• user warning: Table 'cache_filter' is marked as crashed and should be repaired query: SELECT data, created, headers, expire, serialized FROM cache_filter WHERE cid = '3:fe464d7cea046d2eb1d32012d7ca0b57' in /home/tgv/htdocs/includes/cache.inc on line 27.
  • user warning: Table 'cache_filter' is marked as crashed and should be repaired query: UPDATE cache_filter SET data = '<!--paging_filter--><p>\nนักวิจัยบีอาร์ทีพบพืชสกุล “ปาหนัน” ชนิดใหม่ของโลก 3 ชนิด จากที่สำรวจพบในประเทศไทย 20 ชนิด เผยบางชนิดมีฤทธิ์ทางยา เช่น เป็นยาลดไข้   ใช้กันอย่างแพร่หลายในชนพื้นเมืองคาบสมุทรมลายู ล่าสุดมีรายงานพบสารต้านเนื้องอกและเซลล์มะเร็ง ระบุปาหนันชนิดที่พบสารดังกล่าวเป็นชนิดที่พบในเมืองไทย\n</p>\n<p>\nดร.ยุธยา อยู่เย็น คณะวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี มหาวิทยาลัยราชภัฏสวนดุสิต ร่วมกับ รศ. ดร.วิไลวรรณ อนุสารสุนทร ภาควิชาชีววิทยา คณะวิทยาศาสตร์ มหาวิทยาลัยเชียงใหม่ และ ดร. ปิยะ เฉลิมกลิ่น ฝ่ายเทคโนโลยีการเกษตร สถาบันวิจัยวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยีแห่งประเทศไทย ศึกษาความหลากหลายของพืชสกุลปาหนัน ซึ่งเป็นพืชในวงศ์เดียวกับกระดังงา ซึ่งเป็นที่รู้จักแพร่หลายของคนไทยในฐานะไม้ดอกโบราณที่มีกลิ่นหอมเย็น ภายใต้การสนับสนุนของ “โครงการปริญญาเอกกาญจนาภิเษก” และ “โครงการพัฒนาองค์ความรู้และศึกษานโยบายการจัดการทรัพยากรชีวภาพในประเทศไทย (โครงการBRT)” โดยจากการสำรวจพืชสกุลดังกล่าว พบว่าในประเทศไทยพบประมาณ 20 ชนิด จากประมาณ 120 ชนิดทั่วโลก\n</p>\n<p>\n“พืชสกุลปาหนันมีศูนย์กลางการกระจายพันธุ์ในแถบภูมิภาคเอเชียตะวันออกเฉียงใต้ ตั้งแต่ประเทศไทยลงไปถึงคาบสมุทรมลายู โดยเกาะบอร์เนียวมีความหลากหลายมากที่สุด ประมาณ 30 ชนิด บริเวณคาบสมุทรมาลายูจำนวน 21 ชนิด และเกาะสุมาตราจำนวน 15 ชนิด ในประเทศไทยพบในทุกภาคแต่มีความหลากหลายมากในทางภาคใต้ตอนล่าง โดยทั่วไปมักพบขึ้นอยู่ตามบริเวณพื้นล่างของป่าดิบชื้น หรือป่าดิบเขา ซึ่งจากจำนวนชนิดที่พบ 20 ชนิดถือได้ว่าประเทศไทยมีความหลายหลายของพืชในสกุลปาหนันค่อนข้างสูงเช่นเดียวกัน” ดร.ยุธยา กล่าว\n</p>\n<p>\nลักษณะโดยทั่วไปของพืชสกุลปาหนันเป็นไม้ยืนต้นขนาดเล็กหรือไม้พุ่ม ออกดอกเป็นกระจุกตามลำต้น กิ่งหรือซอกใบ มีทั้งดอกขนาดเล็กเพียง 1 เซนติเมตร เช่น ดอกปาหนันจิ๋ว จนถึงดอกขนาดใหญ่ 6-12 เซนติเมตร เช่น ปาหนันช้าง ดอกมีสีเขียว ครีม เหลือง ชมพู หรือ ส้ม แล้วแต่ชนิด โดยมากมีกลิ่นหอมอ่อนๆ บางชนิดออกดอกตลอดทั้งปี แต่ส่วนมากออกดอกในช่วงเดือนมีนาคมถึงเดือนพฤษภาคม\n</p>\n<p>\nจากผลการสำรวจพบพืชสกุลปาหนันชนิดใหม่ของโลก 3 ชนิด ได้แก่ Goniothalamus aurantiacus, Goniothalamus maewongensis และ Goniothalamus rongklanus ซึ่งรายงานโดยดร. Richard M. K. Suanders และ ดร.ปิยะ เฉลิมกลิ่น และได้ตีพิมพ์แล้วในวารสาร Botanical Journal of the Linnean Society นอกจากนี้ยังได้ค้นพบพืชสกุลปาหนันชนิดที่ยังไม่เคยมีรายงานว่าเคยพบในประเทศไทย 5 ชนิด คือ ปาหนันจิ๋ว (G. elegans) ปาหนันยักษ์ (G. cheliensis) แสดสยาม (G. repevensis) บุหงาหยิก (G. sawtehii) และ ปาหนันผอม (G. umbrosus)\n</p>\n<p>\nในแง่ของการใช้ประโยชน์ ดร.ยุธยา กล่าวว่า ชาวพื้นเมืองในท้องที่ต่างๆ แถบคาบสมุทรมลายูมีภูมิปัญญาพื้นบ้านในการนำปาหนันมาใช้เป็นยารักษาโรคในกลุ่มของคนพื้นเมืองในท้องที่ต่างๆ เช่น เป็นยาสำหรับผู้หญิงคลอดบุตร โดยใช้ต้นกิ่งเดียวดอกเดียว ปาหนันผอม และ บุหงาลำเจียก นอกจากนี้ชาวชวายังมีการนำเอารากต้นกิ่งเดียวดอกเดียวมาใช้ในการเป็นยาลดไข้ได้อีกด้วย สำหรับชาวไทยนั้นยังไม่ค่อยมีการใช้ประโยชน์ในด้านอื่นๆ นอกจากเป็นไม้ดอกไม้ประดับ เนื่องจากเป็นพรรณไม้ที่มีกลิ่นหอมเย็น ดอกดก มีสีสันสวยงาม ลำต้นมีขนาดไม่ใหญ่จนเกินไป และมีใบเขียวตลอดทั้งปี เหมาะสำหรับผู้ที่ชื่นชอบสวนแบบไทยๆ ที่มีความร่มเย็นของพรรณไม้ รวมทั้งกลิ่นหอมของดอกในยามค่ำคืน ตัวอย่างของชนิดที่เหมาะสมนำมาใช้เป็นไม้ประดับได้แก่ สบันงาป่า ข้าวหลามดง แสดสยาม บุหงาหยิก บุหงาลำเจียก ปาหนันมรกต ปาหนันผอม และส่าเหล้าต้น เป็นต้น\n</p>\n<p>\nนอกจากจะมีประโยชน์ในการนำมาใช้รักษาโรคตามภูมิปัญญาพื้นบ้านแล้ว ปัจจุบันยังมีรายงานการศึกษาในต่างประเทศพบสารออกฤทธิ์ต้านเนื้องอกและเซลล์มะเร็งจากพืชสกุลปาหนันอีกด้วย โดยพืชในสกุลปาหนันที่เคยมีรายงานการศึกษาสารออกฤทธิ์ทางชีวภาพแล้วได้แก่ ปาหนันช้าง (G. giganteus), ปาหนันผอม (G. umbrosus), ปาหนันพรุ (G. malayanus), ปาหนันยักษ์ (G. cheliensis), ปาหนันจิ๋ว (G. elegans) และสบันงาป่า (G. griffithii) ทุกชนิดเป็นชนิดที่พบในเมืองไทย ซึ่งในขณะนี้ ดร.ยุธยา ได้ทำการศึกษาการออกฤทธิ์ในปาหนันหลายชนิด และพบว่าปาหนันบางชนิดมีฤทธิ์ต้านมะเร็งดีมาก ซึ่งจะทำการศึกษาในระดับลึกต่อไป\n</p>\n<p>\nจึงนับได้ว่านอกจากจะมีศักยภาพในด้านการนำมาใช้เป็นไม้ประดับเพื่อความสวยงามแล้ว พืชสกุลปาหนันยังมีศักยภาพในด้านการนำมาใช้รักษาโรคมะเร็งที่ยังรอการค้นคว้าต่อไป พืชสกุลปาหนันจึงเป็นพืชกลุ่มใหม่ที่ควรได้รับความสนใจในการนำมาพัฒนาเชิงเศรษฐกิจของประเทศไทยในอนาคตเป็นอย่างยิ่ง\n</p>\n<hr id=\"null\" />\n<p align=\"right\">\nโครงการพัฒนาองค์ความรู้และศึกษานโยบายการจัดการทรัพยากรชีวภาพในประเทศไทย (โครงการ BRT)\n</p>\n<p>\n&nbsp;\n</p>\n', created = 1719803644, expire = 1719890044, headers = '', serialized = 0 WHERE cid = '3:fe464d7cea046d2eb1d32012d7ca0b57' in /home/tgv/htdocs/includes/cache.inc on line 112.

"ปาหนัน" รักษาโรค

นักวิจัยบีอาร์ทีพบพืชสกุล “ปาหนัน” ชนิดใหม่ของโลก 3 ชนิด จากที่สำรวจพบในประเทศไทย 20 ชนิด เผยบางชนิดมีฤทธิ์ทางยา เช่น เป็นยาลดไข้   ใช้กันอย่างแพร่หลายในชนพื้นเมืองคาบสมุทรมลายู ล่าสุดมีรายงานพบสารต้านเนื้องอกและเซลล์มะเร็ง ระบุปาหนันชนิดที่พบสารดังกล่าวเป็นชนิดที่พบในเมืองไทย

ดร.ยุธยา อยู่เย็น คณะวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี มหาวิทยาลัยราชภัฏสวนดุสิต ร่วมกับ รศ. ดร.วิไลวรรณ อนุสารสุนทร ภาควิชาชีววิทยา คณะวิทยาศาสตร์ มหาวิทยาลัยเชียงใหม่ และ ดร. ปิยะ เฉลิมกลิ่น ฝ่ายเทคโนโลยีการเกษตร สถาบันวิจัยวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยีแห่งประเทศไทย ศึกษาความหลากหลายของพืชสกุลปาหนัน ซึ่งเป็นพืชในวงศ์เดียวกับกระดังงา ซึ่งเป็นที่รู้จักแพร่หลายของคนไทยในฐานะไม้ดอกโบราณที่มีกลิ่นหอมเย็น ภายใต้การสนับสนุนของ “โครงการปริญญาเอกกาญจนาภิเษก” และ “โครงการพัฒนาองค์ความรู้และศึกษานโยบายการจัดการทรัพยากรชีวภาพในประเทศไทย (โครงการBRT)” โดยจากการสำรวจพืชสกุลดังกล่าว พบว่าในประเทศไทยพบประมาณ 20 ชนิด จากประมาณ 120 ชนิดทั่วโลก

“พืชสกุลปาหนันมีศูนย์กลางการกระจายพันธุ์ในแถบภูมิภาคเอเชียตะวันออกเฉียงใต้ ตั้งแต่ประเทศไทยลงไปถึงคาบสมุทรมลายู โดยเกาะบอร์เนียวมีความหลากหลายมากที่สุด ประมาณ 30 ชนิด บริเวณคาบสมุทรมาลายูจำนวน 21 ชนิด และเกาะสุมาตราจำนวน 15 ชนิด ในประเทศไทยพบในทุกภาคแต่มีความหลากหลายมากในทางภาคใต้ตอนล่าง โดยทั่วไปมักพบขึ้นอยู่ตามบริเวณพื้นล่างของป่าดิบชื้น หรือป่าดิบเขา ซึ่งจากจำนวนชนิดที่พบ 20 ชนิดถือได้ว่าประเทศไทยมีความหลายหลายของพืชในสกุลปาหนันค่อนข้างสูงเช่นเดียวกัน” ดร.ยุธยา กล่าว

ลักษณะโดยทั่วไปของพืชสกุลปาหนันเป็นไม้ยืนต้นขนาดเล็กหรือไม้พุ่ม ออกดอกเป็นกระจุกตามลำต้น กิ่งหรือซอกใบ มีทั้งดอกขนาดเล็กเพียง 1 เซนติเมตร เช่น ดอกปาหนันจิ๋ว จนถึงดอกขนาดใหญ่ 6-12 เซนติเมตร เช่น ปาหนันช้าง ดอกมีสีเขียว ครีม เหลือง ชมพู หรือ ส้ม แล้วแต่ชนิด โดยมากมีกลิ่นหอมอ่อนๆ บางชนิดออกดอกตลอดทั้งปี แต่ส่วนมากออกดอกในช่วงเดือนมีนาคมถึงเดือนพฤษภาคม

จากผลการสำรวจพบพืชสกุลปาหนันชนิดใหม่ของโลก 3 ชนิด ได้แก่ Goniothalamus aurantiacus, Goniothalamus maewongensis และ Goniothalamus rongklanus ซึ่งรายงานโดยดร. Richard M. K. Suanders และ ดร.ปิยะ เฉลิมกลิ่น และได้ตีพิมพ์แล้วในวารสาร Botanical Journal of the Linnean Society นอกจากนี้ยังได้ค้นพบพืชสกุลปาหนันชนิดที่ยังไม่เคยมีรายงานว่าเคยพบในประเทศไทย 5 ชนิด คือ ปาหนันจิ๋ว (G. elegans) ปาหนันยักษ์ (G. cheliensis) แสดสยาม (G. repevensis) บุหงาหยิก (G. sawtehii) และ ปาหนันผอม (G. umbrosus)

ในแง่ของการใช้ประโยชน์ ดร.ยุธยา กล่าวว่า ชาวพื้นเมืองในท้องที่ต่างๆ แถบคาบสมุทรมลายูมีภูมิปัญญาพื้นบ้านในการนำปาหนันมาใช้เป็นยารักษาโรคในกลุ่มของคนพื้นเมืองในท้องที่ต่างๆ เช่น เป็นยาสำหรับผู้หญิงคลอดบุตร โดยใช้ต้นกิ่งเดียวดอกเดียว ปาหนันผอม และ บุหงาลำเจียก นอกจากนี้ชาวชวายังมีการนำเอารากต้นกิ่งเดียวดอกเดียวมาใช้ในการเป็นยาลดไข้ได้อีกด้วย สำหรับชาวไทยนั้นยังไม่ค่อยมีการใช้ประโยชน์ในด้านอื่นๆ นอกจากเป็นไม้ดอกไม้ประดับ เนื่องจากเป็นพรรณไม้ที่มีกลิ่นหอมเย็น ดอกดก มีสีสันสวยงาม ลำต้นมีขนาดไม่ใหญ่จนเกินไป และมีใบเขียวตลอดทั้งปี เหมาะสำหรับผู้ที่ชื่นชอบสวนแบบไทยๆ ที่มีความร่มเย็นของพรรณไม้ รวมทั้งกลิ่นหอมของดอกในยามค่ำคืน ตัวอย่างของชนิดที่เหมาะสมนำมาใช้เป็นไม้ประดับได้แก่ สบันงาป่า ข้าวหลามดง แสดสยาม บุหงาหยิก บุหงาลำเจียก ปาหนันมรกต ปาหนันผอม และส่าเหล้าต้น เป็นต้น

นอกจากจะมีประโยชน์ในการนำมาใช้รักษาโรคตามภูมิปัญญาพื้นบ้านแล้ว ปัจจุบันยังมีรายงานการศึกษาในต่างประเทศพบสารออกฤทธิ์ต้านเนื้องอกและเซลล์มะเร็งจากพืชสกุลปาหนันอีกด้วย โดยพืชในสกุลปาหนันที่เคยมีรายงานการศึกษาสารออกฤทธิ์ทางชีวภาพแล้วได้แก่ ปาหนันช้าง (G. giganteus), ปาหนันผอม (G. umbrosus), ปาหนันพรุ (G. malayanus), ปาหนันยักษ์ (G. cheliensis), ปาหนันจิ๋ว (G. elegans) และสบันงาป่า (G. griffithii) ทุกชนิดเป็นชนิดที่พบในเมืองไทย ซึ่งในขณะนี้ ดร.ยุธยา ได้ทำการศึกษาการออกฤทธิ์ในปาหนันหลายชนิด และพบว่าปาหนันบางชนิดมีฤทธิ์ต้านมะเร็งดีมาก ซึ่งจะทำการศึกษาในระดับลึกต่อไป

จึงนับได้ว่านอกจากจะมีศักยภาพในด้านการนำมาใช้เป็นไม้ประดับเพื่อความสวยงามแล้ว พืชสกุลปาหนันยังมีศักยภาพในด้านการนำมาใช้รักษาโรคมะเร็งที่ยังรอการค้นคว้าต่อไป พืชสกุลปาหนันจึงเป็นพืชกลุ่มใหม่ที่ควรได้รับความสนใจในการนำมาพัฒนาเชิงเศรษฐกิจของประเทศไทยในอนาคตเป็นอย่างยิ่ง


โครงการพัฒนาองค์ความรู้และศึกษานโยบายการจัดการทรัพยากรชีวภาพในประเทศไทย (โครงการ BRT)

 

มหาวิทยาลัยศรีปทุม ผู้ใหญ่ใจดี
 

 ช่วยด้วยครับ
นักเรียนที่สร้างบล็อก กรุณาอย่า
คัดลอกข้อมูลจากเว็บอื่นทั้งหมด
ควรนำมาจากหลายๆ เว็บ แล้ววิเคราะห์ สังเคราะห์ และเขียนขึ้นใหม่
หากคัดลอกทั้งหมด จะถูกดำเนินคดี
ตามกฎหมายจากเจ้าของลิขสิทธิ์
มีโทษทั้งจำคุกและปรับในอัตราสูง

ช่วยกันนะครับ 
ไทยกู๊ดวิวจะได้อยู่นานๆ 
ไม่ถูกปิดเสียก่อน

ขอขอบคุณในความร่วมมือครับ

อ่านรายละเอียด

ด่วน...... ขณะนี้
พระราชบัญญัติลิขสิทธิ์ (ฉบับที่ 2) พ.ศ. 2558 
มีผลบังคับใช้แล้ว 
ขอให้นักเรียนและคุณครูที่ใช้งาน
เว็บ thaigoodview ในการส่งการบ้าน
ระมัดระวังการละเมิดลิขสิทธิ์ด้วย
อ่านรายละเอียดที่นี่ครับ

 

สมาชิกที่ออนไลน์

ขณะนี้มี สมาชิก 0 คน และ ผู้เยี่ยมชม 592 คน กำลังออนไลน์