• user warning: Table 'cache_filter' is marked as crashed and should be repaired query: SELECT data, created, headers, expire, serialized FROM cache_filter WHERE cid = '3:3b7aa342631dfe36b41ff0a72f0732e5' in /home/tgv/htdocs/includes/cache.inc on line 27.
  • user warning: Table 'cache_filter' is marked as crashed and should be repaired query: UPDATE cache_filter SET data = '<!--paging_filter--><div style=\"text-align: center\">\n<img border=\"0\" width=\"397\" src=\"/files/u6516/Untitled-1.jpg\" height=\"130\" />\n</div>\n<p>\n                    <span style=\"color: #339966\">คำสมาส (อ่านว่า    สะ – หมาด)  คือ  การนำคำภาษาบาลีและ/หรือสันสกฤตตั้งแต่ ๒ คำขึ้นไปมารวมกันเป็นคำเดียว  มีความหมายเกี่ยวเนื่องกัน</span>\n</p>\n<p align=\"center\">\n<img border=\"0\" width=\"100\" src=\"/files/u6516/030414_03.gif\" height=\"120\" style=\"width: 44px; height: 62px\" /><img border=\"0\" width=\"100\" src=\"/files/u6516/030414_03.gif\" height=\"120\" style=\"width: 42px; height: 63px\" /><img border=\"0\" width=\"100\" src=\"/files/u6516/030414_03.gif\" height=\"120\" style=\"width: 48px; height: 63px\" /><img border=\"0\" width=\"100\" src=\"/files/u6516/030414_03.gif\" height=\"120\" style=\"width: 56px; height: 62px\" /><img border=\"0\" width=\"100\" src=\"/files/u6516/030414_03.gif\" height=\"120\" style=\"width: 52px; height: 63px\" />\n</p>\n<ul>\n<li><strong><span style=\"color: #0000ff\">หลักการสังเกตคำสมาส</span></strong></li>\n</ul>\n<p>\n<span style=\"color: #ff6600\"><span style=\"color: #333333\">      </span><span style=\"color: #ff0000\">๑.คำที่นำมาสมาสกันต้องเป็นคำที่มีรากศัพท์มาจากภาษาบาลีและสันสกฤตเท่านั้น เช่น กาฬพักตร์ ภูมิศาสตร์ ราชธรรม บุตรทาน อักษรศาสตร์    ฯลฯ  ถ้าเป็นการนำคำภาษาบาลีและ/หรือภาษาสันสกฤตมารวมกับคำภาษาอื่นนับเป็นเพียงแค่คำประสมเท่านั้น</span></span><span style=\"color: #ff0000\"> </span>\n</p>\n<p>\n<span style=\"color: #ff0000\"></span>\n</p>\n<p>\n<span style=\"color: #ff0000\"><span>      ๒. คำสมาสคือการนำคำภาษาบาลีและ/หรือภาษาสันสกฤตมาชนกัน(การนำคำมาวางเรียงต่อกันโดยคำใดคำหนึ่งหรือทั้งสองคำไม่มีการเปลี่ยนแปลงรูปของคำ) เช่น<br />\n                       มัธยม    +   ศึกษา     = มัธยมศึกษา<br />\n                       ประวัติ   +   ศาสตร์    = ประวัติศาสตร์      <br />\n                       อุบัติ     +   เหตุ        = อุบัติเหตุ <br />\n                       สุข       +   ศึกษา     = สุขศึกษา    <br />\n                                     ฯลฯ</span> </span>\n</p>\n<p>\n<span style=\"color: #ff0000\"> </span><span style=\"color: #ff0000\"><span><span>๓.การอ่านคำสมาสต้องอ่านออกเสียงสระเนื่องกันระหว่างคำหน้าและคำหลังเสมอ  เช่น<br />\n                     อิสรภาพ          อ่านว่า     อิด – สะ – หระ – พาบ<br />\n                     ถาวรวัตถุ         อ่านว่า     ถา – วอน – ระ – วัด – ถุ<br />\n                     เทพบุตร          อ่านว่า     เทบ – พะ – บุด<br />\n                     ประวัติศาสตร์    อ่านว่า     ปฺระ – หวัด – ติ – สาด    <br />\n                                       ฯลฯ<br />\n         <strong>หมายเหตุ</strong>  แต่บางคำก็ไม่อ่านออกเสียงสระเนื่องกันระหว่างคำหน้าและคำหลัง  เช่น   <br />\n                     สมุทรปราการ     อ่านว่า   สะ – หมุด – ปฺรา – กาน<br />\n                     สุพรรณบุรี          อ่านว่า   สุ – พัน – บุ – รี<br />\n                     สมัยนิยม           อ่านว่า   สะ – หมัย – นิ – ยม  <br />\n                                      ฯลฯ</span></span> </span>\n</p>\n<p>\n<span style=\"color: #ff0000\">   </span><span style=\"color: #ff0000\">   ๔.หากพยางค์สุดท้ายของคำหน้า มีสระ อะ ให้ตัดสระ อะ  ออกก่อนจึงจะนำคำมาสมาสกัน   เช่น<br />\n                 อิสระ   +   ภาพ     = อิสรภาพ<br />\n                 พละ    +   ศึกษา   = พลศึกษา<br />\n                 วีระ     +   บุรุษ     = วีรบุรุษ    <br />\n                           ฯลฯ <br />\n           <strong>หมายเหตุ  </strong>ยกเว้นคำบางคำ เช่น กิจจะลักษณะ เป็นต้น </span>\n</p>\n<p>\n<span style=\"color: #ff0000\"><span>      ๕.หากพยางค์สุดท้ายของคำหน้ามีไม้ทัณฑฆาตอยู่ ให้ตัดไม้ทัณฑฆาตออกก่อนจึงนำคำมาสมาสกัน  เช่น<br />\n                มนุษย์   +    ศาสตร์   =   มนุษยศาสตร์<br />\n                แพทย์   +    สภา      =   แพทยสภา<br />\n                ทิพย์     +    เนตร     =   ทิพยเนตร<br />\n                องค์      +    รักษ์     =   องครักษ์<br />\n                ครุศาสตร์  +  บัณฑิต  =   ครุศาสตรบัณฑิต    <br />\n                          ฯลฯ</span> </span>\n</p>\n<p align=\"center\">\n<img border=\"0\" width=\"68\" src=\"/files/u6516/1109357263.gif\" height=\"80\" /><img border=\"0\" width=\"68\" src=\"/files/u6516/1109357263.gif\" height=\"80\" /><img border=\"0\" width=\"68\" src=\"/files/u6516/1109357263.gif\" height=\"80\" /><img border=\"0\" width=\"68\" src=\"/files/u6516/1109357263.gif\" height=\"80\" /><img border=\"0\" width=\"68\" src=\"/files/u6516/1109357263.gif\" height=\"80\" />\n</p>\n<hr id=\"null\" />\n<!--pagebreak--><!--pagebreak--><p>\n<span style=\"color: #800000\">      ๖.  คำสมาสส่วนใหญ่จะวางคำขยายเป็นคำหน้าและวางคำตั้งหรือคำหลักเป็นคำหลัง   ดังนั้นการแปลความหมายจึงมักจะแปลจากหลังมาหน้า   เช่น <br />\n             ราชบุตร         หมายถึง      บุตรของพระราชา<br />\n             เทวบัญชา      หมายถึง      คำสั่งของเทวดา<br />\n             ราชการ          หมายถึง     งานของรัฐบาลหรือของพระเจ้าแผ่นดิน <br />\n             มธุรส             หมายถึง     รสหวาน     <br />\n                                 ฯลฯ<br />\n         <strong>  หมายเหตุ</strong>    ยกเว้นคำสมาสบางคำที่วางคำตั้งหรือคำหลักเป็นคำหน้าและวางคำขยายเป็นคำหลังจึงสามารถแปลความหมายจากหน้าไปหลังได้  เช่น<br />\n            บุตรธิดา           หมายถึง     ลูกและภรรยา<br />\n            สมณพราหมณ์    หมายถึง     พระสงฆ์และพราหมณ์<br />\n            ทาสกรรมกร      หมายถึง     ทาสและกรรมกร<br />\n                                 ฯลฯ<br />\n      ๗. คำบาลีสันสกฤตที่มีคำว่า “พระ” ซึ่งกลายเสียงมาจากบาลีสันสกฤตว่า “วร” นำหน้า ถึงแม้ “พระ”  จะประวิสรรชนียืก็นับว่าเป็นคำสมาส เช่น  <br />\n            พระกร              พระปฤษฎางค์        พระนาภี   <br />\n            พระหัตถ์           พระขรรค์               พระอัยกา<br />\n                                 ฯลฯ<br />\n           <strong>หมายเหตุ </strong> แต่ถ้านำหน้าคำภาษาอื่นไม่นับว่าเป็นคำสมาส  เช่น  พระเขนย  พระเก้าอี้  พระเจ้า  พระอู่    เป็นต้น </span>\n</p>\n<p>\n<span style=\"color: #800000\">      ๘. คำที่ลงท้ายว่า “ศาสตร์   กรรม   ภาพ   ภัย   ศึกษา   ศิลป์   วิทยา  กิจ   กร    คดี   ธรรม  บดี  ภัณฑ์   ลักษณ์”  มักจะเป็นคำสมาส   เช่น  <br />\n           ภาษาศาสตร์      ธุรกรรม               ทุกขภาพ<br />\n           อุทกภัย            วรรณศิลป์            จิตวิทยา<br />\n           ธุรกิจ               กรรมกร               สารคดี<br />\n           พิพิธภัณฑ์         ภาพลักษณ์           คหบดี</span>\n</p>\n<p><span style=\"color: #800000\">                                  ฯลฯ<br />\n</span><span style=\"color: #800000\"></span></p>\n<p>\n<span style=\"color: #339966\"><strong>ข้อสังเกต</strong><br />\n๑. ไม่ใช่คำที่มาจากภาษาบาลีสันสกฤตทั้งหมดไม่นับเป็นคำสมาส เช่น <br />\n          ราชวัง  (วัง เป็น คำไทย)<br />\n          ผลไม้ (ไม้  เป็น คำไทย)<br />\n          ราชสำนัก (สำนัก เป็น คำไทย)<br />\n          มหกรรมบันเทิง (บันเทิง เป็น  คำเขมร)<br />\n                                  ฯลฯ<br />\n๒. คำที่ไม่สามารถแปลความจากหลังมาหน้าได้แม้ว่าจะเป็นการนำภาษาบาลีและ สันสกฤตมารวมกันก็ไม่ใช่คำสมาส เช่น<br />\n          ประวัติวรรณคดี    หมายถึง   ประวัติของวรรณคดี<br />\n          นายกสมาคม       หมายถึง   นายกของสมาคม<br />\n          คดีธรรม             หมายถึง   เรื่องราวเกี่ยวกับธรรมะ</span>\n</p>\n<p align=\"center\">\n <img border=\"0\" width=\"100\" src=\"/files/u6516/15195472_m.gif\" height=\"120\" style=\"width: 64px; height: 74px\" /><img border=\"0\" width=\"100\" src=\"/files/u6516/15195472_m.gif\" height=\"120\" style=\"width: 68px; height: 80px\" /><img border=\"0\" width=\"100\" src=\"/files/u6516/15195472_m.gif\" height=\"120\" style=\"width: 80px; height: 86px\" /><img border=\"0\" width=\"100\" src=\"/files/u6516/15195472_m.gif\" height=\"120\" style=\"width: 76px; height: 91px\" /><img border=\"0\" width=\"100\" src=\"/files/u6516/15195472_m.gif\" height=\"120\" style=\"width: 84px; height: 92px\" />\n</p>\n<p>\n<strong><span style=\"color: #ff0000\">แหล่งอ้างอิง</span></strong>\n</p>\n<ul>\n<li>\n<div>\n คณาจารย์แม็ค.  สรุปเข้มภาษาไทย ม.๓.  กรุงเทพมหานคร : แม็ค , ๒๕๕๐.\n </div>\n</li>\n<li>\n<div>\n วนิดา   หลาวเพชร และคณะ. คู่มือและแผนการจัดการเรียนรู้ กลุ่มสาระการเรียนรู้ภาษาไทย  ชั้นมัธยมศึกษาปีที่ ๓.\n </div>\n<p>           กรุงเทพมหานคร :ไทยวัฒนาพานิช , ๒๕๔๗. </p></li>\n<li>\n<div>\n วิเชียร  เกษประทุม. คู่มือภาษาไทย ม.๓. กรุงเทพมหานคร : พัฒนาศึกษา , ๒๕๔๓.\n </div>\n</li>\n</ul>\n<p></p>\n', created = 1715823647, expire = 1715910047, headers = '', serialized = 0 WHERE cid = '3:3b7aa342631dfe36b41ff0a72f0732e5' in /home/tgv/htdocs/includes/cache.inc on line 112.
  • user warning: Table 'cache_filter' is marked as crashed and should be repaired query: SELECT data, created, headers, expire, serialized FROM cache_filter WHERE cid = '3:357d4b0876e0d341b4bbe2009afa7e72' in /home/tgv/htdocs/includes/cache.inc on line 27.
  • user warning: Table 'cache_filter' is marked as crashed and should be repaired query: UPDATE cache_filter SET data = '<!--paging_filter--><div style=\"text-align: center\">\n<img border=\"0\" width=\"397\" src=\"/files/u6516/Untitled-1.jpg\" height=\"130\" />\n</div>\n<p>\n                    <span style=\"color: #339966\">คำสมาส (อ่านว่า    สะ – หมาด)  คือ  การนำคำภาษาบาลีและ/หรือสันสกฤตตั้งแต่ ๒ คำขึ้นไปมารวมกันเป็นคำเดียว  มีความหมายเกี่ยวเนื่องกัน</span>\n</p>\n<p align=\"center\">\n<img border=\"0\" width=\"100\" src=\"/files/u6516/030414_03.gif\" height=\"120\" style=\"width: 44px; height: 62px\" /><img border=\"0\" width=\"100\" src=\"/files/u6516/030414_03.gif\" height=\"120\" style=\"width: 42px; height: 63px\" /><img border=\"0\" width=\"100\" src=\"/files/u6516/030414_03.gif\" height=\"120\" style=\"width: 48px; height: 63px\" /><img border=\"0\" width=\"100\" src=\"/files/u6516/030414_03.gif\" height=\"120\" style=\"width: 56px; height: 62px\" /><img border=\"0\" width=\"100\" src=\"/files/u6516/030414_03.gif\" height=\"120\" style=\"width: 52px; height: 63px\" />\n</p>\n<ul>\n<li><strong><span style=\"color: #0000ff\">หลักการสังเกตคำสมาส</span></strong></li>\n</ul>\n<p>\n<span style=\"color: #ff6600\"><span style=\"color: #333333\">      </span><span style=\"color: #ff0000\">๑.คำที่นำมาสมาสกันต้องเป็นคำที่มีรากศัพท์มาจากภาษาบาลีและสันสกฤตเท่านั้น เช่น กาฬพักตร์ ภูมิศาสตร์ ราชธรรม บุตรทาน อักษรศาสตร์    ฯลฯ  ถ้าเป็นการนำคำภาษาบาลีและ/หรือภาษาสันสกฤตมารวมกับคำภาษาอื่นนับเป็นเพียงแค่คำประสมเท่านั้น</span></span><span style=\"color: #ff0000\"> </span>\n</p>\n<p>\n<span style=\"color: #ff0000\"></span>\n</p>\n<p>\n<span style=\"color: #ff0000\"><span>      ๒. คำสมาสคือการนำคำภาษาบาลีและ/หรือภาษาสันสกฤตมาชนกัน(การนำคำมาวางเรียงต่อกันโดยคำใดคำหนึ่งหรือทั้งสองคำไม่มีการเปลี่ยนแปลงรูปของคำ) เช่น<br />\n                       มัธยม    +   ศึกษา     = มัธยมศึกษา<br />\n                       ประวัติ   +   ศาสตร์    = ประวัติศาสตร์      <br />\n                       อุบัติ     +   เหตุ        = อุบัติเหตุ <br />\n                       สุข       +   ศึกษา     = สุขศึกษา    <br />\n                                     ฯลฯ</span> </span>\n</p>\n<p>\n<span style=\"color: #ff0000\"> </span><span style=\"color: #ff0000\"><span><span>๓.การอ่านคำสมาสต้องอ่านออกเสียงสระเนื่องกันระหว่างคำหน้าและคำหลังเสมอ  เช่น<br />\n                     อิสรภาพ          อ่านว่า     อิด – สะ – หระ – พาบ<br />\n                     ถาวรวัตถุ         อ่านว่า     ถา – วอน – ระ – วัด – ถุ<br />\n                     เทพบุตร          อ่านว่า     เทบ – พะ – บุด<br />\n                     ประวัติศาสตร์    อ่านว่า     ปฺระ – หวัด – ติ – สาด    <br />\n                                       ฯลฯ<br />\n         <strong>หมายเหตุ</strong>  แต่บางคำก็ไม่อ่านออกเสียงสระเนื่องกันระหว่างคำหน้าและคำหลัง  เช่น   <br />\n                     สมุทรปราการ     อ่านว่า   สะ – หมุด – ปฺรา – กาน<br />\n                     สุพรรณบุรี          อ่านว่า   สุ – พัน – บุ – รี<br />\n                     สมัยนิยม           อ่านว่า   สะ – หมัย – นิ – ยม  <br />\n                                      ฯลฯ</span></span> </span>\n</p>\n<p>\n<span style=\"color: #ff0000\">   </span><span style=\"color: #ff0000\">   ๔.หากพยางค์สุดท้ายของคำหน้า มีสระ อะ ให้ตัดสระ อะ  ออกก่อนจึงจะนำคำมาสมาสกัน   เช่น<br />\n                 อิสระ   +   ภาพ     = อิสรภาพ<br />\n                 พละ    +   ศึกษา   = พลศึกษา<br />\n                 วีระ     +   บุรุษ     = วีรบุรุษ    <br />\n                           ฯลฯ <br />\n           <strong>หมายเหตุ  </strong>ยกเว้นคำบางคำ เช่น กิจจะลักษณะ เป็นต้น </span>\n</p>\n<p>\n<span style=\"color: #ff0000\"><span>      ๕.หากพยางค์สุดท้ายของคำหน้ามีไม้ทัณฑฆาตอยู่ ให้ตัดไม้ทัณฑฆาตออกก่อนจึงนำคำมาสมาสกัน  เช่น<br />\n                มนุษย์   +    ศาสตร์   =   มนุษยศาสตร์<br />\n                แพทย์   +    สภา      =   แพทยสภา<br />\n                ทิพย์     +    เนตร     =   ทิพยเนตร<br />\n                องค์      +    รักษ์     =   องครักษ์<br />\n                ครุศาสตร์  +  บัณฑิต  =   ครุศาสตรบัณฑิต    <br />\n                          ฯลฯ</span> </span>\n</p>\n<p align=\"center\">\n<img border=\"0\" width=\"68\" src=\"/files/u6516/1109357263.gif\" height=\"80\" /><img border=\"0\" width=\"68\" src=\"/files/u6516/1109357263.gif\" height=\"80\" /><img border=\"0\" width=\"68\" src=\"/files/u6516/1109357263.gif\" height=\"80\" /><img border=\"0\" width=\"68\" src=\"/files/u6516/1109357263.gif\" height=\"80\" /><img border=\"0\" width=\"68\" src=\"/files/u6516/1109357263.gif\" height=\"80\" />\n</p>\n<hr id=\"null\" />\n', created = 1715823647, expire = 1715910047, headers = '', serialized = 0 WHERE cid = '3:357d4b0876e0d341b4bbe2009afa7e72' in /home/tgv/htdocs/includes/cache.inc on line 112.

คำสมาส...ศาสตร์น่ารู้

รูปภาพของ nudjaree

                    คำสมาส (อ่านว่า    สะ – หมาด)  คือ  การนำคำภาษาบาลีและ/หรือสันสกฤตตั้งแต่ ๒ คำขึ้นไปมารวมกันเป็นคำเดียว  มีความหมายเกี่ยวเนื่องกัน

  • หลักการสังเกตคำสมาส

      ๑.คำที่นำมาสมาสกันต้องเป็นคำที่มีรากศัพท์มาจากภาษาบาลีและสันสกฤตเท่านั้น เช่น กาฬพักตร์ ภูมิศาสตร์ ราชธรรม บุตรทาน อักษรศาสตร์    ฯลฯ  ถ้าเป็นการนำคำภาษาบาลีและ/หรือภาษาสันสกฤตมารวมกับคำภาษาอื่นนับเป็นเพียงแค่คำประสมเท่านั้น

      ๒. คำสมาสคือการนำคำภาษาบาลีและ/หรือภาษาสันสกฤตมาชนกัน(การนำคำมาวางเรียงต่อกันโดยคำใดคำหนึ่งหรือทั้งสองคำไม่มีการเปลี่ยนแปลงรูปของคำ) เช่น
                       มัธยม    +   ศึกษา     = มัธยมศึกษา
                       ประวัติ   +   ศาสตร์    = ประวัติศาสตร์      
                       อุบัติ     +   เหตุ        = อุบัติเหตุ 
                       สุข       +   ศึกษา     = สุขศึกษา    
                                     ฯลฯ

 ๓.การอ่านคำสมาสต้องอ่านออกเสียงสระเนื่องกันระหว่างคำหน้าและคำหลังเสมอ  เช่น
                     อิสรภาพ          อ่านว่า     อิด – สะ – หระ – พาบ
                     ถาวรวัตถุ         อ่านว่า     ถา – วอน – ระ – วัด – ถุ
                     เทพบุตร          อ่านว่า     เทบ – พะ – บุด
                     ประวัติศาสตร์    อ่านว่า     ปฺระ – หวัด – ติ – สาด    
                                       ฯลฯ
         หมายเหตุ  แต่บางคำก็ไม่อ่านออกเสียงสระเนื่องกันระหว่างคำหน้าและคำหลัง  เช่น   
                     สมุทรปราการ     อ่านว่า   สะ – หมุด – ปฺรา – กาน
                     สุพรรณบุรี          อ่านว่า   สุ – พัน – บุ – รี
                     สมัยนิยม           อ่านว่า   สะ – หมัย – นิ – ยม  
                                      ฯลฯ

      ๔.หากพยางค์สุดท้ายของคำหน้า มีสระ อะ ให้ตัดสระ อะ  ออกก่อนจึงจะนำคำมาสมาสกัน   เช่น
                 อิสระ   +   ภาพ     = อิสรภาพ
                 พละ    +   ศึกษา   = พลศึกษา
                 วีระ     +   บุรุษ     = วีรบุรุษ    
                           ฯลฯ 
           หมายเหตุ  ยกเว้นคำบางคำ เช่น กิจจะลักษณะ เป็นต้น

      ๕.หากพยางค์สุดท้ายของคำหน้ามีไม้ทัณฑฆาตอยู่ ให้ตัดไม้ทัณฑฆาตออกก่อนจึงนำคำมาสมาสกัน  เช่น
                มนุษย์   +    ศาสตร์   =   มนุษยศาสตร์
                แพทย์   +    สภา      =   แพทยสภา
                ทิพย์     +    เนตร     =   ทิพยเนตร
                องค์      +    รักษ์     =   องครักษ์
                ครุศาสตร์  +  บัณฑิต  =   ครุศาสตรบัณฑิต    
                          ฯลฯ


สร้างโดย: 
ครูนุจรีย์ ผิวงาม โรงเรียนเซนต์โยเซฟคอนเวนต์

มหาวิทยาลัยศรีปทุม ผู้ใหญ่ใจดี
 

 ช่วยด้วยครับ
นักเรียนที่สร้างบล็อก กรุณาอย่า
คัดลอกข้อมูลจากเว็บอื่นทั้งหมด
ควรนำมาจากหลายๆ เว็บ แล้ววิเคราะห์ สังเคราะห์ และเขียนขึ้นใหม่
หากคัดลอกทั้งหมด จะถูกดำเนินคดี
ตามกฎหมายจากเจ้าของลิขสิทธิ์
มีโทษทั้งจำคุกและปรับในอัตราสูง

ช่วยกันนะครับ 
ไทยกู๊ดวิวจะได้อยู่นานๆ 
ไม่ถูกปิดเสียก่อน

ขอขอบคุณในความร่วมมือครับ

อ่านรายละเอียด

ด่วน...... ขณะนี้
พระราชบัญญัติลิขสิทธิ์ (ฉบับที่ 2) พ.ศ. 2558 
มีผลบังคับใช้แล้ว 
ขอให้นักเรียนและคุณครูที่ใช้งาน
เว็บ thaigoodview ในการส่งการบ้าน
ระมัดระวังการละเมิดลิขสิทธิ์ด้วย
อ่านรายละเอียดที่นี่ครับ

 

สมาชิกที่ออนไลน์

ขณะนี้มี สมาชิก 0 คน และ ผู้เยี่ยมชม 362 คน กำลังออนไลน์