• user warning: Table 'cache_filter' is marked as crashed and should be repaired query: SELECT data, created, headers, expire, serialized FROM cache_filter WHERE cid = '3:3484c9fd2191491d61f7118c2b17bd42' in /home/tgv/htdocs/includes/cache.inc on line 27.
  • user warning: Table 'cache_filter' is marked as crashed and should be repaired query: UPDATE cache_filter SET data = '<!--paging_filter--><p>\n<span style=\"color: #0000ff\"><strong>สวัสดีค่ะ</strong></span><span style=\"color: #000000\">นักเรียนที่รัก...........<img border=\"0\" src=\"/sites/all/modules/tinymce/tinymce/jscripts/tiny_mce/plugins/emotions/images/smiley-smile.gif\" alt=\"Smile\" title=\"Smile\" /></span>\n</p>\n<p>\n<span style=\"color: #000000\">           เทอม 1 ปีการศึกษา 2552 มีเนื้อหาที่ต้องเรียนรวม 3 บท ได้แก่เรื่อง</span> ของไหล ความร้อน และคลื่นกล\n</p>\n<p>\n<span style=\"color: #000000\">เมื่อเรียนจบบท นักเรียนควรมีความรู้ความสามารถในเรื่องต่อไปนี้</span>\n</p>\n<p>\n<strong><span style=\"color: #0000ff\">บทที่ 9 ของไหล</span></strong><br />\n1. อธิบายความหมายของความหนาแน่นและความหนาแน่นสัมพัทธ์<br />\n2. อธิบายความหมายของความดันในของเหลว ทดลองและวิเคราะห์หาความสัมพันธ์ระหว่างความดันในของเหลวกับความหนาแน่น ความดันกับความลึกของของเหลว <br />\n3. อธิบายความหมายและหาความสัมพันธ์ระหว่างความดันเกจและความดันสัมบูรณ์ของของเหลว และคำนวณหาปริมาณทั้งสองจากสถานการณ์ที่กำหนดให้<br />\n4. วิเคราะห์และอธิบายหลักการทำงานของเครื่องมือวัดความดันต่าง ๆ ได้ รวมทั้งอธิบายปรากฏการณ์ เครื่องมือ หรืออุปกรณ์ที่เกี่ยวข้องกับความดัน<br />\n5. อธิบายกฎของพาสคัล วิเคราะห์หาความสัมพันธ์ตามกฎของพาสคัล และนำกฎของพาสคัลไปอธิบายการทำงานของเครื่องอัดไฮดรอลิก และคำนวณหาปริมาณต่าง ๆ จากสถานการณ์ที่กำหนดให้ได้<br />\n6. ทดลองและวิเคราะห์หาแรงลอยตัวที่ของเหลวกระทำต่อวัตถุในของเหลว และคำนวณหาปริมาณต่าง ๆที่เกี่ยวข้องได้<br />\n7. อธิบายหลักของอาร์คิมีดีส นำหลักของอาร์คิมีดีสไปใช้อธิบายและแก้ปัญหาที่เกี่ยวข้องได้<br />\n8. อธิบายความหมายของแรงดึงผิวและความตึงผิวได้<br />\n9. ทดลองและวิเคราะห์หาความตึงผิวของของเหลวและคำนวณหาปริมาณต่าง ๆที่เกี่ยวข้องได้<br />\n10. อธิบายปรากฎการณ์ที่เกี่ยวข้องกับความตึงผิว ได้แก่ความโค้งของผิวของเหลว และการซึมตามรูเล็กได้<br />\n11. อธิบายความหมายของความหนืดและแรงหนืดในของเหลว และวิเคราะห์หาแรงหนืดที่กระทำต่อวัตถุที่เคลื่อนที่ในของเหลวได้<br />\n12. อธิบายความหมายของของไหลในอุดมคติ เส้นกระแส และหลอดการไหลได้<br />\n13. วิเคราะห์หาความสัมพันธ์ตามสมการความต่อเนื่อง สมการของแบร์นูลลีและคำนวณหาปริมาณต่าง ๆที่เกี่ยวข้องได้<br />\n14. อธิบายหลักของแบร์นูลลี และทำกิจกรรมเพื่อตรวจสอบหลักของแบร์นูลลี<br />\n15. นำสมการของแบร์นูลลีไปอธิบายปรากฎการณ์ที่เกี่ยวข้องได้\n</p>\n<p>\n<span style=\"color: #0000ff\"><strong>บทที่ 10 ความร้อน</strong></span><br />\n1. บอกได้ว่าความร้อนเป็นพลังงานรูปหนึ่ง อาจแปลงรูปมาจากพลังงานรูปอื่น<br />\n2. ทำกิจกรรมเพื่อศึกษาว่า พลังงานความร้อนแปลงรูปมาจากพลังงานกลได้ พร้อมทั้งยกตัวอย่างและอธิบายได้ว่าพลังงานความร้อนสามารถแปลงรูปมาจากพลังงานรูปอื่น<br />\n3. บอกความหมายของความจุความร้อน และความจุความร้อนจำเพาะ และคำนวณหาปริมาณทั้งสองได้เมื่อกำหนดสถานการณ์ให้<br />\n4. อธิบายความหมายของอุณหภูมิศูนย์สัมบูรณ์ และบอกความสัมพันธ์ระหว่างอุณหภูมิสัมบูรณ์ในหน่วยเคลวิน กับอุณหภูมิในหน่วยองศาเซลเซียส<br />\n5. บอกความหมายของสมดุลความร้อน<br />\n6. บอกได้ว่าการถ่ายโอนพลังงานความร้อนระหว่างวัตถุ เป็นไปตามกฎการอนุรักษ์พลังงาน<br />\n7. บอกได้ว่า พลังงานความร้อนนอกจากทำให้สารมีการเปลี่ยนอุณหภูมิแล้ว ยังทำให้สารมีการเปลี่ยนสถานะได้อีกด้วย และคำนวณหาพลังงานความร้อนปริมาณดังกล่าวนี้<br />\n8. บอกความหมายของความร้อนแฝงและความร้อนจำเพาะของสาร และคำนวณหาปริมาณดังกล่าวได้ เมื่อกำหนดสถานการณ์ให้<br />\n9. บอกได้ว่า พลังงานความร้อนทำให้สารขยายตัว<br />\n10. ทำการทดลองหาความสัมพันธ์ระหว่างความดันและปริมาตรของแก๊สในภาชนะปิด เมื่ออุณหภูมิคงตัว และสรุปได้ว่าความดันของแก๊สแปรผกผันกับปริมาตรของแก๊ส พร้อมทั้งบอกได้ว่าข้อสรุปนี้คือ กฎของบอยล์<br />\n11. ทำการทดลองหาความสัมพันธ์ระหว่าง ปริมาตรและอุณหภูมิของแก๊สในภาชนะปิดเมื่อความดันคงตัว และสรุปได้ว่า ปริมาตรของแก๊สแปรผันตรงกับอุณหภูมิสัมบูรณ์ พร้อมทั้งบอกได้ว่า ข้อสรุปนี้ตือกฎของชาร์ล<br />\n12. นำกฎของบอยล์และกฎของชาร์ลมาศึกษาร่วนกันและสรุปได้ว่ามีค่าคงตัว และความดันแปรผันตรงกับอุณหภูมิสัมบูรณ์ เมื่อปริมาตรคงตัว พร้อมทั้งบอกได้ว่า ความสัมพันธ์นี้เป็น กฎของเกย์ – ลูสแซก<br />\n13. นำกฎของบอยล์และกฎของชาร์ล มาสรุปเป็นกฎของแก๊สได้<br />\n14. นำความรู้เรื่องแบบจำลองของแก๊ส และความรู้ที่เกี่ยวข้อง ไปอธิบายความดันตามทฤษฎีจลน์ของแก๊ส และหาความสัมพันธ์ระหว่าง ความดัน ปริมาตร จำนวนโมเลกุล และอัตราเร็วของโมเลกุลของแก๊ส<br />\n15. อธิบายความสัมพันธ์ระหว่าง อุณหภูมิกับพลังงานจลน์เฉลี่ยของโมเลกุลของแก๊สได้ พร้อมทังใช้ความสัมพันธ์นี้คำนวณหาปริมาณต่าง ๆ ที่เกี่ยวข้องกับสถานการณ์ที่กำหนดให้ได้<br />\n16. นำความรู้เรื่องทฤษฎีจลน์ของแก๊ส และกฎการอนุรักษ์พลังงานไปอธิบายการเปลี่ยนแปลงพลังงานภายในระบบของแก๊ส<br />\n17. นำความรู้เรื่องทฤษฎีจลน์ของแก๊ส ไปอธิบายปรากฏการณ์ต่าง ๆ ในชีวิตประจำวัน เช่น เครื่องยนต์ แบบต่าง ๆ ไอน้ำในอากาศและความดันไอ ตลอดจนการถ่ายโอนความร้อนขวดเทอร์มอส ใยแก้วและโฟมขาว\n</p>\n<p>\n<span style=\"color: #0000ff\"><strong>บทที่ 11 คลื่นกล</strong></span><br />\n1. อธิบายการเกิดคลื่นกล การเคลื่อนที่แบบฮาร์มอนิคอย่างง่าย ความแตกต่างระหว่างคลื่นตามขวาง และคลื่นตามยาว<br />\n2. อธิบายความหมายของ สันคลื่น ท้องคลื่น แอมพลิจูด ความยาวคลื่น อัตราเร็วคลื่น ความถี่ คาบ เฟส และหน้าคลื่น<br />\n3. อธิบายความสัมพันธ์ระหว่าง อัตราเร็วคลื่น ความถี่ และความยาวคลื่น และนำความสัมพันธ์ดังกล่าวไปแก้ปัญหาที่กำหนดได้<br />\n4. อธิบายการซ้อนทับของคลื่น และเขียนภาพของคลื่นใหม่ ที่เกิดจากการซ้อนทับของคลื่นสองคลื่น<br />\n5. ทำการทดลองเกี่ยวกับการสะท้อนของคลื่นผิวน้ำ และสรุปผลการทดลองเป็นกฎการสะท้อน และอธิบายความหมายพร้อมยกตัวอย่างการสะท้อนของคลื่น<br />\n6. ทำการทดลองเกี่ยวกับการหักเหของคลื่นผิวน้ำ  และอธิบายความหมายพร้อมยกตัวอย่างการหักเหของคลื่น<br />\n7. อธิบายความสัมพันธ์ระหว่างไซน์ของมุมตกกระทบ ไซน์ของมุมหักเห อัตราเร็วของคลื่นตกกระทบ และอัตราเร็วของคลื่นหักเห และนำความสัมพันธ์นี้ไปแก้ปัญหาที่กำหนดให้ได้<br />\n8. ทำการทดลองเกี่ยวกับการแทรกสอดของคลื่นผิวน้ำจากแหล่งกำเนิดอาพันธ์ และอธิบายความหมายการแทรกสอด<br />\n9. อธิบายความหมายของ บัพ เส้นบัพ ปฏิบัพ และเส้นปฏิบัพ<br />\n10. อธิบายความสัมพันธ์ระหว่าง ความยาวคลื่นและความต่างระยะทาง ของตำแห่งบัพและปฏิบัพ และนำความสัมพันธ์ดังกล่าวไปแก้ปัญหาที่กำหนดให้ได้<br />\n11. อธิบายการเกิดคลื่นนิ่ง ของคลื่นผิวน้ำและคลื่นในเส้นเชือก<br />\n12. ทำการทดลองเกี่ยวกับการเลี้ยวเบนของคลื่นผิวน้ำ<br />\n13. อธิบายหลักของฮอยเกนส์ ใช้หลักของฮอย์เกนส์และความรู้เกี่ยวกับการซ้อนทับของคลื่น อธิบายการเลี้ยวเบนของคลื่น<br />\n14. สืบค้นข้อมูลและอธิบายปรากฏการณ์ที่เกี่ยวข้องกับสมบัติของคลื่น<br />\n15. อธิบายการสั่นพ้องของคลื่น\n</p>\n<p>\n<span style=\"color: #ff0000\"><strong><span style=\"color: #0000ff\">เมื่อเรียนจบแต่ละเรื่อง</span>อย่าลืม</strong><span style=\"color: #000000\"><span style=\"color: #000000\">ถามตัวเองว่ารู้ครบทุกหัวข้อหรือยัง</span><strong>...........</strong></span><strong>ถ้ายัง<img border=\"0\" src=\"/sites/all/modules/tinymce/tinymce/jscripts/tiny_mce/plugins/emotions/images/smiley-cry.gif\" alt=\"Cry\" title=\"Cry\" />.........รีบ</strong></span><span style=\"color: #000000\">ค้นคว้าเพิ่มเติม/มาปรึกษาครู</span>\n</p>\n<p>\n<strong></strong>\n</p>\n<p>\n<strong>คอยติดตามตอนต่อไป</strong>......นะคะ...<img border=\"0\" src=\"/sites/all/modules/tinymce/tinymce/jscripts/tiny_mce/plugins/emotions/images/smiley-smile.gif\" alt=\"Smile\" title=\"Smile\" />\n</p>\n<p>\n<strong><span style=\"color: #ff00ff\"><a href=\"/node/21481\" title=\"job1\">ติดตามงานชิ้นที่ 1 ที่นี่</a></span></strong>\n</p>\n', created = 1714453863, expire = 1714540263, headers = '', serialized = 0 WHERE cid = '3:3484c9fd2191491d61f7118c2b17bd42' in /home/tgv/htdocs/includes/cache.inc on line 112.

จากครู พวงทิพย์ ถึงนักเรียน ม.5 (ห้อง 6-8) รายวิชาฟิสิกส์พื้นฐานและเพิ่มเติม เทอม 1 ปีการศึกษา 2552

รูปภาพของ puangtip

สวัสดีค่ะนักเรียนที่รัก...........Smile

           เทอม 1 ปีการศึกษา 2552 มีเนื้อหาที่ต้องเรียนรวม 3 บท ได้แก่เรื่อง ของไหล ความร้อน และคลื่นกล

เมื่อเรียนจบบท นักเรียนควรมีความรู้ความสามารถในเรื่องต่อไปนี้

บทที่ 9 ของไหล
1. อธิบายความหมายของความหนาแน่นและความหนาแน่นสัมพัทธ์
2. อธิบายความหมายของความดันในของเหลว ทดลองและวิเคราะห์หาความสัมพันธ์ระหว่างความดันในของเหลวกับความหนาแน่น ความดันกับความลึกของของเหลว
3. อธิบายความหมายและหาความสัมพันธ์ระหว่างความดันเกจและความดันสัมบูรณ์ของของเหลว และคำนวณหาปริมาณทั้งสองจากสถานการณ์ที่กำหนดให้
4. วิเคราะห์และอธิบายหลักการทำงานของเครื่องมือวัดความดันต่าง ๆ ได้ รวมทั้งอธิบายปรากฏการณ์ เครื่องมือ หรืออุปกรณ์ที่เกี่ยวข้องกับความดัน
5. อธิบายกฎของพาสคัล วิเคราะห์หาความสัมพันธ์ตามกฎของพาสคัล และนำกฎของพาสคัลไปอธิบายการทำงานของเครื่องอัดไฮดรอลิก และคำนวณหาปริมาณต่าง ๆ จากสถานการณ์ที่กำหนดให้ได้
6. ทดลองและวิเคราะห์หาแรงลอยตัวที่ของเหลวกระทำต่อวัตถุในของเหลว และคำนวณหาปริมาณต่าง ๆที่เกี่ยวข้องได้
7. อธิบายหลักของอาร์คิมีดีส นำหลักของอาร์คิมีดีสไปใช้อธิบายและแก้ปัญหาที่เกี่ยวข้องได้
8. อธิบายความหมายของแรงดึงผิวและความตึงผิวได้
9. ทดลองและวิเคราะห์หาความตึงผิวของของเหลวและคำนวณหาปริมาณต่าง ๆที่เกี่ยวข้องได้
10. อธิบายปรากฎการณ์ที่เกี่ยวข้องกับความตึงผิว ได้แก่ความโค้งของผิวของเหลว และการซึมตามรูเล็กได้
11. อธิบายความหมายของความหนืดและแรงหนืดในของเหลว และวิเคราะห์หาแรงหนืดที่กระทำต่อวัตถุที่เคลื่อนที่ในของเหลวได้
12. อธิบายความหมายของของไหลในอุดมคติ เส้นกระแส และหลอดการไหลได้
13. วิเคราะห์หาความสัมพันธ์ตามสมการความต่อเนื่อง สมการของแบร์นูลลีและคำนวณหาปริมาณต่าง ๆที่เกี่ยวข้องได้
14. อธิบายหลักของแบร์นูลลี และทำกิจกรรมเพื่อตรวจสอบหลักของแบร์นูลลี
15. นำสมการของแบร์นูลลีไปอธิบายปรากฎการณ์ที่เกี่ยวข้องได้

บทที่ 10 ความร้อน
1. บอกได้ว่าความร้อนเป็นพลังงานรูปหนึ่ง อาจแปลงรูปมาจากพลังงานรูปอื่น
2. ทำกิจกรรมเพื่อศึกษาว่า พลังงานความร้อนแปลงรูปมาจากพลังงานกลได้ พร้อมทั้งยกตัวอย่างและอธิบายได้ว่าพลังงานความร้อนสามารถแปลงรูปมาจากพลังงานรูปอื่น
3. บอกความหมายของความจุความร้อน และความจุความร้อนจำเพาะ และคำนวณหาปริมาณทั้งสองได้เมื่อกำหนดสถานการณ์ให้
4. อธิบายความหมายของอุณหภูมิศูนย์สัมบูรณ์ และบอกความสัมพันธ์ระหว่างอุณหภูมิสัมบูรณ์ในหน่วยเคลวิน กับอุณหภูมิในหน่วยองศาเซลเซียส
5. บอกความหมายของสมดุลความร้อน
6. บอกได้ว่าการถ่ายโอนพลังงานความร้อนระหว่างวัตถุ เป็นไปตามกฎการอนุรักษ์พลังงาน
7. บอกได้ว่า พลังงานความร้อนนอกจากทำให้สารมีการเปลี่ยนอุณหภูมิแล้ว ยังทำให้สารมีการเปลี่ยนสถานะได้อีกด้วย และคำนวณหาพลังงานความร้อนปริมาณดังกล่าวนี้
8. บอกความหมายของความร้อนแฝงและความร้อนจำเพาะของสาร และคำนวณหาปริมาณดังกล่าวได้ เมื่อกำหนดสถานการณ์ให้
9. บอกได้ว่า พลังงานความร้อนทำให้สารขยายตัว
10. ทำการทดลองหาความสัมพันธ์ระหว่างความดันและปริมาตรของแก๊สในภาชนะปิด เมื่ออุณหภูมิคงตัว และสรุปได้ว่าความดันของแก๊สแปรผกผันกับปริมาตรของแก๊ส พร้อมทั้งบอกได้ว่าข้อสรุปนี้คือ กฎของบอยล์
11. ทำการทดลองหาความสัมพันธ์ระหว่าง ปริมาตรและอุณหภูมิของแก๊สในภาชนะปิดเมื่อความดันคงตัว และสรุปได้ว่า ปริมาตรของแก๊สแปรผันตรงกับอุณหภูมิสัมบูรณ์ พร้อมทั้งบอกได้ว่า ข้อสรุปนี้ตือกฎของชาร์ล
12. นำกฎของบอยล์และกฎของชาร์ลมาศึกษาร่วนกันและสรุปได้ว่ามีค่าคงตัว และความดันแปรผันตรงกับอุณหภูมิสัมบูรณ์ เมื่อปริมาตรคงตัว พร้อมทั้งบอกได้ว่า ความสัมพันธ์นี้เป็น กฎของเกย์ – ลูสแซก
13. นำกฎของบอยล์และกฎของชาร์ล มาสรุปเป็นกฎของแก๊สได้
14. นำความรู้เรื่องแบบจำลองของแก๊ส และความรู้ที่เกี่ยวข้อง ไปอธิบายความดันตามทฤษฎีจลน์ของแก๊ส และหาความสัมพันธ์ระหว่าง ความดัน ปริมาตร จำนวนโมเลกุล และอัตราเร็วของโมเลกุลของแก๊ส
15. อธิบายความสัมพันธ์ระหว่าง อุณหภูมิกับพลังงานจลน์เฉลี่ยของโมเลกุลของแก๊สได้ พร้อมทังใช้ความสัมพันธ์นี้คำนวณหาปริมาณต่าง ๆ ที่เกี่ยวข้องกับสถานการณ์ที่กำหนดให้ได้
16. นำความรู้เรื่องทฤษฎีจลน์ของแก๊ส และกฎการอนุรักษ์พลังงานไปอธิบายการเปลี่ยนแปลงพลังงานภายในระบบของแก๊ส
17. นำความรู้เรื่องทฤษฎีจลน์ของแก๊ส ไปอธิบายปรากฏการณ์ต่าง ๆ ในชีวิตประจำวัน เช่น เครื่องยนต์ แบบต่าง ๆ ไอน้ำในอากาศและความดันไอ ตลอดจนการถ่ายโอนความร้อนขวดเทอร์มอส ใยแก้วและโฟมขาว

บทที่ 11 คลื่นกล
1. อธิบายการเกิดคลื่นกล การเคลื่อนที่แบบฮาร์มอนิคอย่างง่าย ความแตกต่างระหว่างคลื่นตามขวาง และคลื่นตามยาว
2. อธิบายความหมายของ สันคลื่น ท้องคลื่น แอมพลิจูด ความยาวคลื่น อัตราเร็วคลื่น ความถี่ คาบ เฟส และหน้าคลื่น
3. อธิบายความสัมพันธ์ระหว่าง อัตราเร็วคลื่น ความถี่ และความยาวคลื่น และนำความสัมพันธ์ดังกล่าวไปแก้ปัญหาที่กำหนดได้
4. อธิบายการซ้อนทับของคลื่น และเขียนภาพของคลื่นใหม่ ที่เกิดจากการซ้อนทับของคลื่นสองคลื่น
5. ทำการทดลองเกี่ยวกับการสะท้อนของคลื่นผิวน้ำ และสรุปผลการทดลองเป็นกฎการสะท้อน และอธิบายความหมายพร้อมยกตัวอย่างการสะท้อนของคลื่น
6. ทำการทดลองเกี่ยวกับการหักเหของคลื่นผิวน้ำ  และอธิบายความหมายพร้อมยกตัวอย่างการหักเหของคลื่น
7. อธิบายความสัมพันธ์ระหว่างไซน์ของมุมตกกระทบ ไซน์ของมุมหักเห อัตราเร็วของคลื่นตกกระทบ และอัตราเร็วของคลื่นหักเห และนำความสัมพันธ์นี้ไปแก้ปัญหาที่กำหนดให้ได้
8. ทำการทดลองเกี่ยวกับการแทรกสอดของคลื่นผิวน้ำจากแหล่งกำเนิดอาพันธ์ และอธิบายความหมายการแทรกสอด
9. อธิบายความหมายของ บัพ เส้นบัพ ปฏิบัพ และเส้นปฏิบัพ
10. อธิบายความสัมพันธ์ระหว่าง ความยาวคลื่นและความต่างระยะทาง ของตำแห่งบัพและปฏิบัพ และนำความสัมพันธ์ดังกล่าวไปแก้ปัญหาที่กำหนดให้ได้
11. อธิบายการเกิดคลื่นนิ่ง ของคลื่นผิวน้ำและคลื่นในเส้นเชือก
12. ทำการทดลองเกี่ยวกับการเลี้ยวเบนของคลื่นผิวน้ำ
13. อธิบายหลักของฮอยเกนส์ ใช้หลักของฮอย์เกนส์และความรู้เกี่ยวกับการซ้อนทับของคลื่น อธิบายการเลี้ยวเบนของคลื่น
14. สืบค้นข้อมูลและอธิบายปรากฏการณ์ที่เกี่ยวข้องกับสมบัติของคลื่น
15. อธิบายการสั่นพ้องของคลื่น

เมื่อเรียนจบแต่ละเรื่องอย่าลืมถามตัวเองว่ารู้ครบทุกหัวข้อหรือยัง...........ถ้ายังCry.........รีบค้นคว้าเพิ่มเติม/มาปรึกษาครู

คอยติดตามตอนต่อไป......นะคะ...Smile

ติดตามงานชิ้นที่ 1 ที่นี่

มหาวิทยาลัยศรีปทุม ผู้ใหญ่ใจดี
 

 ช่วยด้วยครับ
นักเรียนที่สร้างบล็อก กรุณาอย่า
คัดลอกข้อมูลจากเว็บอื่นทั้งหมด
ควรนำมาจากหลายๆ เว็บ แล้ววิเคราะห์ สังเคราะห์ และเขียนขึ้นใหม่
หากคัดลอกทั้งหมด จะถูกดำเนินคดี
ตามกฎหมายจากเจ้าของลิขสิทธิ์
มีโทษทั้งจำคุกและปรับในอัตราสูง

ช่วยกันนะครับ 
ไทยกู๊ดวิวจะได้อยู่นานๆ 
ไม่ถูกปิดเสียก่อน

ขอขอบคุณในความร่วมมือครับ

อ่านรายละเอียด

ด่วน...... ขณะนี้
พระราชบัญญัติลิขสิทธิ์ (ฉบับที่ 2) พ.ศ. 2558 
มีผลบังคับใช้แล้ว 
ขอให้นักเรียนและคุณครูที่ใช้งาน
เว็บ thaigoodview ในการส่งการบ้าน
ระมัดระวังการละเมิดลิขสิทธิ์ด้วย
อ่านรายละเอียดที่นี่ครับ

 

สมาชิกที่ออนไลน์

ขณะนี้มี สมาชิก 0 คน และ ผู้เยี่ยมชม 378 คน กำลังออนไลน์