• user warning: Table 'cache_filter' is marked as crashed and should be repaired query: SELECT data, created, headers, expire, serialized FROM cache_filter WHERE cid = '3:a8cadb77fb2c9a94730f740217a38581' in /home/tgv/htdocs/includes/cache.inc on line 27.
  • user warning: Table 'cache_filter' is marked as crashed and should be repaired query: UPDATE cache_filter SET data = '<!--paging_filter--><h2 class=\"style1\" style=\"text-align: center;\"><span class=\"style3\"><img src=\"http://www.zabzaa.com/cartoon/gif/Cartoon_Animation_10.gif\" alt=\"\" width=\"62\" height=\"75\" />เครื่องจักสานของไทย<img src=\"http://www.zabzaa.com/cartoon/gif/Cartoon_Animation_10.gif\" alt=\"\" width=\"62\" height=\"74\" /></span></h2>\n<p><span class=\"style3\"><img style=\"display: block; margin-left: auto; margin-right: auto;\" src=\"https://i.ytimg.com/vi/SWAykQEUqtw/maxresdefault.jpg\" alt=\"\" width=\"460\" height=\"259\" /></span></p>\n<p>&nbsp; &nbsp; &nbsp; &nbsp; &nbsp;</p>\n<p>&nbsp; &nbsp; &nbsp; &nbsp; &nbsp;ประเทศไทยเป็นดินแดนที่มีความอุดมสมบูรณ์มาแต่โบราณ สังคมไทยในอดีตจึงเป็นสังคมเกษตรกรรม ประชากรส่วนใหญ่เลี้ยงชีพด้วยการทำไร่ไถนาและทำประมงเป็นหลัก การประกอบอาชีพทั่วไปจะใช้เครื่องมือเครื่อง ใช้ที่ผลิตขึ้นเอง เครื่องจักสานจึงเป็นงาน ศิลปหัตถกรรมที่มนุษย์คิดวิธีการต่างๆ ขึ้นเพื่อใช้สร้างเครื่องมือ เครื่องใช้ ในชีวิตประจำวัน หรือเครื่องมือทางการเกษตรต่างๆ มากมายหลายชนิด และเครื่องจักสานที่ผลิตขึ้นในภาคต่างๆ นั้นมักใช้วัตถุดิบในท้องถิ่นที่แตกต่างกันไป ด้วยวิธีการสอดขัดและสานกันของวัตถุดิบที่เป็นเส้น เป็นริ้ว โดยสร้างรูปทรงของสิ่งนั้นตามความประสงค์ในการใช้สอยทำให้เครื่องจักสานที่ทำขึ้นเป็นรูปแบบที่แตกต่างกันไปตามประเภทของวัตถุดิบ ประโยชน์ใช้สอย สภาพการดำรงชีวิตและสภาพภูมิศาสตร์ ความนิยมตามขนบประเพณี ความเชื่อ ศาสนา และวัฒนธรรมของแต่ละท้องถิ่น สิ่งเหล่านี้เป็นองค์ประกอบสำคัญที่ทำให้เครื่องจักสานแต่ละภาคแต่ละท้องถิ่นของไทยมีรูปแบบแตกต่างกันไปอย่างน่าสนใจ โดยวัตถุดิบจากธรรมชาติที่นำมาใช้ทำเครื่องจักสานของไทยมีมากมายหลายชนิด ตั้งแต่ไม้ไผ่พันธุ์ต่างๆ ที่ขึ้นอยู่ทั่วไป ซึ่งไม้ไผ่เป็นวัตถุดิบที่มีคุณสมบัติเหมาะสมกับการทำเครื่องจักสานมากที่สุดชนิดหนึ่ง นอกจากไม้ไผ่แล้วก็ยังมีพืชที่ขึ้นอยู่ในบริเวณที่มีสภาพภูมิศาสตร์แตกต่างกันอีกหลายชนิด เช่น ต้นไม้ตระกูลปาล์มซึ่งสามารถใช้ใบมาทำเครื่องจักสานได้ดี ได้แก่ ใบตาล ใบมะพร้าว ใบลาน เป็นต้น นอกจากนี้ยังมีพวกพืชที่ขึ้นตามชายทะเล เช่น ต้นลำเจียกหรือปาหนัน เตยทะเล ซึ่งวัตถุดิบประเภทนี้นิยมใช้ทำเครื่องจักสานกันมากในกลุ่มชนที่อาศัยตามเกาะและตามชายฝั่งทะเล นอกจากนี้ก็มีพืชอีกหลายชนิดที่มีคุณสมบัติเหมาะสมในการนำมาทำเครื่องจักสาน เช่น หวาย คล้า คลุ้ม แสก กก กระจูด ย่านลิเภา หรือหญ้าบางชนิด เป็นต้น</p>\n<p>&nbsp;</p>\n<p><span style=\"color: #0000ff;\"><strong><span class=\"style3\">ประเภทของเครื่องจักสาน</span></strong></span></p>\n<p>&nbsp; เครื่องจักสานสามารถจำแนกออกเป็นประเภทต่างๆ ตามหน้าที่ใช้สอย(functions) อย่างกว้าง ๆ ได้ดังต่อไปนี้ คือ<br />1. เครื่องจักสานที่ใช้ในการบริโภค ได้แก่ ซ้าหวด กระติ๊บ แอบข้าว หวดนึ่งข้าวเหนียว ก่องข้าว กระชอน กระด้ง ฯลฯ<br />2. เครื่องจักสานที่ใช้เป็นภาชนะ ได้แก่ กระบุง กระจาด ซ้ากระทาย กระบาย กะโล่ หลัว ชะลอม ฯลฯ&nbsp;<br />3. เครื่องจักสานที่ใช้เป็นเครื่องตวง ได้แก่ กระออม กระชุ กระบุง สัด ฯลฯ&nbsp;<br />4. เครื่องจักสานที่ใช้เป็นเครื่องเรือนและเครื่องปูลาด ได้แก่ เสื่อลำแพน เสื่อกระจูด เสื่อแหย่ง เสื่อปาหนัน เสื่อหวาย ฯลฯ&nbsp;<br />5. เครื่องจักสานที่ใช้ป้องกันแดดฝน ได้แก่ งอบ หมาก กุ๊บ งอบแมงดา จากรา หมอกจีน ฯลฯ<br />6. เครื่องจักสานที่ใช้เกี่ยวกับความเชื่อ ประเพณีและศาสนา ได้แก่ ก่องข้าวขวัญ ซ้า สำหรับใส่พาน สลาก เบ็งหมาก ฯลฯ</p>\n<p align=\"center\">&nbsp;</p>\n<p align=\"center\"><img src=\"http://museum.socanth.tu.ac.th/images/page5Online%20Exhibition/4.asketwork/photo/01.jpg\" alt=\"\" width=\"180\" height=\"150\" border=\"0\" />&nbsp; &nbsp; &nbsp; &nbsp; &nbsp; &nbsp; &nbsp; &nbsp; &nbsp; &nbsp; &nbsp; &nbsp;<img src=\"http://museum.socanth.tu.ac.th/images/page5Online%20Exhibition/4.asketwork/photo/02.jpg\" alt=\"\" width=\"180\" height=\"150\" border=\"0\" /></p>\n<p class=\"style2\" style=\"text-align: left;\" align=\"center\">&nbsp; &nbsp; &nbsp; &nbsp; &nbsp; &nbsp; &nbsp; &nbsp; &nbsp; &nbsp; &nbsp; &nbsp; &nbsp; &nbsp; &nbsp; <strong>การใช้เครื่องจักสานในชีวิตประจำวัน &nbsp;</strong>&nbsp; &nbsp; &nbsp; &nbsp; &nbsp; &nbsp; &nbsp;&nbsp;<strong>ช่างสานตะกร้าหิ้ว ที่ตำบลหัวเวียง อำเภอเสนา</strong></p>\n<p class=\"style2\" align=\"center\"><strong>&nbsp; &nbsp; &nbsp; &nbsp; &nbsp; &nbsp; &nbsp; &nbsp; &nbsp; &nbsp; &nbsp; &nbsp; &nbsp; &nbsp; &nbsp; &nbsp; &nbsp; &nbsp; &nbsp; &nbsp; &nbsp; &nbsp; &nbsp; &nbsp; &nbsp; &nbsp; &nbsp; &nbsp; &nbsp; &nbsp; &nbsp; &nbsp; &nbsp; &nbsp; &nbsp; จังหวัดพระนครศรีอยุธยา&nbsp;</strong></p>\n<p><span style=\"color: #0000ff;\"><strong><span class=\"style3\">ลวดลายในการสานเครื่องจักสาน</span></strong></span></p>\n<p>&nbsp; &nbsp; &nbsp; &nbsp;ลวดลายของเครื่องจักสานในแต่ละถิ่นมีหลักเฉพาะท้องถิ่นที่แตกต่างกันไป และมีชื่อเรียกลายต่าง ๆ แตกต่างกัน ตามแต่ละภาคแต่ละท้องถิ่นของไทย แม้จะเป็นลายชนิดเดียวกันก็ตาม จึงแบ่งลักษณะของการสร้างลวดลายเป็นแบบต่าง ๆ ดังนี้</p>\n<p>&nbsp; &nbsp; &nbsp; 1. ลายขัด เป็นลายพื้นฐานของเครื่องจักสานซึ่งอาจจะเป็นลวดลายเบื้องต้นของการทำเครื่องจักสานที่เก่าแก่ที่สุดก็ว่าได้ ลักษณะของลายขัด เป็นการสร้างแรงยึดระหว่างกันด้วยการขัดกันของตอก หรือวัสดุอื่นด้วยการขัดกันระหว่างแนวตั้งหรือเส้นตั้ง และแนวนอนหรือเส้นนอน ถ้าพิจารณาแล้วจะเห็นว่า \"ลายขัด\" เป็นแม่แบบของลายสานทั้งปวง ซึ่งมีอยู่ในงานจักสานของชนชาติต่าง ๆ ทั่วไป เป็นลายที่วิวัฒนาการขึ้นมาเป็นลายต่าง ๆ ตั้งแต่ลายขัดธรรมดาไปจนถึงการสานแบบยกดอกเป็นลวดลายต่าง ๆ ลักษณะโครงสร้างของลายขัดนี้เป็นลายที่มีแรงยึดมาก จึงมีความแน่น และแข็งแรงให้ความคงทนมาก จึงนิยมใช้สานประกอบกับลายอื่น ๆ ในส่วนที่ต้องการความแข็งแรง เช่น ส่วนที่เป็นก้น เป็นปาก คอ ของภาชนะ เป็นต้น</p>\n<p>&nbsp; &nbsp; &nbsp; 2. ลายทแยง ลักษณะการสานคล้ายการถัก ส่วนมากใช้ตอกเส้นแบน ๆ บาง ๆ เพราะการสานลายชนิดนี้ต้องการแผ่นทึบ โครงสร้างของลายทแยงจะเบียดตัวกันสนิทไม่มีเส้นตั้งหรือเส้นนอนเหมือนลายขัด เป็นลายสานที่ต้องการผิวเรียบบางสามารถสานต่อเชื่อมกันไปตามความโค้งของภาชนะที่ต้องการได้ เครื่องจักสานที่สานด้วยลายทแยงนี้ส่วนมากจะสามารถทรงรูปอยู่ได้ด้วยตัวเอง แต่ความแข็งแรงจะไม่ทนเท่าลายขัด เช่น เข่ง ชะลอม ส่วนบนของหมวกหรือหัวสุ่ม เป็นต้น&nbsp;</p>\n<p>&nbsp; &nbsp; &nbsp; 3. ลายขด ลายสานแบบขดส่วนมากจะใช้สานภาชนะโดยสร้างรูปทรงขึ้นด้วยการขดของวัสดุซ้อนเป็นชั้น ๆ แล้วใช้ตัวกลางเชื่อมถักเข้าด้วยการเย็บ ถัก หรือมัด ลายสานแบบขด มักใช้วัสดุจำพวกหวาย ปอ และวัสดุอื่น ๆ ที่ไม่สามารถคงรูปอยู่ได้ด้วยความแข็งของตนเอง ลายสานแบบขดจะรับน้ำหนักและแรงดันได้ดีเพราะโครงสร้างทุกส่วนจะรับน้ำหนักเฉลี่ยโดยทั่วถึงกัน เครื่องจักสานที่สานด้วยลายขดของไทย ส่วนมากจะเป็นเครื่องจักสานหวายและย่านลิเภา เช่น ตะกร้าหิ้ว กระเป๋าถือ เป็นต้น</p>\n<p>&nbsp; &nbsp; &nbsp; 4. ลายอิสระ หรือลายไม่มีหลัก เป็นลายที่สานขึ้นตามความต้องการของผู้สาน เป็นลายที่เกิดจากการสร้างสรรค์ที่อิสระตามความต้องการใช้สอย เป็นการสร้างลวดลายให้เกิดเป็นเครื่องจักสานที่ต่างไปจากลวดลายแบบอื่น ๆ จะพบเห็นทั่วไปในภาคต่าง ๆ ของประเทศ ไม่สามารถจำกัดหลักเกณฑ์ที่แน่นอนได้ เพราะในท้องถิ่นแต่ละแห่งจะทำตามความนิยมเฉพาะถิ่นและความคิดของผู้สาน นับว่าเป็นลายที่น่าสนใจลายหนึ่งในกระบวนการกระทำเครื่องจักสาน เครื่องจักสานลายอิสระส่วนใหญ่จะเป็นการสานเครื่องเล่น เครื่องประดับ หรือของสักการบูชา เช่น รูปสัตว์ต่างๆ กำไลข้อมือ เข็มขัด พวงมาลัย เป็นต้น</p>\n<p>&nbsp;</p>\n<p align=\"center\"><img src=\"http://museum.socanth.tu.ac.th/images/page5Online%20Exhibition/4.asketwork/photo/03.jpg\" alt=\"\" width=\"180\" height=\"150\" border=\"0\" />&nbsp; &nbsp; &nbsp; &nbsp; &nbsp; &nbsp; &nbsp; &nbsp; &nbsp; &nbsp; &nbsp; &nbsp; &nbsp;<img src=\"http://museum.socanth.tu.ac.th/images/page5Online%20Exhibition/4.asketwork/photo/04.jpg\" alt=\"\" width=\"180\" height=\"150\" border=\"0\" /></p>\n<p style=\"text-align: left;\" align=\"center\">&nbsp; &nbsp; &nbsp; &nbsp; &nbsp; &nbsp; &nbsp; &nbsp; &nbsp; &nbsp; &nbsp; &nbsp; &nbsp; &nbsp;&nbsp;<strong>ลายขัด&nbsp;</strong>เป็นลายพื้นฐานของเครื่องจักสาน &nbsp; &nbsp; &nbsp; &nbsp; &nbsp; &nbsp; &nbsp; &nbsp; &nbsp; &nbsp;<strong>ลายทแยง</strong>&nbsp;มักใช้สานภาชนะที่ต้องการให้โปร่ง</p>\n<p style=\"text-align: left;\" align=\"center\">&nbsp; &nbsp; &nbsp; &nbsp; &nbsp; &nbsp; &nbsp; &nbsp; &nbsp; &nbsp; &nbsp; &nbsp; &nbsp; &nbsp; &nbsp; &nbsp; &nbsp; &nbsp;ก่อนที่จะพัฒนา เป็นลายอื่นๆ &nbsp; &nbsp; &nbsp; &nbsp; &nbsp; &nbsp; &nbsp; &nbsp; &nbsp; &nbsp; &nbsp; &nbsp; &nbsp; &nbsp; &nbsp; &nbsp; &nbsp; &nbsp; อากาศผ่านได้ &nbsp;เช่น เข่ง ชะลอม</p>\n<p style=\"text-align: left;\" align=\"center\">&nbsp;</p>\n<p style=\"text-align: left;\" align=\"center\">&nbsp;</p>\n', created = 1728127772, expire = 1728214172, headers = '', serialized = 0 WHERE cid = '3:a8cadb77fb2c9a94730f740217a38581' in /home/tgv/htdocs/includes/cache.inc on line 112.

ภูมิปัญญาเครื่องจักรสาน

เครื่องจักสานของไทย

         

         ประเทศไทยเป็นดินแดนที่มีความอุดมสมบูรณ์มาแต่โบราณ สังคมไทยในอดีตจึงเป็นสังคมเกษตรกรรม ประชากรส่วนใหญ่เลี้ยงชีพด้วยการทำไร่ไถนาและทำประมงเป็นหลัก การประกอบอาชีพทั่วไปจะใช้เครื่องมือเครื่อง ใช้ที่ผลิตขึ้นเอง เครื่องจักสานจึงเป็นงาน ศิลปหัตถกรรมที่มนุษย์คิดวิธีการต่างๆ ขึ้นเพื่อใช้สร้างเครื่องมือ เครื่องใช้ ในชีวิตประจำวัน หรือเครื่องมือทางการเกษตรต่างๆ มากมายหลายชนิด และเครื่องจักสานที่ผลิตขึ้นในภาคต่างๆ นั้นมักใช้วัตถุดิบในท้องถิ่นที่แตกต่างกันไป ด้วยวิธีการสอดขัดและสานกันของวัตถุดิบที่เป็นเส้น เป็นริ้ว โดยสร้างรูปทรงของสิ่งนั้นตามความประสงค์ในการใช้สอยทำให้เครื่องจักสานที่ทำขึ้นเป็นรูปแบบที่แตกต่างกันไปตามประเภทของวัตถุดิบ ประโยชน์ใช้สอย สภาพการดำรงชีวิตและสภาพภูมิศาสตร์ ความนิยมตามขนบประเพณี ความเชื่อ ศาสนา และวัฒนธรรมของแต่ละท้องถิ่น สิ่งเหล่านี้เป็นองค์ประกอบสำคัญที่ทำให้เครื่องจักสานแต่ละภาคแต่ละท้องถิ่นของไทยมีรูปแบบแตกต่างกันไปอย่างน่าสนใจ โดยวัตถุดิบจากธรรมชาติที่นำมาใช้ทำเครื่องจักสานของไทยมีมากมายหลายชนิด ตั้งแต่ไม้ไผ่พันธุ์ต่างๆ ที่ขึ้นอยู่ทั่วไป ซึ่งไม้ไผ่เป็นวัตถุดิบที่มีคุณสมบัติเหมาะสมกับการทำเครื่องจักสานมากที่สุดชนิดหนึ่ง นอกจากไม้ไผ่แล้วก็ยังมีพืชที่ขึ้นอยู่ในบริเวณที่มีสภาพภูมิศาสตร์แตกต่างกันอีกหลายชนิด เช่น ต้นไม้ตระกูลปาล์มซึ่งสามารถใช้ใบมาทำเครื่องจักสานได้ดี ได้แก่ ใบตาล ใบมะพร้าว ใบลาน เป็นต้น นอกจากนี้ยังมีพวกพืชที่ขึ้นตามชายทะเล เช่น ต้นลำเจียกหรือปาหนัน เตยทะเล ซึ่งวัตถุดิบประเภทนี้นิยมใช้ทำเครื่องจักสานกันมากในกลุ่มชนที่อาศัยตามเกาะและตามชายฝั่งทะเล นอกจากนี้ก็มีพืชอีกหลายชนิดที่มีคุณสมบัติเหมาะสมในการนำมาทำเครื่องจักสาน เช่น หวาย คล้า คลุ้ม แสก กก กระจูด ย่านลิเภา หรือหญ้าบางชนิด เป็นต้น

 

ประเภทของเครื่องจักสาน

  เครื่องจักสานสามารถจำแนกออกเป็นประเภทต่างๆ ตามหน้าที่ใช้สอย(functions) อย่างกว้าง ๆ ได้ดังต่อไปนี้ คือ
1. เครื่องจักสานที่ใช้ในการบริโภค ได้แก่ ซ้าหวด กระติ๊บ แอบข้าว หวดนึ่งข้าวเหนียว ก่องข้าว กระชอน กระด้ง ฯลฯ
2. เครื่องจักสานที่ใช้เป็นภาชนะ ได้แก่ กระบุง กระจาด ซ้ากระทาย กระบาย กะโล่ หลัว ชะลอม ฯลฯ 
3. เครื่องจักสานที่ใช้เป็นเครื่องตวง ได้แก่ กระออม กระชุ กระบุง สัด ฯลฯ 
4. เครื่องจักสานที่ใช้เป็นเครื่องเรือนและเครื่องปูลาด ได้แก่ เสื่อลำแพน เสื่อกระจูด เสื่อแหย่ง เสื่อปาหนัน เสื่อหวาย ฯลฯ 
5. เครื่องจักสานที่ใช้ป้องกันแดดฝน ได้แก่ งอบ หมาก กุ๊บ งอบแมงดา จากรา หมอกจีน ฯลฯ
6. เครื่องจักสานที่ใช้เกี่ยวกับความเชื่อ ประเพณีและศาสนา ได้แก่ ก่องข้าวขวัญ ซ้า สำหรับใส่พาน สลาก เบ็งหมาก ฯลฯ

 

                       

                              การใช้เครื่องจักสานในชีวิตประจำวัน                ช่างสานตะกร้าหิ้ว ที่ตำบลหัวเวียง อำเภอเสนา

                                                                      จังหวัดพระนครศรีอยุธยา 

ลวดลายในการสานเครื่องจักสาน

       ลวดลายของเครื่องจักสานในแต่ละถิ่นมีหลักเฉพาะท้องถิ่นที่แตกต่างกันไป และมีชื่อเรียกลายต่าง ๆ แตกต่างกัน ตามแต่ละภาคแต่ละท้องถิ่นของไทย แม้จะเป็นลายชนิดเดียวกันก็ตาม จึงแบ่งลักษณะของการสร้างลวดลายเป็นแบบต่าง ๆ ดังนี้

      1. ลายขัด เป็นลายพื้นฐานของเครื่องจักสานซึ่งอาจจะเป็นลวดลายเบื้องต้นของการทำเครื่องจักสานที่เก่าแก่ที่สุดก็ว่าได้ ลักษณะของลายขัด เป็นการสร้างแรงยึดระหว่างกันด้วยการขัดกันของตอก หรือวัสดุอื่นด้วยการขัดกันระหว่างแนวตั้งหรือเส้นตั้ง และแนวนอนหรือเส้นนอน ถ้าพิจารณาแล้วจะเห็นว่า "ลายขัด" เป็นแม่แบบของลายสานทั้งปวง ซึ่งมีอยู่ในงานจักสานของชนชาติต่าง ๆ ทั่วไป เป็นลายที่วิวัฒนาการขึ้นมาเป็นลายต่าง ๆ ตั้งแต่ลายขัดธรรมดาไปจนถึงการสานแบบยกดอกเป็นลวดลายต่าง ๆ ลักษณะโครงสร้างของลายขัดนี้เป็นลายที่มีแรงยึดมาก จึงมีความแน่น และแข็งแรงให้ความคงทนมาก จึงนิยมใช้สานประกอบกับลายอื่น ๆ ในส่วนที่ต้องการความแข็งแรง เช่น ส่วนที่เป็นก้น เป็นปาก คอ ของภาชนะ เป็นต้น

      2. ลายทแยง ลักษณะการสานคล้ายการถัก ส่วนมากใช้ตอกเส้นแบน ๆ บาง ๆ เพราะการสานลายชนิดนี้ต้องการแผ่นทึบ โครงสร้างของลายทแยงจะเบียดตัวกันสนิทไม่มีเส้นตั้งหรือเส้นนอนเหมือนลายขัด เป็นลายสานที่ต้องการผิวเรียบบางสามารถสานต่อเชื่อมกันไปตามความโค้งของภาชนะที่ต้องการได้ เครื่องจักสานที่สานด้วยลายทแยงนี้ส่วนมากจะสามารถทรงรูปอยู่ได้ด้วยตัวเอง แต่ความแข็งแรงจะไม่ทนเท่าลายขัด เช่น เข่ง ชะลอม ส่วนบนของหมวกหรือหัวสุ่ม เป็นต้น 

      3. ลายขด ลายสานแบบขดส่วนมากจะใช้สานภาชนะโดยสร้างรูปทรงขึ้นด้วยการขดของวัสดุซ้อนเป็นชั้น ๆ แล้วใช้ตัวกลางเชื่อมถักเข้าด้วยการเย็บ ถัก หรือมัด ลายสานแบบขด มักใช้วัสดุจำพวกหวาย ปอ และวัสดุอื่น ๆ ที่ไม่สามารถคงรูปอยู่ได้ด้วยความแข็งของตนเอง ลายสานแบบขดจะรับน้ำหนักและแรงดันได้ดีเพราะโครงสร้างทุกส่วนจะรับน้ำหนักเฉลี่ยโดยทั่วถึงกัน เครื่องจักสานที่สานด้วยลายขดของไทย ส่วนมากจะเป็นเครื่องจักสานหวายและย่านลิเภา เช่น ตะกร้าหิ้ว กระเป๋าถือ เป็นต้น

      4. ลายอิสระ หรือลายไม่มีหลัก เป็นลายที่สานขึ้นตามความต้องการของผู้สาน เป็นลายที่เกิดจากการสร้างสรรค์ที่อิสระตามความต้องการใช้สอย เป็นการสร้างลวดลายให้เกิดเป็นเครื่องจักสานที่ต่างไปจากลวดลายแบบอื่น ๆ จะพบเห็นทั่วไปในภาคต่าง ๆ ของประเทศ ไม่สามารถจำกัดหลักเกณฑ์ที่แน่นอนได้ เพราะในท้องถิ่นแต่ละแห่งจะทำตามความนิยมเฉพาะถิ่นและความคิดของผู้สาน นับว่าเป็นลายที่น่าสนใจลายหนึ่งในกระบวนการกระทำเครื่องจักสาน เครื่องจักสานลายอิสระส่วนใหญ่จะเป็นการสานเครื่องเล่น เครื่องประดับ หรือของสักการบูชา เช่น รูปสัตว์ต่างๆ กำไลข้อมือ เข็มขัด พวงมาลัย เป็นต้น

 

                         

                            ลายขัด เป็นลายพื้นฐานของเครื่องจักสาน                    ลายทแยง มักใช้สานภาชนะที่ต้องการให้โปร่ง

                                   ก่อนที่จะพัฒนา เป็นลายอื่นๆ                                     อากาศผ่านได้  เช่น เข่ง ชะลอม

 

 

มหาวิทยาลัยศรีปทุม ผู้ใหญ่ใจดี
 

 ช่วยด้วยครับ
นักเรียนที่สร้างบล็อก กรุณาอย่า
คัดลอกข้อมูลจากเว็บอื่นทั้งหมด
ควรนำมาจากหลายๆ เว็บ แล้ววิเคราะห์ สังเคราะห์ และเขียนขึ้นใหม่
หากคัดลอกทั้งหมด จะถูกดำเนินคดี
ตามกฎหมายจากเจ้าของลิขสิทธิ์
มีโทษทั้งจำคุกและปรับในอัตราสูง

ช่วยกันนะครับ 
ไทยกู๊ดวิวจะได้อยู่นานๆ 
ไม่ถูกปิดเสียก่อน

ขอขอบคุณในความร่วมมือครับ

อ่านรายละเอียด

ด่วน...... ขณะนี้
พระราชบัญญัติลิขสิทธิ์ (ฉบับที่ 2) พ.ศ. 2558 
มีผลบังคับใช้แล้ว 
ขอให้นักเรียนและคุณครูที่ใช้งาน
เว็บ thaigoodview ในการส่งการบ้าน
ระมัดระวังการละเมิดลิขสิทธิ์ด้วย
อ่านรายละเอียดที่นี่ครับ

 

สมาชิกที่ออนไลน์

ขณะนี้มี สมาชิก 0 คน และ ผู้เยี่ยมชม 371 คน กำลังออนไลน์