลิ่นไล่ยุงจะมีกลิ่นกระจายไปในบริเวณที่กว้างขวาง และจะไม่มียุงในบริเวณดังกล่าว

วิธีดำเนินงาน :
1.คิดและตั้งชื่อโครงงาน
2.วิธีดำเนินงาน
3.หาข้อมูล
4.ประดิษฐ์เครื่องส่งกลิ่นไล่ยุง
5.ทดสอบการใช้งาน
6.สรุปผล

แผนการดำเนินงาน : 25-29 พ.ค.2552 คิดโครงงานและวิธีทำอุปกรณ์รวมถึงหาข้อมูลให้ครบ
30พ.ค.-16มิ.ย. 2552 ดำเนินงาน ประดิษฐ์เครื่องส่งกลิ่นไล่ยุง
17-19 มิ.ย. 2552 ทดลองงานและปรับปรุง
22-25 มิ.ย. 2552 ทดลองอีกครั้ง
26 มิ.ย. 2552 สรุปผล

ผลที่คาดว่าจะได้รับ : ลดการถูกรบกวนจากยุงซึ่งเป็นสาเหตุที่นำมาซึ่งโรคระบาด
เอกสารอ้างอิง : http://www.skn.ac.th/skl/skn42/phy67/heat2.htm

อโครงงาน : สีเพ้นท์จากธรรมชาติ
ประเภท : เคมี
ระดับชั้น : มัธยมศึกษาปีที่ 5
ชื่อผู้ทำโครงงาน : ศาลา อันเน (6) มนัสชนก (18) นภัสชนก (28) ธิติยา(30)
ชื่อที่ปรึกษาโครงงาน : อ.กุลณี
อ.สมบูรณ์
อ. พวงทิพย์ วีระณรงค์

ที่มาและความสำคัญของโครงงาน/ความเป็นมา : ในปัจจุบันสีเพ้นท์ภาพ ตามท้องตลาดมีราคาสูง หาซื้อได้ยาก และเป็นสีที่สังเคราะห์ขึ้น ทำให้เป็นอันตรายต่อสุขภาพ กลุ่มของข้าพเจ้าจึงคิดว่า ทำอย่างไรให้สีเพ้นท์มีราคาถูก ไม่เป็นอันตรายสู่สุขภาพ สามารถหาได้จากธรรมชาติ มีสีสันสวยงามสดใส
วัตถุประสงค์ของการศึกษาค้นคว้า/เป้าหมาย : 1.เพื่อศึกษาเปรียบเทียบประสิทธิ์ภาพของสีเพ้นท์ภาพที่ผลิตขึ้นกับสีเพ้นท์ภาพที่ขายตามท้องตลาด
2.เพื่อลดค่าใช้จ่ายในการซื้อสี
3.เพื่อส่งเสริมภูมิปัญญาท้องถิ่น
สมมติฐาน : สีเพ้นท์ที่ผลิตขึ้น ช่วยลดค่าใช้จ่าย และมีสีสันสวยงามเป็นธรรมชาติ
วิธีดำเนินงาน :
1.คิดและตั้งชื่อโครงงาน
2.วิธีดำเนินงาน
3.หาข้อมูล
4.ทดสอบหาส่วนผสมที่เหมาะสม
5.ทดสอบการใช้งาน
6.สรุปผล
แผนการดำเนินงาน : 25-30 พ.ค.2552 คิดโครงงานและวิธีทำอุปกรณ์รวมถึงหาข้อมูลให้ครบ
30พ.ค.-20มิ.ย. 2552 ดำเนินงาน
20-25 มิ.ย. 2552 ทดลองงานและปรับปรุง
26-27 มิ.ย. 2552 ทดลองอีกครั้ง
30 มิ.ย. 2552 สรุปผลการทดลอง
1-3 ก.ค. 2552 ทำแผนการเสนอโครงงาน
30 ก.ค. ส่งโครงงาน

รูปภาพของ puangtip

Winkครูคิดว่าน่าสนใจนะ แต่จะได้ผลดีเท่าสีที่ขายหรือไม่เพียงใดต้องทดสอบให้เห็นด้วยดีไหม?

ยินดีที่พบกัน.......ครู พวงทิพย์ วีระณรงค์ โรงเรียนสตรีศรีสุริโยทัย

(แก้ไข)
สาขาวิชา เคมี
ชื่อโครงงานวิทยาศาสตร์ : น้ำยาล้างจานกำจัดแมลง
คณะผู้จัดทำโครงงานวิทยาศาสตร์ :
1. นางสาวชัชชญา ธนดำรงเลิศ ม.5/7 เลขที่ 4
2. นางสาววรวรรณ ทองแผ่น ม.5/7 เลขที่ 7
3. นางสาวแก้วกาญจน์ ตติยะพงษ์เผ่าพันธุ์ ม.5/7 เลขที่ 16
ชื่อครูที่ปรึกษาโครงงาน :
อ.สมบูรณ์ กมลาสนากูร
อ.พวงทิพย์ วีระณรงค์
อ.กุลรณี อารีมิตร
ที่มาและความสำคัญของโครงงานวิทยาศาสตร์ :
เนื่องจากในปัจจุบันมนุษย์ได้คิดค้นผลิตภัณฑ์กำจัดแมลงหลากหลายรูปแบบ ซึ่งในผลิตภัณฑ์เหล่านั้นล้วนแล้วแต่ประกอบด้วยสารเคมีที่เป็นอันตรายต่อสุขภาพและร่างกายทั้งสิ้น แต่เพราะความสะดวกสบายและประสิทธิภาพของสารเคมีในผลิตภัณฑ์ทำให้มนุษย์เลือก ใช้ผลิตภัณฑ์ที่ประกอบด้วยสารเคมีมากกว่าผลิตภัณฑ์ที่สกัดจากธรรมชาติที่ทั้งประหยัดค่าใช้จ่ายและไม่มีสารตกค้างภายในร่างกายซึ่งก่อให้เกิดอันตรายต่อผู้ใช้ ทางคณะผู้จัดทำจึงได้เล็งเห็นว่า เราควรนำสิ่งที่ใกล้ตัวในชีวิตประจำวันมาใช้ให้เกิดประโยชน์สูงสุด และสิ่งใกล้ตัวนั้นที่ทางคณะผู้จัดทำเล็งเห็นว่าเป็นประโยชน์มากคือ “น้ำยาล้างจาน” ซึ่งน้ำยาล้างจานนี้สามารถที่จะกำจัดแมลงต่างๆได้และไม่เกิดผลอันตรายต่อสุขภาพร่างกายของผู้ใช้อีกด้วย และปริมาณอัตราส่วนในการผสมน้ำยาล้างจานจะมีผลต่อแมลงมากน้อยเพียงใดเราจะสามารถทราบได้จากการทำโครงงานชิ้นนี้

วัตถุประสงค์ของการทำโครงงานวิทยาศาสตร์
1. เพื่อศึกษาปริมาณมากหรือน้อยของน้ำยาล้างจานกับน้ำจะมีผลต่อแมลงมากน้อยหรือไม่
2 .เพื่อฝึกทักษะการทำโครงงานวิทยาศาสตร์
วิธีดำเนินการ
1. ศึกษาค้นคว้าหาโครงงานที่จะศึกษา
2. สมาชิกในกลุ่มเสนอโครงงานที่จะทำแล้วตัดสินใจ
3. เขียนเค้าโครงโครงงาน และหาข้อมูล
4. นำเสนออาจารย์ให้พิจารณาว่าผ่านหรือไม่
5. ศึกษาวิธีการทดลอง
6. ศึกษาเกี่ยวกับวิธีการทดลอง
7. สมาชิกภายในกลุ่มช่วยกันทำการทดลอง
8. บันทึกผลการทดลอง
9. รวบรวมและเรียบเรียงข้อมูล
10. สรุปผลการทดลอง
11. จัดทำเป็นรายงานนำเสนออาจารย์

แผนการดำเนินงาน : 1 - 3 ก.ค. 2552 คิดโครงงานและวิธีทำอุปกรณ์รวมถึงหาข้อมูลให้ครบ
1 มิ.ย. - 12 มิ.ย. 2552 -- ศึกษาโครงงานต่างๆ หาข้อมูล และสรุปว่าจะทำโครงงานอะไร
15 มิ.ย. – 19 มิ.ย. 2552 -- ศึกษาการวิธีทำการทดลอง และทำการทดลองพร้อมทั้งสรุปผล
22 มิ.ย. – 30 มิ.ย. 2552 -- แก้ไข และปรับปรุงการทดลอง รวมทั้งรายงาน
1 ส.ค. – 5 ส.ค. 2552 -- จัดทำรายงานและโครงงาน รวมทั้งบอร์ด พร้อมแสดง
6 ส.ค. – 11 ส.ค. 2552 -- แก้ไขข้อผิดพลาดของโครงงาน และนำเสนออาจารย์

ประโยชน์หรือผลที่คาดว่าจะได้รับ
1. สามารถกำจัดแมลงได้โดยประหยัดและไม่เป็นอันตรายต่อตัวเรา
2. สามารถรู้ถึงปริมาณของน้ำยาล้างจานที่จะมีผลต่อแมลง
3. สามารถนำสิ่งประดิษฐ์นี้ไปใช้ได้จริง และเกิดประโยชน์สูงสุด

เอกสารอ้างอิง
http://th.wikipedia.org/wiki/%E0%B8%99%E0%B9%89%E0%B8%B3%E0%B8%A2%E0%B8%...
http://www.siaminfobiz.com/forum/index.php?topic=99.0
http://www.chivavithee.net/modules.php?file=article&name=News&sid=66

รูปภาพของ puangtip

Wink..ถ้าทำได้จริงก็ดีนะ..ครูจะได้เอาไปกำจัดแมงกะจั๊วที่บ้าน

ยินดีที่พบกัน.......ครู พวงทิพย์ วีระณรงค์ โรงเรียนสตรีศรีสุริโยทัย

เขียนโดย เค้าโครงงานวิทยาศาสตร์ (แก้ไข)
สาขาวิชา ชีววิทยา
ชื่อโครงงานวิทยาศาสตร์ : สนามแม่เหล็ก ทำให้กล้วยสุกช้าจริงหรือเปล่า

คณะผู้จัดทำโครงงานวิทยาศาสตร์ :
1. นางสาวภัทรภร โชคบุญเปี่ยม ม.5/7 เลขที่ 3
2. นางสาวรุจิวรรณ ลิขิตรุ่งเรือง ม.5/7 เลขที่ 15
3. นางสาวพรรณวดี จันทระโยธา ม.5/7 เลขที่ 21
4. นางสาวชลัยรัตน์ ชูเชิดเลิศสิริกุล ม.5/7 เลขที่ 31

ชื่อครูที่ปรึกษาโครงงาน :
อ.สมบูรณ์ กมลาสนากูร
อ.พวงทิพย์ วีระณรงค์
อ.กุลรณี อารีมิตร

ที่มาและความสำคัญของโครงงานวิทยาศาสตร์ :
ในปัจจุบันประเทศไทยมีการส่งออกผลไม้ไปขายในต่างประเทศเป็นจำนวนมาก เช่น ทุเรียน, มังคุด ,ส้ม ฯลฯ และหนึ่งในนั้นก็มีกล้วยหอม แต่ในการเดินทางต้องใช้เวลานาน อาจจะทำให้ผลไม้บางส่วนเสียหาย เพราะอาจทำให้มีราครตกลง จึงมีการใช้ โคบอลต์-60 ในการยืดอายุของผลไม้ออกไป ทำให้ผลไม้คงอยู่ได้นาน แต่อาจมีผลเสีย ผลเสีย คือ โคบอลต์-60 มีค่าครึ่งชีวิตที่ยังสลายไม่หมด ทำให้รังสีตกค้าง และเมื่อรับประทานเข้าไปแล้ว อาจทำให้มีผลเสียต่อร่างกาย ซึ่งกลุ่มของข้าพเจ้า ก็ได้จัดทำโครงงานนี้ขึ้นมา ซึ่งไม่มีสิ่งตกค้างและปนเปื้อน แต่ก็ยังคงรักษาให้ผลไม้คงอยู่ได้นาน

วัตถุประสงค์ของการทำโครงงานวิทยาศาสตร์
1. เพื่อศึกษพลังงานจากสนามแม่เหล็กช่วยในการถนอนอาหารหรือไม่
2 .เพื่อฝึกทักษะการทำโครงงานวิทยาศาสตร์

วิธีดำเนินการ
1. ศึกษาค้นคว้าเกี่ยวกับโครงงานในรูปแบบต่างๆ
2.ให้สมาชิกในกลุ่มเสนอโครงงานตนเองให้การสนใจ แล้วตัดสินใจว่าจะทำโครงงานอะไร
3.นำเสนออาจาย์ให้พิจารณาว่าผ่านหรือไม่
4.ช่วยกันหาเนื้อหาและอุปกรณ์การทดลอง
5.ศึกษาเกี่ยวกับวิธีการทดลอง
6.มอบหมายให้สมาชิกภายในกลุ่มทำการทดลองคนและหนึ่งแบบ พร้อมจดบันทึก
7.รวบรวมและเรียบเรียงข้อมูลให้เป็นขั้นตอน
8.สรุปผลการทดลอง
9.จัดทำเป็นรายงานนำเสนออาจารย์

แผนการดำเนินงาน : 27-31 พ.ค.2552 คิดโครงงานและวิธีทำอุปกรณ์รวมถึงหาข้อมูลให้ครบ
1มิ.ย.-15มิ.ย. 2552ทำอุปกรณ์และทดสอบ
16-30 มิ.ย.- 2552 ทดลองงานและปรับปรุง
1-6 ส.ค. 2552 ทดลองอีกครั้ง
7-8 ส.ค. 2552 สรุปผลและทำรูปเล่มรายงาน
9-11ส.ค 2552 จัดทำบอร์ดและรูปเล่มให้เสร็จ

ประโยชน์หรือผลที่คาดว่าจะได้รับ
1. เกิดความรู้ความเข้าใจในพลังงานของกระแสแม่เหล็ก
2. สามารถประหยัดพลังงาน รักษาสิ่งแวดล้อม
3. สามารถนำสิ่งประดิษฐ์นี้ไปใช้ได้จริง และเกิดประโยชน์สูงสุด

เอกสารอ้างอิง
http://www.oknation.net/blog/PunchBerry/2009/01/09/entry-1
http://www.foodsciencetoday.com/viewTopicFrom.php?id=109

รูปภาพของ puangtip

Undecided..จำเป็ต้องหาข้อมูลพื้นฐานยืนยันด้วยนะ ว่าสนามแม่เหล็กมีอิทธิพลทั่วไปอย่างไรต่อพืช จึงทำให้นักเรียนนำมาศึกษาต่อ

ยินดีที่พบกัน.......ครู พวงทิพย์ วีระณรงค์ โรงเรียนสตรีศรีสุริโยทัย

เค้าโครงงานวิทยาศาสตร์ (แก้ไข)
สาขาวิชา ฟิสิกส์
ชื่อโครงงานวิทยาศาสตร์
Shake it !! เขย่าสะท้านโลก
คณะผู้จัดทำโครงงานวิทยาศาสตร์
1. นางสาวกรภัสสร สันธนะจิตร ม.5/7 เลขที่ 2
2. นางสาวภาณวี ฉัตรค้ำจุนเจริญ ม.5/7 เลขที่ 11
3. นางสาวสิริลักษณ์ ธิติสิริเวช ม.5/7 เลขที่ 13
4. นางสาวพรภัสสร เลิศผดุงกิจ ม.5/7 เลขที่ 20
ชื่อครูที่ปรึกษาโครงงาน
อ.พวงทิพย์ วีระณรงค์
อ.กุลรณี อารีมิตร
อ.สมบูรณ์ กมลาสนางกูร

ที่มาและความสำคัญของโครงงานวิทยาศาสตร์
ในปัจจุบัน เนื่องจากสภาพอากาศได้เปลี่ยนแปลงไปอย่างรวดเร็ว อย่างปัญหาที่ประสบอยู่ตอนนี้ คือ ภาวะโลกร้อน ผู้คนส่วนใหญ่จึงหาสิ่งที่ช่วยคลายร้อนให้กับตัวเอง อย่างเช่น พัดลม และปัจจุบันก็มีผู้คิดค้นพัดลมที่สามารถพกพาได้สะดวกแล้ว แต่ปริมาณการใช้ถ่านไฟฉายก็มากขึ้นเช่นกัน ถ่านไฟฉายนี้กำจัดได้ยาก และถ้าเก็บไว้นานๆ ก็จะมีสารพิษที่เป็นอันตรายต่อร่างกาย ซึ่งไม่เป็นผลดีเลย เราจึงได้คิดสิ่งประดิษฐ์ที่สามารถลดปัญหาเหล่านั้นได้ และยังถือเป็นการประหยัดพลังงาน และช่วยชาติไปในตัว คือ ลดมลภาวะทางสิ่งแวดล้อม ลดค่าใช้จ่าย และได้สร้างเสริมสุขภาพทางกล้ามเนื้อ (ไบรเซฟ , ไตรเซฟ) เพียงแค่หยิบมันขึ้นมาแล้วเขย่า โดยพวกเราใช้ชื่อสิ่งประดิษฐ์นี้ว่า “Shake it !! เขย่าสะท้านโลก” โดยสิ่งประดิษฐ์นี้ สามารถผลิตกระแสไฟฟ้าได้เองโดยการให้แท่งแม่เหล็กเคลื่อนที่ผ่านขดลวดทองแดง ตามหลักทฤษฎีของไมเคิล ฟาราเดย์ ว่า” เมื่อกระแสไฟฟ้าเดินไปตามสายลวด จะทำให้เกิดอำนาจแม่เหล็ก” แล้วจะเกิดกระแสไฟฟ้าเหนี่ยวนำ และนำไปเก็บไว้ในแบตเตอรี่แห้งเพื่อให้พร้อมที่จะใช้งานได้ตลอดเวลา
วัตถุประสงค์ของการทำโครงงานวิทยาศาสตร์
1. เพื่อศึกษาทฤษฎีของไมเคิล ฟาราเดย์
2. เพื่อประหยัดพลังงาน ลดปริมาณขยะ รักษาสิ่งแวดล้อม และสร้างเสริมสุขภาพ
3. เพื่อฝึกทักษะการทำโครงงานวิทยาศาสตร์
วิธีดำเนินการ
1. แบ่งกลุ่ม กำหนดปัญหา และเลือกหัวข้อโครงงาน
2. ศึกษาค้นคว้าเอกสารที่เกี่ยวข้อง
3. เขียนเค้าโครงงาน
4. ออกแบบอุปกรณ์เตือนภัย
5. จัดเตรียมวัสดุอุปกรณ์
6. ลงมือประดิษฐ์
7. ทดสอบประสิทธิภาพของพัดลม และบันทึกผล
8. แก้ไข ปรับปรุงผลงาน
9. จัดทำรูปเล่มรายงานสรุป และบอร์ดแสดงโครงงาน
10. ส่งโครงงาน
แผนการกำหนดเวลาปฏิบัติงาน
14-19/5/52 ประชุม กำหนดปัญหา เลือกหัวข้อโครงงาน และเสนอเค้าโครงงานให้อาจารย์ที่ปรึกษาโครงงาน
21/5/52 เขียนเค้าโครงงานและส่ง
22-23/5/52 ศึกษาอุปกรณ์อิเล็กทรอนิกส์ที่เกี่ยวข้องและจัดซื้ออุปกรณ์ต่างๆ
1-5/6/52 ศึกษาการต่อวงจร
6-12/6/52 ลงมือประดิษฐ์ Shake it !!
13-19/6/52 ทดสอบประสิทธิภาพการทำงานครั้งที่ 1 แก้ไขผลงาน
20-26/6/52 ทดสอบประสิทธิภาพการทำงานครั้งที่ 2 แก้ไขผลงาน
27-30/6/52 สรุปผลการทดสอบประสิทธิภาพ จัดทำรายงานและบอร์ดแสดงผลงาน
30-2/7/2552 ตรวจเช็คความเรียบร้อยทั้งหมดของโครงงาน รวมยอดรายจ่าย และประเมินผล
18/8/2552 จัดแสดงผลงานในงานสัปดาห์วันวิทยาศาสตร์ของโรงเรียน
*ตารางอาจมีการเปลี่ยนแปลงได้
ประโยชน์หรือผลที่คาดว่าจะได้รับ
1. เกิดความรู้ความเข้าใจในทฤษฎีของไมเคิล ฟาราเดย์
2. สามารถประหยัดพลังงาน ลดปริมาณขยะ รักษาสิ่งแวดล้อม และสร้างเสริมสุขภาพได้จริง
3. สามารถนำสิ่งประดิษฐ์นี้ไปใช้ได้จริง และเกิดประโยชน์สูงสุด
เอกสารอ้างอิง
www.toryod.com

รูปภาพของ puangtip

Frown..ดูเหมือนมีคนทำขายแล้นาค้า

ยินดีที่พบกัน.......ครู พวงทิพย์ วีระณรงค์ โรงเรียนสตรีศรีสุริโยทัย

สาขาวิชา ฟิสิกส์

ชื่อโครงงานวิทยาศาสตร์ : Shake it !! เขย่าสะท้านโลก

คณะผู้จัดทำโครงงานวิทยาศาสตร์ :
1. นางสาวกรภัสสร สันธนะจิตร ม.5/7 เลขที่ 2
2. นางสาวภาณวี ฉัตรค้ำจุนเจริญ ม.5/7 เลขที่ 11
3. นางสาวสิริลักษณ์ ธิติสิริเวช ม.5/7 เลขที่ 13
4. นางสาวพรภัสสร เลิศผดุงกิจ ม.5/7 เลขที่ 20

ชื่อครูที่ปรึกษาโครงงาน :
อ.พวงทิพย์ วีระณรงค์
อ.กุลรณี อารีมิตร
อ.สมบูรณ์ กมลาสนากูร
อ.สมชาย น่วมกลิ่น

ที่มาและความสำคัญของโครงงานวิทยาศาสตร์ :
ในปัจจุบัน เนื่องจากสภาพอากาศได้เปลี่ยนแปลงไปอย่างรวดเร็ว อย่างปัญหาที่ประสบอยู่ตอนนี้ คือ ภาวะโลกร้อน ผู้คนส่วนใหญ่จึงหาสิ่งที่ช่วยคลายร้อนให้กับตัวเอง อย่างเช่น พัดลม และปัจจุบันก็มีผู้คิดค้นพัดลมที่สามารถพกพาได้สะดวกแล้ว แต่ปริมาณการใช้ถ่านไฟฉายก็มากขึ้นเช่นกัน ถ่านไฟฉายนี้กำจัดได้ยาก และถ้าเก็บไว้นานๆ ก็จะมีสารพิษที่เป็นอันตรายต่อร่างกาย ซึ่งไม่เป็นผลดีเลย เราจึงได้คิดสิ่งประดิษฐ์ที่สามารถลดปัญหาเหล่านั้นได้ และยังถือเป็นการประหยัดพลังงาน และช่วยชาติไปในตัว คือ ลดมลภาวะทางสิ่งแวดล้อม ลดค่าใช้จ่าย และได้สร้างเสริมสุขภาพทางกล้ามเนื้อ (ไบรเซฟ , ไตรเซฟ) เพียงแค่หยิบมันขึ้นมาแล้วเขย่า โดยพวกเราใช้ชื่อสิ่งประดิษฐ์นี้ว่า “Shake it !! เขย่าสะท้านโลก” โดยสิ่งประดิษฐ์นี้ สามารถผลิตกระแสไฟฟ้าได้เองโดยการให้แท่งแม่เหล็กเคลื่อนที่ผ่านขดลวดทองแดง ตามหลักทฤษฎีของไมเคิล ฟาราเดย์ ว่า” เมื่อกระแสไฟฟ้าเดินไปตามสายลวด จะทำให้เกิดอำนาจแม่เหล็ก” แล้วจะเกิดกระแสไฟฟ้าเหนี่ยวนำ และนำไปเก็บไว้ในแบตเตอรี่แห้งเพื่อให้พร้อมที่จะใช้งานได้ตลอดเวลา

วัตถุประสงค์ของการทำโครงงานวิทยาศาสตร์
1. เพื่อศึกษาทฤษฎีของไมเคิล ฟาราเดย์
2. เพื่อประหยัดพลังงาน ลดปริมาณขยะ รักษาสิ่งแวดล้อม และสร้างเสริมสุขภาพ
3. เพื่อฝึกทักษะการทำโครงงานวิทยาศาสตร์

วิธีดำเนินการ
1. แบ่งกลุ่ม กำหนดปัญหา และเลือกหัวข้อโครงงาน
2. ศึกษาค้นคว้าเอกสารที่เกี่ยวข้อง
3. เขียนเค้าโครงงาน
4. ออกแบบอุปกรณ์เตือนภัย
5. จัดเตรียมวัสดุอุปกรณ์เพื่อประดิษฐ์อุปกรณ์เตือนภัย
6. ลงมือประดิษฐ์
7. ทดสอบประสิทธิภาพของอุปกรณ์เตือนภัย และบันทึกผล
8. แก้ไข ปรับปรุงผลงาน
9. จัดทำรูปเล่มรายงานสรุป และบอร์ดแสดงโครงงาน
10. ส่งโครงงาน

แผนการกำหนดเวลาปฏิบัติงาน
14-19/5/52 ประชุม กำหนดปัญหา เลือกหัวข้อโครงงาน และเสนอเค้าโครงงานให้อาจารย์ที่ปรึกษาโครงงาน
21/5/52 เขียนเค้าโครงงานและส่ง
22-23/5/52 ศึกษาอุปกรณ์อิเล็กทรอนิกส์ที่เกี่ยวข้องและจัดซื้ออุปกรณ์ต่างๆ
1-5/6/52 ศึกษาการต่อวงจร Sensor
6-12/6/52 ลงมือประดิษฐ์ Sensor เตือนภัย
13-19/6/52 ทดสอบประสิทธิภาพการทำงานครั้งที่ 1 แก้ไขผลงาน
20-26/6/52 ทดสอบประสิทธิภาพการทำงานครั้งที่ 2 แก้ไขผลงาน
27-30/6/52 สรุปผลการทดสอบประสิทธิภาพ จัดทำรายงานและบอร์ดแสดงผลงาน
30-2/7/2552 ตรวจเช็คความเรียบร้อยทั้งหมดของโครงงาน รวมยอดรายจ่าย และประเมินผล
18/8/2552 จัดแสดงผลงานในงานสัปดาห์วันวิทยาศาสตร์ของโรงเรียน
*ตารางอาจมีการเปลี่ยนแปลงได้

ประโยชน์หรือผลที่คาดว่าจะได้รับ
1. เกิดความรู้ความเข้าใจในทฤษฎีของไมเคิล ฟาราเดย์
2. สามารถประหยัดพลังงาน ลดปริมาณขยะ รักษาสิ่งแวดล้อม และสร้างเสริมสุขภาพได้จริง
3. สามารถนำสิ่งประดิษฐ์นี้ไปใช้ได้จริง และเกิดประโยชน์สูงสุด

เอกสารอ้างอิง
http://www.ipst.ac.th/Activity_PrimarySci/science-m/sci-05.html
http://elib.ipst.ac.th/elib/cgi-bin/opacexe.exe?op=dsp&wa=E428BA&bid=174...

(แก้ไข)

**ชื่อโครงงาน :
กำยานสมุนไพร ไล่ยุง (ชีววิทยา)

**ผู้จัดทำโครงงาน :
สโรชา ถาวรศิลสุระกุล ม.5/7 เลขที่ 10
อิสริยะ อัศวมงคลพันธุ์ ม.5/7 เลขที่ 26
สิรินทร์ อุ่นมณี ม.5/7 เลขที่ 37

**อาจารย์ที่ปรึกษา :
ครูสมบูรณ์ กมลาสนากูร
ครูพวงทิพย์ วีระณรงค์
ครูกุลรณี อารีมิตร

**ที่มาและความสำคัญ :
เนื่องจากยุงเป็นสัตว์ที่สร้างความรำคาญ และเป็นพาหะนำโรค ในหลายๆครัวเรือนอาจมีวิธีการไล่ยุง
ที่แตกต่างกันออกไป เช่น การฉีดสเปรย์ การใช้ไม้ช๊อต หรือการจุดธูปหอม ซึ่งวิธีการต่างๆเหล่านี้
ย่อมได้ผลมากน้อยแตกต่างกันออกไป ทางผู้จัดทำโครงงานเห็นว่า ควรมีวิธีที่แปลกใหม่ในการไล่ยุงมากขึ้น
จึงเกิดเป็นโครงงานวิทยาศาสตร์ "กำยานสมุนไพร ไล่ยุง" เพื่อเป็นการสร้างทางเลือกใหม่
สำหรับผู้ที่มีปัญหาในการไล่ยุง ซึ่งแตกต่างจากโครงงานที่เคยมีผู้ทำมาแล้ว คือ "ธูปหอมไล่ยุง"
หรือ "เศษเทียนผสมสมุนไพรไล่ยุง"เพราะโครงงานนี้ ได้ใช้เป็นกำยานแทน เพื่อความแปลกใหม่ที่มากขึ้น
สาเหตุที่เป็นกำยานนั้น เพราะกำยานมีกลิ่นหอม ทำให้ผ่อนคลายและปลอดสารพิษ โดยจะนำสมุนไพร 3 ชนิด
ที่มีกลิ่นที่ยุงเกลียด ได้แก่ ตะไคร้หอม ส้ม และมะกรูดในการทำเป็นกลิ่นของกำยาน ซึ่งกำยานที่ได้นั้น
จะนำมาทดลองใช้จริง และเปรียบเทียบประสิทธิภาพในการไล่ยุงของสมุนไพรทั้ง 3 ชนิด
ว่าชนิดใดให้ผลได้มากกว่า และมีกลิ่นที่พึงประสงค์ต่อผู้ใช้มากกว่า

**วัตถุประสงค์ :
1.เพื่อสร้างทางเลือกใหม่ ในการไล่ยุง
2.เพื่อประหยัดค่าใช้จ่าย ในการซื้อสินค้าไล่ยุงชนิดอื่นๆ เช่น สเปรย์
3.เพื่อศึกษาชนิดของสมุนไพร ที่สามารถไล่ยุงได้มีประสิทธิภาพที่สุด

**วิธีการดำเนินการ :
1. แบ่งกลุ่ม จับฉลากเลือกสาขาวิชา
2. เลือกหัวข้อโครงงานที่น่าสนใจ
3. หาข้อมูลที่เกี่ยวข้องกับโครงงาน เช่น สมุนไพรชนิดใดบ้างที่สามารถไล่ยุงได้
4. เขียนเค้าโครงงาน และตรวจสอบความถูกต้อง
5. จัดเตรียมวัสดุอุปกรณ์ คำนวนค่าใช้จ่าย
6. ลงมือทำกำยานสมุนไพรไล่ยุง
7. ทดลองใช้จริง และเปรียบเทียบประสิทธิภาพของกำยานสมุนไพรทั้ง 3 ชนิด
8. บันทึกผล
9. สรุป และประเมินผลงาน

**แผนปฏิบัติงาน :
21-23 พ.ค. 52
เลือกกลุ่มโครงงาน กำหนดชื่อโครงงาน และเป้าหมาย ปรึกษาอาจารย์ประจำวิชา

24 พ.ค.52
เขียนเค้าโครงงาน

25-31 พ.ค. 52
หาข้อมูล เช่น วิธีการทำกำยาน และวัสดุอุปกรณ์ที่เกี่ยวข้อง

1-7 มิ.ย. 52
จัดซื้ออุปกรณ์ และ หาสมุนไพรที่ต้องใช้ คำนวนรายจ่าย

8-30 มิ.ย. 52
ลงมือทำกำยานสมุนไพร และทดลองใช้จริง อย่างน้อย 3 ครั้ง และสรุปผล

1-5 ส.ค. 52
ประเมินผลงาน แก้ไขข้อผิดพลาด

6-12 ส.ค. 52
จัดทำบอร์ดโครงงาน และรูปเล่ม พร้อมจัดแสดงในวันสัปดาห์วิทยาศาสตร์

**ผลที่คาดว่าจะได้รับ :
1.ได้ทางเลือกใหม่ในการไล่ยุง
2.ลดค่าใช้จ่ายในการซื้อสินค้าสำหรับไล่ยุง
3.ได้ทราบประสิทธิภาพของสมุนไพรชนิดต่างๆ ในการไล่ยุง

**เอกสารอ้างอิง :

http://guru.google.co.th/guru/thread?tid=1ea5c54ee79ab03d&clk=wttpcts
http://www.sudipan.net/phpBB2/viewtopic.php?p=40601

รูปภาพของ puangtip

Smile น่าสนใจ....ไว้จะขอลองทดสอบ

 ยินดีที่พบกัน.......ครู พวงทิพย์ วีระณรงค์ โรงเรียนสตรีศรีสุริโยทัย

(แก้ไข)

**ชื่อโครงงาน :
กำยานสมุนไพร ไล่ยุง (ชีววิทยา)

**ผู้จัดทำโครงงาน :
สโรชา ถาวรศิลสุระกุล ม.5/7 เลขที่ 10
อิสริยะ อัศวมงคลพันธุ์ ม.5/7 เลขที่ 26
สิรินทร์ อุ่นมณี ม.5/7 เลขที่ 37

**อาจารย์ที่ปรึกษา :
ครูสมบูรณ์ กมลาสนากูร
ครูพวงทิพย์ วีระณรงค์
ครูกุลรณี อารีมิตร

**ที่มาและความสำคัญ :
เนื่องจากยุงเป็นสัตว์ที่สร้างความรำคาญ และเป็นพาหะนำโรค ในหลายๆครัวเรือนอาจมีวิธีการไล่ยุง
ที่แตกต่างกันออกไป เช่น การฉีดสเปรย์ การใช้ไม้ช๊อต หรือการจุดธูปหอม ซึ่งวิธีการต่างๆเหล่านี้
ย่อมได้ผลมากน้อยแตกต่างกันออกไป ทางผู้จัดทำโครงงานเห็นว่า ควรมีวิธีที่แปลกใหม่ในการไล่ยุงมากขึ้น
จึงเกิดเป็นโครงงานวิทยาศาสตร์ "กำยานสมุนไพร ไล่ยุง" เพื่อเป็นการสร้างทางเลือกใหม่
สำหรับผู้ที่มีปัญหาในการไล่ยุง ซึ่งแตกต่างจากโครงงานที่เคยมีผู้ทำมาแล้ว คือ "ธูปหอมไล่ยุง"
หรือ "เศษเทียนผสมสมุนไพรไล่ยุง"เพราะโครงงานนี้ ได้ใช้เป็นกำยานแทน เพื่อความแปลกใหม่ที่มากขึ้น
สาเหตุที่เป็นกำยานนั้น เพราะกำยานมีกลิ่นหอม ทำให้ผ่อนคลายและปลอดสารพิษ โดยจะนำสมุนไพร 3 ชนิด
ที่มีกลิ่นที่ยุงเกลียด ได้แก่ ตะไคร้หอม ส้ม และมะกรูดในการทำเป็นกลิ่นของกำยาน ซึ่งกำยานที่ได้นั้น
จะนำมาทดลองใช้จริง และเปรียบเทียบประสิทธิภาพในการไล่ยุงของสมุนไพรทั้ง 3 ชนิด
ว่าชนิดใดให้ผลได้มากกว่า และมีกลิ่นที่พึงประสงค์ต่อผู้ใช้มากกว่า

**วัตถุประสงค์ :
1.เพื่อสร้างทางเลือกใหม่ ในการไล่ยุง
2.เพื่อประหยัดค่าใช้จ่าย ในการซื้อสินค้าไล่ยุงชนิดอื่นๆ เช่น สเปรย์
3.เพื่อศึกษาชนิดของสมุนไพร ที่สามารถไล่ยุงได้มีประสิทธิภาพที่สุด

**วิธีการดำเนินการ :
1. แบ่งกลุ่ม จับฉลากเลือกสาขาวิชา
2. เลือกหัวข้อโครงงานที่น่าสนใจ
3. หาข้อมูลที่เกี่ยวข้องกับโครงงาน เช่น สมุนไพรชนิดใดบ้างที่สามารถไล่ยุงได้
4. เขียนเค้าโครงงาน และตรวจสอบความถูกต้อง
5. จัดเตรียมวัสดุอุปกรณ์ คำนวนค่าใช้จ่าย
6. ลงมือทำกำยานสมุนไพรไล่ยุง
7. ทดลองใช้จริง และเปรียบเทียบประสิทธิภาพของกำยานสมุนไพรทั้ง 3 ชนิด
8. บันทึกผล
9. สรุป และประเมินผลงาน

**แผนปฏิบัติงาน :
21-23 พ.ค. 52
เลือกกลุ่มโครงงาน กำหนดชื่อโครงงาน และเป้าหมาย ปรึกษาอาจารย์ประจำวิชา

24 พ.ค.52
เขียนเค้าโครงงาน

25-31 พ.ค. 52
หาข้อมูล เช่น วิธีการทำกำยาน และวัสดุอุปกรณ์ที่เกี่ยวข้อง

1-7 มิ.ย. 52
จัดซื้ออุปกรณ์ และ หาสมุนไพรที่ต้องใช้ คำนวนรายจ่าย

8-30 มิ.ย. 52
ลงมือทำกำยานสมุนไพร และทดลองใช้จริง อย่างน้อย 3 ครั้ง และสรุปผล

1-5 ส.ค. 52
ประเมินผลงาน แก้ไขข้อผิดพลาด

6-12 ส.ค. 52
จัดทำบอร์ดโครงงาน และรูปเล่ม พร้อมจัดแสดงในวันสัปดาห์วิทยาศาสตร์

**ผลที่คาดว่าจะได้รับ :
1.ได้ทางเลือกใหม่ในการไล่ยุง
2.ลดค่าใช้จ่ายในการซื้อสินค้าสำหรับไล่ยุง
3.ได้ทราบประสิทธิภาพของสมุนไพรชนิดต่างๆ ในการไล่ยุง

**เอกสารอ้างอิง :

http://guru.google.co.th/guru/thread?tid=1ea5c54ee79ab03d&clk=wttpcts
http://www.sudipan.net/phpBB2/viewtopic.php?p=40601

(แก้ไข)

**ชื่อโครงงาน :
กำยานสมุนไพร ไล่ยุง (ชีววิทยา)

**ผู้จัดทำโครงงาน :
สโรชา ถาวรศิลสุระกุล ม.5/7 เลขที่ 10
อิสริยะ อัศวมงคลพันธุ์ ม.5/7 เลขที่ 26
สิรินทร์ อุ่นมณี ม.5/7 เลขที่ 37

**อาจารย์ที่ปรึกษา :
ครูสมบูรณ์ กมลาสนากูร
ครูพวงทิพย์ วีระณรงค์
ครูกุลรณี อารีมิตร

**ที่มาและความสำคัญ :
เนื่องจากยุงเป็นสัตว์ที่สร้างความรำคาญ และเป็นพาหะนำโรค ในหลายๆครัวเรือนอาจมีวิธีการไล่ยุง
ที่แตกต่างกันออกไป เช่น การฉีดสเปรย์ การใช้ไม้ช๊อต หรือการจุดธูปหอม ซึ่งวิธีการต่างๆเหล่านี้
ย่อมได้ผลมากน้อยแตกต่างกันออกไป ทางผู้จัดทำโครงงานเห็นว่า ควรมีวิธีที่แปลกใหม่ในการไล่ยุงมากขึ้น
จึงเกิดเป็นโครงงานวิทยาศาสตร์ "กำยานสมุนไพร ไล่ยุง" เพื่อเป็นการสร้างทางเลือกใหม่
สำหรับผู้ที่มีปัญหาในการไล่ยุง ซึ่งแตกต่างจากโครงงานที่เคยมีผู้ทำมาแล้ว คือ "ธูปหอมไล่ยุง"
หรือ "เศษเทียนผสมสมุนไพรไล่ยุง"เพราะโครงงานนี้ ได้ใช้เป็นกำยานแทน เพื่อความแปลกใหม่ที่มากขึ้น
สาเหตุที่เป็นกำยานนั้น เพราะกำยานมีกลิ่นหอม ทำให้ผ่อนคลายและปลอดสารพิษ โดยจะนำสมุนไพร 3 ชนิด
ที่มีกลิ่นที่ยุงเกลียด ได้แก่ ตะไคร้หอม ส้ม และมะกรูดในการทำเป็นกลิ่นของกำยาน ซึ่งกำยานที่ได้นั้น
จะนำมาทดลองใช้จริง และเปรียบเทียบประสิทธิภาพในการไล่ยุงของสมุนไพรทั้ง 3 ชนิด
ว่าชนิดใดให้ผลได้มากกว่า และมีกลิ่นที่พึงประสงค์ต่อผู้ใช้มากกว่า

**วัตถุประสงค์ :
1.เพื่อสร้างทางเลือกใหม่ ในการไล่ยุง
2.เพื่อประหยัดค่าใช้จ่าย ในการซื้อสินค้าไล่ยุงชนิดอื่นๆ เช่น สเปรย์
3.เพื่อศึกษาชนิดของสมุนไพร ที่สามารถไล่ยุงได้มีประสิทธิภาพที่สุด

**วิธีการดำเนินการ :
1. แบ่งกลุ่ม จับฉลากเลือกสาขาวิชา
2. เลือกหัวข้อโครงงานที่น่าสนใจ
3. หาข้อมูลที่เกี่ยวข้องกับโครงงาน เช่น สมุนไพรชนิดใดบ้างที่สามารถไล่ยุงได้
4. เขียนเค้าโครงงาน และตรวจสอบความถูกต้อง
5. จัดเตรียมวัสดุอุปกรณ์ คำนวนค่าใช้จ่าย
6. ลงมือทำกำยานสมุนไพรไล่ยุง
7. ทดลองใช้จริง และเปรียบเทียบประสิทธิภาพของกำยานสมุนไพรทั้ง 3 ชนิด
8. บันทึกผล
9. สรุป และประเมินผลงาน

**แผนปฏิบัติงาน :
21-23 พ.ค. 52
เลือกกลุ่มโครงงาน กำหนดชื่อโครงงาน และเป้าหมาย ปรึกษาอาจารย์ประจำวิชา

24 พ.ค.52
เขียนเค้าโครงงาน

25-31 พ.ค. 52
หาข้อมูล เช่น วิธีการทำกำยาน และวัสดุอุปกรณ์ที่เกี่ยวข้อง

1-7 มิ.ย. 52
จัดซื้ออุปกรณ์ และ หาสมุนไพรที่ต้องใช้ คำนวนรายจ่าย

8-30 มิ.ย. 52
ลงมือทำกำยานสมุนไพร และทดลองใช้จริง อย่างน้อย 3 ครั้ง และสรุปผล

1-5 ส.ค. 52
ประเมินผลงาน แก้ไขข้อผิดพลาด

6-12 ส.ค. 52
จัดทำบอร์ดโครงงาน และรูปเล่ม พร้อมจัดแสดงในวันสัปดาห์วิทยาศาสตร์

**ผลที่คาดว่าจะได้รับ :
1.ได้ทางเลือกใหม่ในการไล่ยุง
2.ลดค่าใช้จ่ายในการซื้อสินค้าสำหรับไล่ยุง
3.ได้ทราบประสิทธิภาพของสมุนไพรชนิดต่างๆ ในการไล่ยุง

**เอกสารอ้างอิง :

http://guru.google.co.th/guru/thread?tid=1ea5c54ee79ab03d&clk=wttpcts
http://www.sudipan.net/phpBB2/viewtopic.php?p=40601

(แก้ไข)

**ชื่อโครงงาน :
กำยานสมุนไพร ไล่ยุง (ชีววิทยา)

**ผู้จัดทำโครงงาน :
สโรชา ถาวรศิลสุระกุล ม.5/7 เลขที่ 10
อิสริยะ อัศวมงคลพันธุ์ ม.5/7 เลขที่ 26
สิรินทร์ อุ่นมณี ม.5/7 เลขที่ 37

**อาจารย์ที่ปรึกษา :
ครูสมบูรณ์ กมลาสนากูร
ครูพวงทิพย์ วีระณรงค์
ครูกุลรณี อารีมิตร

**ที่มาและความสำคัญ :
เนื่องจากยุงเป็นสัตว์ที่สร้างความรำคาญ และเป็นพาหะนำโรค ในหลายๆครัวเรือนอาจมีวิธีการไล่ยุง
ที่แตกต่างกันออกไป เช่น การฉีดสเปรย์ การใช้ไม้ช๊อต หรือการจุดธูปหอม ซึ่งวิธีการต่างๆเหล่านี้
ย่อมได้ผลมากน้อยแตกต่างกันออกไป ทางผู้จัดทำโครงงานเห็นว่า ควรมีวิธีที่แปลกใหม่ในการไล่ยุงมากขึ้น
จึงเกิดเป็นโครงงานวิทยาศาสตร์ "กำยานสมุนไพร ไล่ยุง" เพื่อเป็นการสร้างทางเลือกใหม่
สำหรับผู้ที่มีปัญหาในการไล่ยุง ซึ่งแตกต่างจากโครงงานที่เคยมีผู้ทำมาแล้ว คือ "ธูปหอมไล่ยุง"
หรือ "เศษเทียนผสมสมุนไพรไล่ยุง"เพราะโครงงานนี้ ได้ใช้เป็นกำยานแทน เพื่อความแปลกใหม่ที่มากขึ้น
สาเหตุที่เป็นกำยานนั้น เพราะกำยานมีกลิ่นหอม ทำให้ผ่อนคลายและปลอดสารพิษ โดยจะนำสมุนไพร 3 ชนิด
ที่มีกลิ่นที่ยุงเกลียด ได้แก่ ตะไคร้หอม ส้ม และมะกรูดในการทำเป็นกลิ่นของกำยาน ซึ่งกำยานที่ได้นั้น
จะนำมาทดลองใช้จริง และเปรียบเทียบประสิทธิภาพในการไล่ยุงของสมุนไพรทั้ง 3 ชนิด
ว่าชนิดใดให้ผลได้มากกว่า และมีกลิ่นที่พึงประสงค์ต่อผู้ใช้มากกว่า

**วัตถุประสงค์ :
1.เพื่อสร้างทางเลือกใหม่ ในการไล่ยุง
2.เพื่อประหยัดค่าใช้จ่าย ในการซื้อสินค้าไล่ยุงชนิดอื่นๆ เช่น สเปรย์
3.เพื่อศึกษาชนิดของสมุนไพร ที่สามารถไล่ยุงได้มีประสิทธิภาพที่สุด

**วิธีการดำเนินการ :
1. แบ่งกลุ่ม จับฉลากเลือกสาขาวิชา
2. เลือกหัวข้อโครงงานที่น่าสนใจ
3. หาข้อมูลที่เกี่ยวข้องกับโครงงาน เช่น สมุนไพรชนิดใดบ้างที่สามารถไล่ยุงได้
4. เขียนเค้าโครงงาน และตรวจสอบความถูกต้อง
5. จัดเตรียมวัสดุอุปกรณ์ คำนวนค่าใช้จ่าย
6. ลงมือทำกำยานสมุนไพรไล่ยุง
7. ทดลองใช้จริง และเปรียบเทียบประสิทธิภาพของกำยานสมุนไพรทั้ง 3 ชนิด
8. บันทึกผล
9. สรุป และประเมินผลงาน

**แผนปฏิบัติงาน :
21-23 พ.ค. 52
เลือกกลุ่มโครงงาน กำหนดชื่อโครงงาน และเป้าหมาย ปรึกษาอาจารย์ประจำวิชา

24 พ.ค.52
เขียนเค้าโครงงาน

25-31 พ.ค. 52
หาข้อมูล เช่น วิธีการทำกำยาน และวัสดุอุปกรณ์ที่เกี่ยวข้อง

1-7 มิ.ย. 52
จัดซื้ออุปกรณ์ และ หาสมุนไพรที่ต้องใช้ คำนวนรายจ่าย

8-30 มิ.ย. 52
ลงมือทำกำยานสมุนไพร และทดลองใช้จริง อย่างน้อย 3 ครั้ง และสรุปผล

1-5 ส.ค. 52
ประเมินผลงาน แก้ไขข้อผิดพลาด

6-12 ส.ค. 52
จัดทำบอร์ดโครงงาน และรูปเล่ม พร้อมจัดแสดงในวันสัปดาห์วิทยาศาสตร์

**ผลที่คาดว่าจะได้รับ :
1.ได้ทางเลือกใหม่ในการไล่ยุง
2.ลดค่าใช้จ่ายในการซื้อสินค้าสำหรับไล่ยุง
3.ได้ทราบประสิทธิภาพของสมุนไพรชนิดต่างๆ ในการไล่ยุง

**เอกสารอ้างอิง :

http://guru.google.co.th/guru/thread?tid=1ea5c54ee79ab03d&clk=wttpcts
http://www.sudipan.net/phpBB2/viewtopic.php?p=40601

เค้าโครงงานวิทยาศาสตร์ (แก้ไข)
สาขาวิชา ฟิสิกส์

ชื่อโครงงานวิทยาศาสตร์
Sensor เตือนภัย

คณะผู้จัดทำโครงงานวิทยาศาสตร์
1. นางสาวสิริกาญจน์ ปริสาโรจน์ ม.5/7 เลขที่ 19
2. นางสาวพิชญา บุญยืน ม.5/7 เลขที่ 25
3. นางสาวกรกมล แซ่อึ่ง ม.5/7 เลขที่ 35
4. นางสาวสุทธิดา มโนมยางกูร ม.5/7 เลขที่ 39

ชื่อครูที่ปรึกษาโครงงาน
อ.พวงทิพย์ วีระณรงค์ อาจารย์ผู้สอนวิชา ฟิสิกส์
อ.กุลรณี อารีมิตร อาจารย์ผู้สอนวิชา เคมี
อ.สมบูรณ์ กมลาสนากูร อาจารย์ผู้สอนวิชา ชีววิทยา
อ.สมชาย น่วมกลิ่น อาจารย์ผู้สอนวิชา การงานอาชีพและเทคโนโลยี

ที่มาและความสำคัญของโครงงานวิทยาศาสตร์
เนื่องจากในปัจจุบัน สังคมได้มีการเปลี่ยนแปลงลักษณะการอยู่อาศัยไปเป็นแบบครอบครัวเดี่ยวมากขึ้น และมีบ้างที่อาศัยอยู่คนเดียวภายในบ้านพักหรือห้องพักต่างๆ จึงเสี่ยงต่อการถูกพวกมิจฉาชีพบุกรุกเข้ามาขโมยทรัพย์สินภายในที่พัก อีกทั้งยังเสี่ยงต่อการถูกทำร้ายร่างกายได้ ถึงแม้ว่าภายในที่พักอาศัยจะมีระบบป้องกันความปลอดภัยหรือประตูที่แน่นหนาเพียงใด แต่ทว่าความเจริญของยุคสมัย ทำให้เหล่ามิจฉาชีพสามารถใช้อุปกรณ์และเครื่องมือต่างๆในการขโมยทรัพย์สินได้ แต่หากเรามีอุปกรณ์ที่ช่วยเตือนภัยให้เราได้ในยามเกิดเหตุด่วนเหตุร้าย ให้เราสามารถเตรียมตัวป้องกัน หรือโทรศัพท์แจ้งเจ้าหน้าที่ตำรวจได้ทันเวลาจะสามารถช่วยลดความเสี่ยงของอันตรายที่อาจจะเกิดขึ้นกับชีวิตและทรัพย์สินของเราได้
ดังนั้น กลุ่มของข้าพเจ้าจึงได้คิดค้นและประดิษฐ์ Sensor เตือนภัย ที่สามารถส่งสัญญาณแจ้งเตือนให้ผู้อยู่อาศัยในที่พักรู้ตัว และเตรียมตัวป้องกันได้ทันท่วงที

วัตถุประสงค์ของการทำโครงงานวิทยาศาสตร์
1. เพื่อศึกษาวงจรไฟฟ้าและอุปกรณ์อิเล็กทรอนิกส์
2. เพื่อประดิษฐ์อุปกรณ์เตือนภัยในยามฉุกเฉิน
3. เพื่อฝึกทักษะการทำโครงงานวิทยาศาสตร์

วิธีดำเนินการ
1. แบ่งกลุ่ม กำหนดปัญหา และเลือกหัวข้อโครงงาน
2. ศึกษาค้นคว้าเอกสารที่เกี่ยวข้อง
3. เขียนเค้าโครงงาน
4. ออกแบบอุปกรณ์เตือนภัย
5. จัดเตรียมวัสดุอุปกรณ์เพื่อประดิษฐ์อุปกรณ์เตือนภัย
6. ลงมือประดิษฐ์
7. ทดสอบประสิทธิภาพของอุปกรณ์เตือนภัย และบันทึกผล
8. แก้ไข ปรับปรุงผลงาน
9. จัดทำรูปเล่มรายงานสรุป และบอร์ดแสดงโครงงาน
10. ส่งโครงงาน

แผนการกำหนดเวลาปฏิบัติงาน
14-19/5/52 ประชุม กำหนดปัญหา เลือกหัวข้อโครงงาน และเสนอเค้าโครงงานให้อาจารย์ที่ปรึกษาโครงงาน
21/5/52 เขียนเค้าโครงงานและส่ง
22-23/5/52 ศึกษาอุปกรณ์อิเล็กทรอนิกส์ที่เกี่ยวข้องและจัดซื้ออุปกรณ์ต่างๆ
1-5/6/52 ศึกษาการต่อวงจร Sensor
6-12/6/52 ลงมือประดิษฐ์ Sensor เตือนภัย
13-19/6/52 ทดสอบประสิทธิภาพการทำงานครั้งที่ 1 แก้ไขผลงาน
20-26/6/52 ทดสอบประสิทธิภาพการทำงานครั้งที่ 2 แก้ไขผลงาน
27-30/6/52 สรุปผลการทดสอบประสิทธิภาพ จัดทำรายงานและบอร์ดแสดงผลงาน
30-2/7/2552 ตรวจเช็คความเรียบร้อยทั้งหมดของโครงงาน รวมยอดรายจ่าย และประเมินผล
18/8/2552 จัดแสดงผลงานในงานสัปดาห์วันวิทยาศาสตร์ของโรงเรียน

*ตารางอาจมีการเปลี่ยนแปลงได้

ประโยชน์หรือผลที่คาดว่าจะได้รับ
1. เกิดความรู้ความเข้าใจในเรื่องของวงจรไฟฟ้าและอุปกรณ์อิเล็กทรอนิกส์มากขึ้น
2. ได้อุปกรณ์เตือนภัยที่มีประสิทธิภาพและสามารถใช้งานได้จริงในยามฉุกเฉิน
3. เกิดทักษะการทำโครงงานวิทยาศาสตร์

เอกสารอ้างอิง
http://www.ipst.ac.th/Activity_PrimarySci/science-m/sci-05.html
http://elib.ipst.ac.th/elib/cgi-bin/opacexe.exe?op=dsp&wa=E428BA&bid=174...

เค้าโครงงานวิทยาศาสตร์ (แก้ไข)
สาขาวิชา ฟิสิกส์

ชื่อโครงงานวิทยาศาสตร์
Sensor เตือนภัย

คณะผู้จัดทำโครงงานวิทยาศาสตร์
1. นางสาวสิริกาญจน์ ปริสาโรจน์ ม.5/7 เลขที่ 19
2. นางสาวพิชญา บุญยืน ม.5/7 เลขที่ 25
3. นางสาวกรกมล แซ่อึ่ง ม.5/7 เลขที่ 35
4. นางสาวสุทธิดา มโนมยางกูร ม.5/7 เลขที่ 39

ชื่อครูที่ปรึกษาโครงงาน
อ.พวงทิพย์ วีระณรงค์ อาจารย์ผู้สอนวิชา ฟิสิกส์
อ.กุลรณี อารีมิตร อาจารย์ผู้สอนวิชา เคมี
อ.สมบูรณ์ กมลาสนากูร อาจารย์ผู้สอนวิชา ชีววิทยา
อ.สมชาย น่วมกลิ่น อาจารย์ผู้สอนวิชา การงานอาชีพและเทคโนโลยี

ที่มาและความสำคัญของโครงงานวิทยาศาสตร์
เนื่องจากในปัจจุบัน สังคมได้มีการเปลี่ยนแปลงลักษณะการอยู่อาศัยไปเป็นแบบครอบครัวเดี่ยวมากขึ้น และมีบ้างที่อาศัยอยู่คนเดียวภายในบ้านพักหรือห้องพักต่างๆ จึงเสี่ยงต่อการถูกพวกมิจฉาชีพบุกรุกเข้ามาขโมยทรัพย์สินภายในที่พัก อีกทั้งยังเสี่ยงต่อการถูกทำร้ายร่างกายได้ ถึงแม้ว่าภายในที่พักอาศัยจะมีระบบป้องกันความปลอดภัยหรือประตูที่แน่นหนาเพียงใด แต่ทว่าความเจริญของยุคสมัย ทำให้เหล่ามิจฉาชีพสามารถใช้อุปกรณ์และเครื่องมือต่างๆในการขโมยทรัพย์สินได้ แต่หากเรามีอุปกรณ์ที่ช่วยเตือนภัยให้เราได้ในยามเกิดเหตุด่วนเหตุร้าย ให้เราสามารถเตรียมตัวป้องกัน หรือโทรศัพท์แจ้งเจ้าหน้าที่ตำรวจได้ทันเวลาจะสามารถช่วยลดความเสี่ยงของอันตรายที่อาจจะเกิดขึ้นกับชีวิตและทรัพย์สินของเราได้
ดังนั้น กลุ่มของข้าพเจ้าจึงได้คิดค้นและประดิษฐ์ Sensor เตือนภัย ที่สามารถส่งสัญญาณแจ้งเตือนให้ผู้อยู่อาศัยในที่พักรู้ตัว และเตรียมตัวป้องกันได้ทันท่วงที

วัตถุประสงค์ของการทำโครงงานวิทยาศาสตร์
1. เพื่อศึกษาวงจรไฟฟ้าและอุปกรณ์อิเล็กทรอนิกส์
2. เพื่อประดิษฐ์อุปกรณ์เตือนภัยในยามฉุกเฉิน
3. เพื่อฝึกทักษะการทำโครงงานวิทยาศาสตร์

วิธีดำเนินการ
1. แบ่งกลุ่ม กำหนดปัญหา และเลือกหัวข้อโครงงาน
2. ศึกษาค้นคว้าเอกสารที่เกี่ยวข้อง
3. เขียนเค้าโครงงาน
4. ออกแบบอุปกรณ์เตือนภัย
5. จัดเตรียมวัสดุอุปกรณ์เพื่อประดิษฐ์อุปกรณ์เตือนภัย
6. ลงมือประดิษฐ์
7. ทดสอบประสิทธิภาพของอุปกรณ์เตือนภัย และบันทึกผล
8. แก้ไข ปรับปรุงผลงาน
9. จัดทำรูปเล่มรายงานสรุป และบอร์ดแสดงโครงงาน
10. ส่งโครงงาน

แผนการกำหนดเวลาปฏิบัติงาน
14-19/5/52 ประชุม กำหนดปัญหา เลือกหัวข้อโครงงาน และเสนอเค้าโครงงานให้อาจารย์ที่ปรึกษาโครงงาน
21/5/52 เขียนเค้าโครงงานและส่ง
22-23/5/52 ศึกษาอุปกรณ์อิเล็กทรอนิกส์ที่เกี่ยวข้องและจัดซื้ออุปกรณ์ต่างๆ
1-5/6/52 ศึกษาการต่อวงจร Sensor
6-12/6/52 ลงมือประดิษฐ์ Sensor เตือนภัย
13-19/6/52 ทดสอบประสิทธิภาพการทำงานครั้งที่ 1 แก้ไขผลงาน
20-26/6/52 ทดสอบประสิทธิภาพการทำงานครั้งที่ 2 แก้ไขผลงาน
27-30/6/52 สรุปผลการทดสอบประสิทธิภาพ จัดทำรายงานและบอร์ดแสดงผลงาน
30-2/7/2552 ตรวจเช็คความเรียบร้อยทั้งหมดของโครงงาน รวมยอดรายจ่าย และประเมินผล
18/8/2552 จัดแสดงผลงานในงานสัปดาห์วันวิทยาศาสตร์ของโรงเรียน

*ตารางอาจมีการเปลี่ยนแปลงได้

ประโยชน์หรือผลที่คาดว่าจะได้รับ
1. เกิดความรู้ความเข้าใจในเรื่องของวงจรไฟฟ้าและอุปกรณ์อิเล็กทรอนิกส์มากขึ้น
2. ได้อุปกรณ์เตือนภัยที่มีประสิทธิภาพและสามารถใช้งานได้จริงในยามฉุกเฉิน
3. เกิดทักษะการทำโครงงานวิทยาศาสตร์

เอกสารอ้างอิง
http://www.ipst.ac.th/Activity_PrimarySci/science-m/sci-05.html
http://elib.ipst.ac.th/elib/cgi-bin/opacexe.exe?op=dsp&wa=E428BA&bid=174...

รูปภาพของ puangtip

Undecided...คล้ายกับที่เขามีขายอยู่หรือเปล่าคะ?

ยินดีที่พบกัน.......ครู พวงทิพย์ วีระณรงค์ โรงเรียนสตรีศรีสุริโยทัย

ชื่อโครงงาน : เครื่องส่งกลิ่นไล่ยุง โรงเรียนสตรีศรีสุริโยทัย

ชื่อผู้ทำโครงงาน : น.ส. นัสรีน เอกชน ชั้น ม.5/7 เลขที่ 40
น.ส. วรางคณา มงคลรัตน์ ชั้น ม.5/7 เลขที่ 41
น.ส. ปิยวรรณ ครองมิ่งมงคล ชั้น ม.5/7 เลขที่ 42
น.ส. วรรณธิดา นาคเกษม ชั้น ม.5/7 เลขที่ 43

ชื่อที่ปรึกษาโครงงาน : อ. พวงทิพย์ วีระณรงค์
อ.สมบูรณ์
อ.กุลณี

ที่มาและความสำคัญของโครงงาน/ความเป็นมา : ที่กลุ่มของข้าพเจ้าจัดทำโครงงานนี้เพราะฤดูฝนเป็นฤดูที่มียุงชุมมาก ทำให้เกิดโรคระบาดจากยุง กลุ่มข้าพเจ้าจึงประดิษฐ์เครื่องส่งกลิ่นไล่ยุงเพื่อใช้เป็นประโยชน์ในภายหน้า

วัตถุประสงค์ของการศึกษาค้นคว้า/เป้าหมาย : เครื่องส่งกลิ่นไล่ยุงจะมีกลิ่นกระจายไปในบริเวณที่กว้างขวาง และจะไม่มียุงในบริเวณดังกล่าว

วิธีดำเนินงาน :
1.คิดและตั้งชื่อโครงงาน
2.วิธีดำเนินงาน
3.หาข้อมูล
4.ประดิษฐ์เครื่องส่งกลิ่นไล่ยุง
5.ทดสอบการใช้งาน
6.สรุปผล

แผนการดำเนินงาน : 25-29 พ.ค.2552 คิดโครงงานและวิธีทำอุปกรณ์รวมถึงหาข้อมูลให้ครบ
30พ.ค.-16มิ.ย. 2552 ดำเนินงาน ประดิษฐ์เครื่องส่งกลิ่นไล่ยุง
17-19 มิ.ย. 2552 ทดลองงานและปรับปรุง
22-25 มิ.ย. 2552 ทดลองอีกครั้ง
26 มิ.ย. 2552 สรุปผล

ผลที่คาดว่าจะได้รับ : ลดการถูกรบกวนจากยุงซึ่งเป็นสาเหตุที่นำมาซึ่งโรคระบาด
»

รูปภาพของ puangtip

Undecidedช่วยบอกหลักการที่จะทำด้วยนะคะ...

ยินดีที่พบกัน.......ครู พวงทิพย์ วีระณรงค์ โรงเรียนสตรีศรีสุริโยทัย

โครงงาน : เคมี
ชื่อโครงงาน : น้ำยาล้างจานกำจัดแมลง
ชื่อครูที่ปรึกษา : คุณครูพวงทิพย์ วีระณรงค์
ชื่อผู้ทำโครงงาน : นส.ชัชชญา ธนดำรงเลิศ ม.5/7 เลขที่ 4
นส.วรวรรณ ทองแผ่น ม.5/7 เลขที่ 7
นส.แก้วกาญจน์ ตติยะพงษ์เผ่าพันธุ์ ม.5/7 เลขที่ 16
บทคัดย่อ : ในปัจจุบันมนุษย์พยายามคิดค้นผลิตภัณฑ์กำจัดแมลงหลากหลายรูปแบบ แต่ล้วนแล้วประกอบด้วยสารเคมี ซึ่งเป็นอันตรายต่อร่างกายทั้งสิ้น แต่เพราะความสะดวกสบายและประสิทธิภาพของสารเคมีในผลิตภัณฑ์ทำให้มนุษย์เลือกใช้สารเคมีมากกว่าผลิตภัณฑ์จากธรรมชาติ ทางคณะผู้จัดทำเห็นว่า เราควรลดใช้สารเคมีด้วยการใช้สิ่งใกล้ตัว นั่นคือ น้ำยาล้างจาน ซึ่งเป็นสิ่งที่ทุกครัวเรือนต้องใช้ หลักการง่ายๆคือ ผสมน้ำยาล้างจานกับน้ำในอัตราส่วนที่พอเหมาะแล้วนำมาฉีด ปฏิกิริยาทางเคมีที่น้ำยาล้างจานปิดกั้นออกซิเจนภายในน้ำ จะไปปิดกั้นช่องทางหายใจ ไม่ให้แมลงได้รับออกซิเจนเช่นกัน จนทำให้แมลงตายในที่สุด
คณะผู้จัดทำ
ที่มา : http://th.wikipedia.org/wiki/%E0%B8%99%E0%B9%89%E0%B8%B3%E0%B8%A2%E0%B8%...

รูปภาพของ puangtip

ครูว่า ปัจจัยอื่นที่เกี่ยยินดีที่มีอิทธิพลต่อผลงานที่สำคัญมีมาก เช่น สถานที่ ระยะเวลาและปริมาณการใช้..ไม่ง่ายนะ

พบกัน.......ครู พวงทิพย์ วีระณรงค์ โรงเรียนสตรีศรีสุริโยทัย

โครงงาน : เคมี
ชื่อโครงงาน : น้ำยาล้างจานกำจัดแมลง
ชื่อครูที่ปรึกษา : คุณครูพวงทิพย์ วีระณรงค์
ชื่อผู้ทำโครงงาน : นส.ชัชชญา ธนดำรงเลิศ ม.5/7 เลขที่ 4
นส.วรวรรณ ทองแผ่น ม.5/7 เลขที่ 7
นส.แก้วกาญจน์ ตติยะพงษ์เผ่าพันธุ์ ม.5/7 เลขที่ 16
บทคัดย่อ : ในปัจจุบันมนุษย์พยายามคิดค้นผลิตภัณฑ์กำจัดแมลงหลากหลายรูปแบบ แต่ล้วนแล้วประกอบด้วยสารเคมี ซึ่งเป็นอันตรายต่อร่างกายทั้งสิ้น แต่เพราะความสะดวกสบายและประสิทธิภาพของสารเคมีในผลิตภัณฑ์ทำให้มนุษย์เลือกใช้สารเคมีมากกว่าผลิตภัณฑ์จากธรรมชาติ ทางคณะผู้จัดทำเห็นว่า เราควรลดใช้สารเคมีด้วยการใช้สิ่งใกล้ตัว นั่นคือ น้ำยาล้างจาน ซึ่งเป็นสิ่งที่ทุกครัวเรือนต้องใช้ หลักการง่ายๆคือ ผสมน้ำยาล้างจานกับน้ำในอัตราส่วนที่พอเหมาะแล้วนำมาฉีด ปฏิกิริยาทางเคมีที่น้ำยาล้างจานปิดกั้นออกซิเจนภายในน้ำ จะไปปิดกั้นช่องทางหายใจ ไม่ให้แมลงได้รับออกซิเจนเช่นกัน จนทำให้แมลงตายในที่สุด
คณะผู้จัดทำ
ที่มา : http://th.wikipedia.org/wiki/%E0%B8%99%E0%B9%89%E0%B8%B3%E0%B8%A2%E0%B8%...

ชื่อโครงงาน : สนามพลังแม่เหล็ก ทำให้กล้วยสุกช้าจริงหรือเปล่า
ประเภท : ชีววิทยา
ระดับชั้น : มัธยมศึกษาปีที่ 5
ชื่อผู้จัดทำโครงงาน :น.ส.ภัทรภร โชคบุญเปี่ยม(3) น.ส.รุจิวรรณ ลิขิตรุ่งเรือง (15)
น.ส.พรรณวดี จันทระโยธา (21) น.ส.ชลัยรัตน์ ชูเชิดเลิศสิริกุล(31)
ระยะเวลาโครงการ : ประมาณ 1 เดือน
บทคัดย่อ :ในปัจจุบันประเทศไทยมีการส่งออกผลไม้ไปขายในต่างประเทศเป็นจำนวนมาก เช่น ทุเรียน, มังคุด ,ส้ม ฯลฯ และหนึ่งในนั้นก็มีกล้วยหอม แต่ในการเดินทางต้องใช้เวลานาน อาจจะทำให้ผลไม้บางส่วนเสียหาย เพราะอาจทำให้มีราคาตกลง จึงมีการใช้โคบอลต์ 60 ในการยืดอายุของผลไม้ออกไป ทำให้ผลไม้คงอยู่ได้นาน แต่อาจมีผลเสีย ผลเสีย คือ โคบอลต์ 60 มีค่าครึ่งชีวิตที่ยังสลายไม่หมด ทำให้รังสีตกค้าง และเมื่อรับประทานเข้าไปแล้ว อาจทำให้มีผลเสียต่อร่างกาย ซึ่งกลุ่มของข้าพเจ้า ก็ได้จัดทำโครงงานนี้ขึ้นมา ซึ่งไม่มีสิ่งตกค้างและปนเปื้อน แต่ก็ยังคงรักษาให้ผลไม้คงอยู่ได้นาน

โครงงานวิทยาศาสตร์ สาขา เคมี
ชื่อโครงงาน “นี่ไงสบู่ของฉันทำจากน้ำมันเหลือใช้”
ชื่อผู้ทำโครงงาน
กรรณิกา ดีเทียน เลขที่ 8 ชั้น ม.5/7
ตวงทิพย์ สุระรังสิต เลขที่ 9 ชั้น ม.5/7
พรณการณ์ บุญเลิศ เลขที่ 14 ชั้น ม.5/7
อภัสรา มูลมณี เลขที่ 27 ชั้น ม.5/7
ชื่อที่ปรึกษาโครงงาน
อาจารย์ กุลณี อารีย์มิตร
อาจารย์ พวงทิพย์ วีระณรงค์
อาจารย์ สมบูรณ์ กมลาสนางกูล
ที่มาและความสำคัญของโครงงาน
เนื่องจากปัญหาน้ำมันที่ใช้ในครัวเรือน เมื่อใช้เสร็จแล้วก็จะทิ้งไปโดยเปล่าประโยชน์ แม้ว่าในปัจจุบัน จะมีการรับซื้อน้ำมันใช้แล้วก็ตาม แต่ในความเป็นจริง ผู้คนต่างก็ไม่มีเวลามากพอที่จะสะสมหรือเก็บน้ำมันไว้ให้ได้จำนวนครั้งละมากๆ ดังนั้นจึงต้องกำจัดน้ำมันเหล่านี้ทิ้งไป วิธีที่ผู้คนนิยมเนื่องจากง่ายและสะดวกก็คือ การทิ้งใส่ถุงขยะแยกแล้วนำไปทิ้งรวมกับขยะชนิดอื่นๆ , ทิ้งลงในแม่น้ำลำคลอง และ ทิ้งลงท่อต่างๆในครัวเรือน เช่น ท่อในอ่างล้างจานเป็นต้น ซึ่งเกิดปัญหาต่างๆตามมามากมาย
คณะผู้จัดทำจึงคิดที่จะแก้ไขปัญหาในครัวเรือนดังกล่าว โดยการนำมาทำเป็นสบู่ล้างมือ เหตุที่ทำเป็นสบู่ล้างมือนั้น ก็เนื่องจากสบู่มีส่วนประกอบหลักคือน้ำมัน และในชีวิตประจำวันมือของเราก็สัมผัสสิ่งต่างๆอยู่ตลอดเวลา
วัตถุประสงค์ของการศึกษาค้นคว้า
1. เพื่อศึกษาการกำจัดกลิ่นหืนของน้ำมันใช้แล้ว
2. เพื่อศึกษาวิธีการทำสบู่ก้อนจากน้ำมันเหลือใช้ โดยไม่มีกลิ่นหืน
3. เพื่อศึกษาวิธีการตกตะกอนของน้ำมันเหลือใช้
สมมติฐานของการศึกษาค้นคว้า
ถ้าเติมสารกำจัดกลิ่นหืนชนิดต่างกันแล้ว ดังนั้นกลิ่นของน้ำมันเหลือใช้ที่นำไปทำสบู่ ก็จะมีกลิ่นต่างกัน
วิธีดำเนินงาน
1. นำน้ำมันเหลือใช้มาศึกษาวิธีการ ทำให้น้ำมันสะอาด โดยการทำให้น้ำมันตกตะกอน
2. ศึกษาวิธีการทำสบู่ และ สารกำจัดกลิ่นหืนชนิดต่างๆ
3. ทำสบู่จากน้ำมันเหลือใช้และเติมสารกำจัดกลิ่นทีละชนิด จนครบทั้ง 3 ชนิด
4. เติมหัวน้ำหอมลงในสบู่ที่ได้จากการดับกลิ่นหืนแล้ว
แผนปฏิบัติงาน
ครั้งที่ วัน/เดือน/ปี การปฏิบัติงาน/ผู้ปฏิบัติงาน ผลการปฏิบัติงาน
1 14/05/52 ปรึกษาอาจารย์ที่ปรึกษา เกี่ยวกับการทำโครงงาน วิชา เคมี / สมาชิกทุกคน ได้ข้อสรุปหัวข้อโครงงานและแนวทางในการทำโครงงาน
2 24/05/52 ทดลองทำสบู่ครั้งแรก โดยที่ยังไม่ได้ใส่สารกำจัดกลิ่นหืน / สมาชิกทุกคน สบู่ไม่จับตัวเป็นก้อน ยังมีลักษณะเป็นน้ำมันและเหม็นหืน
3 25/05/52 ทดลองทำสบู่ครั้งที่ 2 โดยที่ยังไม่ได้ใส่สารกำจัดกลิ่นหืน / พรณการณ์, อภัสรา สบู่เป็นก้อนแข็ง , ล้างได้สะอาดมีฟองสบู่ แต่มีกลิ่นหืนของน้ำมัน
4 26/05/52 ทำสบู่ครั้งที่ 3 โดยใส่หอมแดงซึ่งสารกำจัดกลิ่นหืนลงไป / กรรณิกา ,ตวงทิพย์ สบู่เป็นก้อนแข็ง ,ล้าได้สะอาดมีฟองสบู่ แต่ยังมีกลิ่นหืนอยู่บ้าง
5 28/05/52 นำสบู่ที่ได้ไปให้อาจารย์ที่ปรึกษาโครงงานดู และศึกษาวิธีกำจัดกลิ่นหืนโดยการเติมสารต่างชนิดกัน รวมทั้ง ศึกษาการตกตะกอนของน้ำมัน / สมาชิกทุกคน ได้ศึกษาสารที่สามารถกำจัดกลิ่นหืนและสามารถศึกษาวิธีการตกตะกอนของน้ำมันได้

ผลที่คาดว่าจะได้รับ
1. พบวิธีการกำจัดกลิ่นหืนของน้ำมันใช้แล้ว
2. สามารถทำสบู่ก้อนจากน้ำมันเหลือใช้ โดยไม่มีกลิ่นหืนได้
3. พบวิธีการตกตะกอนของน้ำมันเหลือใช้
เอกสารอ้างอิง
http://agro.psu.ac.th/index.php?option=com_content&task=view&id=339&Item...
http://www.navy.mi.th/dockyard/biodesel.html
http://ratniyom.net/modules.php?name=Forums&file=viewtopic&p=31
http://lifestyle.kingsolder.com/food/kitchen-trick.asp?id=357&no=5&start...

รูปภาพของ puangtip

Undecidedวิธีการต่างจากที่ผู้อื่นทำอย่างไร? ต้องบอกได้

ยินดีที่พบกัน.......ครู พวงทิพย์ วีระณรงค์ โรงเรียนสตรีศรีสุริโยทัย

ชื่อโครงงาน : ความทนทานของราก
ประเภท : ชีววิทยา
ระดับชั้น : มัธยมศึกษาปีที่ 5
ชื่อผู้จัดทำโครงงาน : น.ส.ฐานันตร์ ขมานุวงศ์ (5) น.ส.ณิชนันทน์ รัตน์วสุนธรา (12)
น.ส.นวพร นิธิปัญญาวงศ์ (23) น.ส.ยอดขวัญ แซ่เฮ้ง(33)
ระยะเวลาโครงการ : ประมาณ 1 เดือน
บทคัดย่อ :การศึกษาโดยใช้ต้นไม้ 4 ชนิด ที่มีอายุประมาณครึ่งเดือน จำนวน 4 ต้น โดยจะละลายยากันยุง(ชนิดน้ำ)กับน้ำเปล่า โดยวัดปริมาณของยากันยุงและน้ำเปล่า ให้มีปริมาณที่พอดีกัน ในการรดน้ำต้นไม้ และจะใช้เวลาศึกษาประมาณ 2 สัปดาห์ บันทึกข้อมูลทุกๆ 2-3วัน เพื่อดูการเปลี่ยนแปลงของต้นไม้แต่ละชนิด ว่ารากของต้นไม้แต่ละชนิดจะสามารถมีความทนทานต่อสารเคมีได้นานเท่าใด
ถ้าหากครบ 2 สัปดาห์แล้วต้นไม้ยังสามารถเจริญเติบโตไปได้ ก็แสดงว่า รากของต้นไม้ชนิดนั้นมีความแข็งแรงและทนทานต่อยากันยุงได้ดีที่สุด

ที่มา : http://www.nb2.go.th/~suwanpit/sc/project/project_files/BIOLOGY/BIO_21.HTM

รูปภาพของ puangtip

Frownครูยังไม่ชัดเจนว่ากลุ่มนักเรียนสนใจเรื่องนี้เพื่อนำไปใช้ประโยชน์อย่างไร หรือมีจุดประสงค์อย่างไร

ยินดีที่พบกัน.......ครู พวงทิพย์ วีระณรงค์ โรงเรียนสตรีศรีสุริโยทัย

โครงงาน : ฟิสิกส์
ชื่อโครงงาน : BIKE MOWER ~ จักรยานตัดหญ้า
ชื่อครูที่ปรึกษา : คุณครูพวงทิพย์ วีระณรงค์
ชื่อผู้ทำโครงงาน : นส.ชุติภัทร์ จินตนาภูษิต ม.5/7 เลขที่ 1
นส.เพชรรัตน์ สุวรรณ ,, ,, 17
นส.นพหทัย วสะสมิทธ์ ,, ,, 29

บทคัดย่อ : ในปัจจุบันสังคมของเรากำลังพัฒนาอย่างต่อเนื่อง เพราะสังคมปัจจุบันเป็นสังคมแห่งการแข่งขัน เทคโนโลยีเข้ามามีบทบาทในชีวิตเรามากขึ้น ผู้คนตื่นตัวกันมากขึ้น หลายๆอย่างกำลังได้รับการพัฒนา แต่ใช่ว่าจะมีผลดีเกิดขึ้น ยังมีผลเสียตามมาอีกมากมาย ที่เห็นได้ชัดก็คือระบบเศรษฐกิจที่กำลังเกิดปัญหา และทางด้านทรัพยากรสิ่งแวดล้อมก็ล้วนแต่จะได้รับความเสียหายและเกิดมลพิษ อีกทั้งสุขภาพร่างกายของคนในสังคมก็ไม่ค่อยดีนัก เพราะไม่มีเวลาออกกำลังกาย เนื่องจากชีวิตประจำวันต้องเร่งรับกับการทำงาน และด้วยเหตุผลนี้เองที่ทำให้กลุ่มของข้าพเจ้าจัดทำโครงงาน “จักรยานตัดหญ้า” ขึ้นมา ด้วยเหตุผลที่ว่า จักรยานตัดหญ้า ที่จัดทำขึ้นมานี้ นอกจากจะเป็นเครื่องมือที่ใช้ผ่อนแรง อำนวยความสะดวกในการทำงานได้แล้ว ยังเป็นการประหยัดค่าใช้จ่าย เพราะอุปกรณ์ที่ใช้ทำเครื่องตัดหญ้านั้น เราจะใช้ใบมีดขนาดใหญ่มาต่อกับเฟืองที่ใช้ควบคุมการทำงานของใบมีดในจักรยานตัดหญ้า และนำชุดอุปกรณ์ที่ต่อเสร็จแล้วไปต่อพ่วงต่อกับจักรยานอีกที เพื่อให้อุปกรณ์ตัดหญ้าสามารถทำงานได้ในขณะที่เราปั่นจักรยาน จะเห็นได้ว่าอุปกรณีตัดหญ้าที่ทำขึ้นมานี้จะมีราคาถูกกว่า และมีน้ำหนักน้อยกว่าเครื่องตัดหญ้าของจริงในปัจจุบัน และที่สำคัญยังเป็นการออกกำลังกายไปในตัว ได้ทั้งงาน ได้ส่งเสริมสุขภาพร่างกาย ประหยัดค่าใช้จ่าย และยังช่วยให้ทำงานได้อย่างเพลิดเพลินและไม่น่าเบื่ออีกด้วย

คณะผู้จัดทำ

มหาวิทยาลัยศรีปทุม ผู้ใหญ่ใจดี
 

 ช่วยด้วยครับ
นักเรียนที่สร้างบล็อก กรุณาอย่า
คัดลอกข้อมูลจากเว็บอื่นทั้งหมด
ควรนำมาจากหลายๆ เว็บ แล้ววิเคราะห์ สังเคราะห์ และเขียนขึ้นใหม่
หากคัดลอกทั้งหมด จะถูกดำเนินคดี
ตามกฎหมายจากเจ้าของลิขสิทธิ์
มีโทษทั้งจำคุกและปรับในอัตราสูง

ช่วยกันนะครับ 
ไทยกู๊ดวิวจะได้อยู่นานๆ 
ไม่ถูกปิดเสียก่อน

ขอขอบคุณในความร่วมมือครับ

อ่านรายละเอียด

ด่วน...... ขณะนี้
พระราชบัญญัติลิขสิทธิ์ (ฉบับที่ 2) พ.ศ. 2558 
มีผลบังคับใช้แล้ว 
ขอให้นักเรียนและคุณครูที่ใช้งาน
เว็บ thaigoodview ในการส่งการบ้าน
ระมัดระวังการละเมิดลิขสิทธิ์ด้วย
อ่านรายละเอียดที่นี่ครับ

 

สมาชิกที่ออนไลน์

ขณะนี้มี สมาชิก 0 คน และ ผู้เยี่ยมชม 489 คน กำลังออนไลน์