• user warning: Table 'cache_filter' is marked as crashed and should be repaired query: SELECT data, created, headers, expire, serialized FROM cache_filter WHERE cid = '3:114a1dbad64038788a8723d9014c9ab6' in /home/tgv/htdocs/includes/cache.inc on line 27.
  • user warning: Table 'cache_filter' is marked as crashed and should be repaired query: UPDATE cache_filter SET data = '<!--paging_filter--><p>\n<span style=\"color: #0000ff\"><b>            คอมพิวเตอร์</b> (<a href=\"http://th.wikipedia.org/wiki/%E0%B8%A0%E0%B8%B2%E0%B8%A9%E0%B8%B2%E0%B8%AD%E0%B8%B1%E0%B8%87%E0%B8%81%E0%B8%A4%E0%B8%A9\" title=\"ภาษาอังกฤษ\">อังกฤษ</a>: <span xml:lang=\"en\" lang=\"en\">computer</span> นิยมอ่านในภาษาไทยว่า คอม-พิ้ว-เต้อ) คือ เครื่องมือหรืออุปกรณ์<a href=\"http://th.wikipedia.org/wiki/%E0%B8%AD%E0%B8%B4%E0%B9%80%E0%B8%A5%E0%B9%87%E0%B8%81%E0%B8%97%E0%B8%A3%E0%B8%AD%E0%B8%99%E0%B8%B4%E0%B8%81%E0%B8%AA%E0%B9%8C\" title=\"อิเล็กทรอนิกส์\">อิเล็กทรอนิกส์</a> ที่มีความสามารถในการคำนวณอัตโนมัติตามคำสั่ง ส่วนที่ใช้ประมวลผลเรียกว่า<a href=\"http://th.wikipedia.org/wiki/%E0%B8%AB%E0%B8%99%E0%B9%88%E0%B8%A7%E0%B8%A2%E0%B8%9B%E0%B8%A3%E0%B8%B0%E0%B8%A1%E0%B8%A7%E0%B8%A5%E0%B8%9C%E0%B8%A5\" title=\"หน่วยประมวลผล\" class=\"mw-redirect\">หน่วยประมวลผล</a> ชุดของคำสั่งที่ระบุขั้นตอนการคำนวณเรียกว่า </span>\n</p>\n<p>\n<span style=\"color: #0000ff\"><a href=\"http://th.wikipedia.org/wiki/%E0%B9%82%E0%B8%9B%E0%B8%A3%E0%B9%81%E0%B8%81%E0%B8%A3%E0%B8%A1%E0%B8%84%E0%B8%AD%E0%B8%A1%E0%B8%9E%E0%B8%B4%E0%B8%A7%E0%B9%80%E0%B8%95%E0%B8%AD%E0%B8%A3%E0%B9%8C\" title=\"โปรแกรมคอมพิวเตอร์\">โปรแกรมคอมพิวเตอร์</a> ผลลัพธ์ที่ได้ออกมานั้นอาจเป็นได้ทั้ง <a href=\"http://th.wikipedia.org/wiki/%E0%B8%95%E0%B8%B1%E0%B8%A7%E0%B9%80%E0%B8%A5%E0%B8%82\" title=\"ตัวเลข\" class=\"mw-redirect\">ตัวเลข</a> <a href=\"http://th.wikipedia.org/wiki/%E0%B9%80%E0%B8%AA%E0%B8%B5%E0%B8%A2%E0%B8%87\" title=\"เสียง\">เสียง</a> หรืออยู่ในรูปอื่น ๆ อีกมากมาย </span>\n</p>\n<blockquote><blockquote><hr SIZE=\"2\" width=\"100%\" />\n<hr SIZE=\"2\" width=\"100%\" /></blockquote>\n<blockquote></blockquote>\n<blockquote><p>\n <span style=\"color: #0000ff\">ลักษณะทางกายภาพของคอมพิวเตอร์นั้นมีหลากหลาย มีทั้งขนาดที่ใหญ่มากจนต้องใช้ห้องทั้งห้องในการบรรจุ และขนาดเล็กจนวางได้บนฝ่ามือ การจัดแบ่งประเภทของคอมพิวเตอร์สามารถจัดแบ่งได้ตามขนาดทางกายภาพเป็นสำคัญ ซึ่งมักจะแปลผันกับประสิทธิภาพความเร็วในการประมวลผล โดยขนาดคอมพิวเตอร์ที่มีขนาดใหญ่ที่สุดเรียกว่า <a href=\"http://th.wikipedia.org/wiki/%E0%B8%8B%E0%B8%B9%E0%B9%80%E0%B8%9B%E0%B8%AD%E0%B8%A3%E0%B9%8C%E0%B8%84%E0%B8%AD%E0%B8%A1%E0%B8%9E%E0%B8%B4%E0%B8%A7%E0%B9%80%E0%B8%95%E0%B8%AD%E0%B8%A3%E0%B9%8C\" title=\"ซูเปอร์คอมพิวเตอร์\">ซูเปอร์คอมพิวเตอร์</a> ใช้กับการคำนวณผลทางวิทยาศาสตร์ ขนาดรองลงมาเรียกว่า <a href=\"http://th.wikipedia.org/wiki/%E0%B9%80%E0%B8%A1%E0%B8%99%E0%B9%80%E0%B8%9F%E0%B8%A3%E0%B8%A1\" title=\"เมนเฟรม\" class=\"mw-redirect\">เมนเฟรม</a> มักใชัในบริษัทขนาดใหญ่ที่ต้องมีการประมวลผลธุรกรรมทางธุรกิจจำนวนมากๆ สำหรับคอมพิวเตอร์ขนาดเล็กที่ใช้ในระดับบุคคลเรียกว่า <a href=\"http://th.wikipedia.org/wiki/%E0%B8%84%E0%B8%AD%E0%B8%A1%E0%B8%9E%E0%B8%B4%E0%B8%A7%E0%B9%80%E0%B8%95%E0%B8%AD%E0%B8%A3%E0%B9%8C%E0%B8%AA%E0%B9%88%E0%B8%A7%E0%B8%99%E0%B8%9A%E0%B8%B8%E0%B8%84%E0%B8%84%E0%B8%A5\" title=\"คอมพิวเตอร์ส่วนบุคคล\">คอมพิวเตอร์ส่วนบุคคล</a> และคอมพิวเตอร์ส่วนบุคคลที่พกพาได้เรียกว่า<a href=\"http://th.wikipedia.org/w/index.php?title=%E0%B8%84%E0%B8%AD%E0%B8%A1%E0%B8%9E%E0%B8%B4%E0%B8%A7%E0%B9%80%E0%B8%95%E0%B8%AD%E0%B8%A3%E0%B9%8C%E0%B9%82%E0%B8%99%E0%B9%89%E0%B8%95%E0%B8%9A%E0%B8%B8%E0%B9%8A%E0%B8%84&amp;action=edit&amp;redlink=1\" title=\"คอมพิวเตอร์โน้ตบุ๊ค (ยังไม่ได้สร้าง)\" class=\"new\">คอมพิวเตอร์โน้ตบุ๊ค</a> ส่วนคอมพิวเตอร์ขนาดเล็กที่สามารถวางบนฝ่ามือได้เรียกว่า <a href=\"http://th.wikipedia.org/wiki/%E0%B8%9E%E0%B8%B5%E0%B8%94%E0%B8%B5%E0%B9%80%E0%B8%AD\" title=\"พีดีเอ\">พีดีเอ</a> อย่างไรก็ตามคอมพิวเตอร์มีใช้กันอย่างกว้างขวางมาก ซึ่งมีอุปกรณ์หลายๆชนิดได้นำคอมพิวเตอร์ไปใช้เป็นกลไกหลักในการทำงาน เช่น <a href=\"http://th.wikipedia.org/wiki/%E0%B8%81%E0%B8%A5%E0%B9%89%E0%B8%AD%E0%B8%87%E0%B8%94%E0%B8%B4%E0%B8%88%E0%B8%B4%E0%B8%97%E0%B8%B1%E0%B8%A5\" title=\"กล้องดิจิทัล\">กล้องดิจิทัล</a>  หรือใน<a href=\"http://th.wikipedia.org/wiki/%E0%B8%A3%E0%B8%96%E0%B8%A2%E0%B8%99%E0%B8%95%E0%B9%8C\" title=\"รถยนต์\">รถยนต์</a>เองก็มีคอมพิวเตอร์ที่ใช้ช่วยในการตรวจสอบระบบการทำงานของเครื่องยนต์ประสิทธิภาพของคอมพิวเตอร์โดยรวมแล้ววัดกันที่ความเร็วการประมวลผล ซึ่งตาม<a href=\"http://th.wikipedia.org/wiki/%E0%B8%81%E0%B8%8F%E0%B8%82%E0%B8%AD%E0%B8%87%E0%B8%A1%E0%B8%B1%E0%B8%A7%E0%B8%A3%E0%B9%8C\" title=\"กฏของมัวร์\" class=\"mw-redirect\">กฏของมัวร์</a></span>\n </p></blockquote>\n</blockquote>\n<p>\n<span style=\"color: #0000ff\">(Moore\'s Law) คอมพิวเตอร์จะเพิ่มประสิทธิภาพเป็นเท่าทวีคูณในทุกปี </span>\n</p>\n<h2><span style=\"color: #0000ff\"><b><span class=\"mw-headline\">ประวัติของคอมพิวเตอร์</span></b></span></h2>\n<dl>\n<dd>\n<div class=\"detail\">\n<span style=\"color: #0000ff\"><span><span><i>ดูบทความหลักที่ <a href=\"http://th.wikipedia.org/wiki/%E0%B8%9B%E0%B8%A3%E0%B8%B0%E0%B8%A7%E0%B8%B1%E0%B8%95%E0%B8%B4%E0%B9%81%E0%B8%A5%E0%B8%B0%E0%B8%84%E0%B8%A7%E0%B8%B2%E0%B8%A1%E0%B9%80%E0%B8%9B%E0%B9%87%E0%B8%99%E0%B8%A1%E0%B8%B2%E0%B8%82%E0%B8%AD%E0%B8%87%E0%B8%84%E0%B8%AD%E0%B8%A1%E0%B8%9E%E0%B8%B4%E0%B8%A7%E0%B9%80%E0%B8%95%E0%B8%AD%E0%B8%A3%E0%B9%8C\" title=\"ประวัติและความเป็นมาของคอมพิวเตอร์\" class=\"mw-redirect\">ประวัติและความเป็นมาของคอมพิวเตอร์</a></i></span></span></span>\n</div>\n<div class=\"detail\">\n<p>\n<span style=\"color: #0000ff\">เป็นเรื่องยากที่จะชี้ชัดลงไปว่าอุปกรณ์ใดจัดเป็นคอมพิวเตอร์ยุคแรก ๆ เพราะคำว่า &quot;คอมพิวเตอร์&quot; เองก็มีการตีความเปลี่ยนไปมาอยู่เสมอ แต่จุดเริ่มของคำนี้หมายถึงคนที่ทำหน้าที่เป็นนักคำนวณในสมัยนั่น </span>\n</p>\n<p>\n<span style=\"color: #0000ff\">ช่วงปี <a href=\"http://th.wikipedia.org/wiki/%E0%B8%84.%E0%B8%A8._1930\" title=\"ค.ศ. 1930\" class=\"mw-redirect\">ค.ศ. 1930</a> ถึงช่วงปี <a href=\"http://th.wikipedia.org/wiki/%E0%B8%84.%E0%B8%A8._1940\" title=\"ค.ศ. 1940\" class=\"mw-redirect\">ค.ศ. 1940</a> เป็นช่วงที่โลกได้มีคอมพิวเตอร์ที่สามารถโปรแกรมได้และคำนวณผลลัพธ์ได้มี ประสิทธิภาพจริง แต่เป็นการยากที่จะตัดสินได้ว่าคอมพิวเตอร์เครื่องแรกของโลกENIAC (Electronics Numerical Integrator and Computer) เกิดขึ้นในปี1946 และประดิษฐ์โดยจอห์น ดับลิว มอชลีย์ (John W. Mauchly) และ เจ เพรสเพอร์ เอคเกิรต (J. Prespern Eckert) ทำงานโดยใช้หลอดสุญญากาศจำนวน 18,000 หลอด มีน้ำหนัก 30 ตัน ใช้เนื้อที่ห้อง 15,000 ตารางฟุต เวลาทำงานต้องใช้กำลังไฟถึง 140 กิโลวัตต์ คำนวณในระบบเลขฐานสิบ </span>\n</p>\n<ul>\n<li><span style=\"color: #0000ff\"><a href=\"http://th.wikipedia.org/wiki/%E0%B8%84.%E0%B8%A8._1941\" title=\"ค.ศ. 1941\" class=\"mw-redirect\">ค.ศ. 1941</a> เป็นครั้งแรกที่โลกได้มีเครื่องคอมพิวเตอร์เครื่องแรกที่สามารถตั้งโปรแกรม ได้อย่างอิสระ ผู้พัฒนาคือ Konrad Zuse และชื่อคอมพิวเตอร์คือ Z1 Computer</span></li>\n<li><span style=\"color: #0000ff\">ค.ศ. 1941 และ  ที่ <a href=\"http://th.wikipedia.org/wiki/%E0%B8%A1%E0%B8%AB%E0%B8%B2%E0%B8%A7%E0%B8%B4%E0%B8%97%E0%B8%A2%E0%B8%B2%E0%B8%A5%E0%B8%B1%E0%B8%A2%E0%B9%84%E0%B8%AD%E0%B9%82%E0%B8%AD%E0%B8%A7%E0%B8%B2%E0%B8%AA%E0%B9%80%E0%B8%95%E0%B8%95\" title=\"มหาวิทยาลัยไอโอวาสเตต\">มหาวิทยาลัยไอโอวาสเตต</a> ได้ร่วมกันสร้าง <a href=\"http://th.wikipedia.org/wiki/%E0%B8%84%E0%B8%AD%E0%B8%A1%E0%B8%9E%E0%B8%B4%E0%B8%A7%E0%B9%80%E0%B8%95%E0%B8%AD%E0%B8%A3%E0%B9%8C_%E0%B8%AD%E0%B8%95%E0%B8%B2%E0%B8%99%E0%B8%B2%E0%B8%8B%E0%B8%AD%E0%B8%9F%E0%B8%9F%E0%B9%8C-%E0%B9%80%E0%B8%9A%E0%B8%AD%E0%B8%A3%E0%B9%8C%E0%B8%A3%E0%B8%B5\" title=\"คอมพิวเตอร์ อตานาซอฟฟ์-เบอร์รี\">คอมพิวเตอร์ อตานาซอฟฟ์-เบอร์รี</a> ซึ่งสามารถประมวลผล<a href=\"http://th.wikipedia.org/wiki/%E0%B9%80%E0%B8%A5%E0%B8%82%E0%B8%90%E0%B8%B2%E0%B8%99%E0%B8%AA%E0%B8%AD%E0%B8%87\" title=\"เลขฐานสอง\">เลขฐานสอง</a></span></li>\n<li><span style=\"color: #0000ff\"><a href=\"http://th.wikipedia.org/wiki/%E0%B8%84.%E0%B8%A8._1944\" title=\"ค.ศ. 1944\" class=\"mw-redirect\">ค.ศ. 1944</a> John Presper Eckert และ John W. Mauchly ได้ร่วมกันสร้าง<a href=\"http://th.wikipedia.org/wiki/%E0%B8%AD%E0%B8%B5%E0%B8%99%E0%B8%B4%E0%B9%81%E0%B8%AD%E0%B8%81\" title=\"อีนิแอก\">อีนิแอก</a> ซึ่งใช้<a href=\"http://th.wikipedia.org/w/index.php?title=%E0%B8%AB%E0%B8%A5%E0%B8%AD%E0%B8%94%E0%B8%AA%E0%B8%B9%E0%B8%8D%E0%B8%8D%E0%B8%B2%E0%B8%81%E0%B8%B2%E0%B8%A8&amp;action=edit&amp;redlink=1\" title=\"หลอดสูญญากาศ (ยังไม่ได้สร้าง)\" class=\"new\">หลอดสูญญากาศ</a>จำนวน 20,000 หลอด เพื่อสร้างหน่วยประมวลผล และถือได้ว่าเป็นคอมพิวเตอร์เครื่องแรกสำหรับการใช้งานทั่วไป โดยมีการประมวลผลแบบ<a href=\"http://th.wikipedia.org/w/index.php?title=%E0%B8%97%E0%B8%A8%E0%B8%99%E0%B8%B4%E0%B8%A2%E0%B8%A1&amp;action=edit&amp;redlink=1\" title=\"ทศนิยม (ยังไม่ได้สร้าง)\" class=\"new\">ทศนิยม</a> โดยหากต้องการตั้งโปรแกรมจะต้องต่อสายเชื่อมต่อเครื่องอุปกรณ์ใหม่ทั้งหมด</span></li>\n<li><span style=\"color: #0000ff\">ค.ศ. 1948 Frederic Williams และ Tom Kilburn สร้างคอมพิวเตอร์ที่ใช้ <a href=\"http://th.wikipedia.org/w/index.php?title=%E0%B8%AB%E0%B8%A5%E0%B8%AD%E0%B8%94%E0%B8%A3%E0%B8%B1%E0%B8%87%E0%B8%AA%E0%B8%B5%E0%B8%84%E0%B8%B2%E0%B9%82%E0%B8%97%E0%B8%94&amp;action=edit&amp;redlink=1\" title=\"หลอดรังสีคาโทด (ยังไม่ได้สร้าง)\" class=\"new\">หลอดรังสีคาโทด</a> เป็นหน่วยความจำ</span></li>\n<li><span style=\"color: #0000ff\">ค.ศ. 1947 ถึง 1948 John Bardeen, Walter Brattain และ Wiliam Shockley สร้างคอมพิวเตอร์ที่ใช้ทราสซิสเตอร์ ถือว่าเป็นจุดเปลี่ยนของเทคโนโลยีคอมพิวเตอร์ที่สำคัญ</span></li>\n<li><span style=\"color: #0000ff\">ค.ศ. 1951 John Presper Eckert และ John W. Mauchly ได้พัฒนา UNIVAC Computer ซึ่งเป็นคอมพิวเตอร์เครื่องแรกที่มีการขาย</span></li>\n<li><span style=\"color: #0000ff\">ค.ศ. 1953 <a href=\"http://th.wikipedia.org/wiki/%E0%B9%84%E0%B8%AD%E0%B8%9A%E0%B8%B5%E0%B9%80%E0%B8%AD%E0%B9%87%E0%B8%A1\" title=\"ไอบีเอ็ม\">ไอบีเอ็ม</a> (IBM) ออกจำหน่าย EDPM เป็นครั้งแรก และเป็นก้าวแรกของไอบีเอ็มในธุรกิจคอมพิวเตอร์</span></li>\n<li><span style=\"color: #0000ff\">ค.ศ. 1954 John Backus และ IBM ร่วมกันสร้างภาษาคอมพิวเตอร์ชื่อ <a href=\"http://th.wikipedia.org/wiki/FORTRAN\" title=\"FORTRAN\" class=\"mw-redirect\">FORTRAN</a> ซึ่งเป็น<a href=\"http://th.wikipedia.org/w/index.php?title=%E0%B8%A0%E0%B8%B2%E0%B8%A9%E0%B8%B2%E0%B8%A3%E0%B8%B0%E0%B8%94%E0%B8%B1%E0%B8%9A%E0%B8%AA%E0%B8%B9%E0%B8%87&amp;action=edit&amp;redlink=1\" title=\"ภาษาระดับสูง (ยังไม่ได้สร้าง)\" class=\"new\">ภาษาระดับสูง</a> (high level programming language) ภาษาแรกในประวัติศาสตร์คอมพิวเตอร์</span></li>\n<li><span style=\"color: #0000ff\">ค.ศ. 1955 (ใช้จริง ค.ศ. 1959) สถาบันวิจัยสแตนฟอร์ด, ธนาคารแห่งชาติอเมริกา, และ บริษัท<a href=\"http://th.wikipedia.org/w/index.php?title=%E0%B9%80%E0%B8%88%E0%B9%80%E0%B8%99%E0%B8%AD%E0%B8%A3%E0%B8%B1%E0%B8%A5%E0%B8%AD%E0%B8%B4%E0%B9%80%E0%B8%A5%E0%B9%87%E0%B8%81%E0%B8%97%E0%B8%A3%E0%B8%B4%E0%B8%81&amp;action=edit&amp;redlink=1\" title=\"เจเนอรัลอิเล็กทริก (ยังไม่ได้สร้าง)\" class=\"new\">เจเนอรัลอิเล็กทริก</a> ร่วมกันสร้าง ERMA และ MICR ซึ่งเป็นคอมพิวเตอร์เครื่องแรกในธุรกิจธนาคาร</span></li>\n<li><span style=\"color: #0000ff\">ค.ศ. 1958 Jack Kilby และ Robert Noyce เป็นผู้สร้าง Integrated Circuit หรือ <a href=\"http://th.wikipedia.org/w/index.php?title=%E0%B8%8A%E0%B8%B4%E0%B8%9B&amp;action=edit&amp;redlink=1\" title=\"ชิป (ยังไม่ได้สร้าง)\" class=\"new\">ชิป</a>(Chip) เป็นครั้งแรก</span></li>\n<li><span style=\"color: #0000ff\">ค.ศ. 1962 <a href=\"http://th.wikipedia.org/w/index.php?title=%E0%B8%AA%E0%B8%95%E0%B8%B5%E0%B8%9F_%E0%B8%A3%E0%B8%B1%E0%B8%AA%E0%B9%80%E0%B8%8B%E0%B8%A5%E0%B8%A5%E0%B9%8C&amp;action=edit&amp;redlink=1\" title=\"สตีฟ รัสเซลล์ (ยังไม่ได้สร้าง)\" class=\"new\">สตีฟ รัสเซลล์</a> และ <a href=\"http://th.wikipedia.org/wiki/%E0%B9%80%E0%B8%AD%E0%B9%87%E0%B8%A1%E0%B9%84%E0%B8%AD%E0%B8%97%E0%B8%B5\" title=\"เอ็มไอที\" class=\"mw-redirect\">เอ็มไอที</a> ได้พัฒนา<a href=\"http://th.wikipedia.org/wiki/%E0%B9%80%E0%B8%81%E0%B8%A1%E0%B8%84%E0%B8%AD%E0%B8%A1%E0%B8%9E%E0%B8%B4%E0%B8%A7%E0%B9%80%E0%B8%95%E0%B8%AD%E0%B8%A3%E0%B9%8C\" title=\"เกมคอมพิวเตอร์\" class=\"mw-redirect\">เกมคอมพิวเตอร์</a>เป็นครั้งแรกของโลกชื่อว่า &quot;Spacewar&quot;</span></li>\n<li><span style=\"color: #0000ff\">ค.ศ. 1964 Douglas Engelbart เป็นผู้ประดิษฐ์<a href=\"http://th.wikipedia.org/wiki/%E0%B9%80%E0%B8%A1%E0%B8%B2%E0%B8%AA%E0%B9%8C\" title=\"เมาส์\">เมาส์</a> และ ระบบปฏิบัติการแบบวินโดวส์</span></li>\n<li><span style=\"color: #0000ff\">ค.ศ. 1969 เป็นปีที่กำเนิด <a href=\"http://th.wikipedia.org/w/index.php?title=ARPAnet&amp;action=edit&amp;redlink=1\" title=\"ARPAnet (ยังไม่ได้สร้าง)\" class=\"new\">ARPAnet</a> ซึ่งเป็นจุดเริ่มต้นของ<a href=\"http://th.wikipedia.org/wiki/%E0%B8%AD%E0%B8%B4%E0%B8%99%E0%B9%80%E0%B8%97%E0%B8%AD%E0%B8%A3%E0%B9%8C%E0%B9%80%E0%B8%99%E0%B9%87%E0%B8%95\" title=\"อินเทอร์เน็ต\">อินเทอร์เน็ต</a></span></li>\n<li><span style=\"color: #0000ff\">ค.ศ. 1970 <a href=\"http://th.wikipedia.org/wiki/%E0%B8%AD%E0%B8%B4%E0%B8%99%E0%B9%80%E0%B8%97%E0%B8%A5\" title=\"อินเทล\">อินเทล</a>] พัฒนาหน่วยความจำชั่วคราวของคอมพิวเตอร์หรือ RAM เป็นครั้งแรก</span></li>\n<li><span style=\"color: #0000ff\">ค.ศ. 1971 Faggin, Hoff และ Mazor พัฒนา<a href=\"http://th.wikipedia.org/wiki/%E0%B9%84%E0%B8%A1%E0%B9%82%E0%B8%84%E0%B8%A3%E0%B9%82%E0%B8%9B%E0%B8%A3%E0%B9%80%E0%B8%8B%E0%B8%AA%E0%B9%80%E0%B8%8B%E0%B8%AD%E0%B8%A3%E0%B9%8C\" title=\"ไมโครโปรเซสเซอร์\" class=\"mw-redirect\">ไมโครโปรเซสเซอร์</a>ตัวแรกของโลกให้<a href=\"http://th.wikipedia.org/wiki/%E0%B8%AD%E0%B8%B4%E0%B8%99%E0%B9%80%E0%B8%97%E0%B8%A5\" title=\"อินเทล\">อินเทล</a> (Intel)</span></li>\n<li><span style=\"color: #0000ff\">ค.ศ. 1971 Alan Shugart และ IBM พัฒนา <a href=\"http://th.wikipedia.org/wiki/%E0%B8%9F%E0%B8%A5%E0%B8%AD%E0%B8%9B%E0%B8%9B%E0%B8%B5%E0%B9%89%E0%B8%94%E0%B8%B4%E0%B8%AA%E0%B8%81%E0%B9%8C\" title=\"ฟลอปปี้ดิสก์\" class=\"mw-redirect\">ฟลอปปี้ดิสก์</a> เป็นครั้งแรก</span></li>\n<li><span style=\"color: #0000ff\">ค.ศ. 1973 Robert Metcalfe และ Xerox ได้พัฒนาระบบอีเทอร์เน็ต (Ethernet) สำหรับระบบเครือข่ายคอมพิวเตอร์</span></li>\n<li><span style=\"color: #0000ff\">ค.ศ. 1974 ถึง ค.ศ. 1975 Scelbi และ Mark-8 Altair และ IBM ร่วมกันวางจำหน่ายคอมพิวเตอร์สำหรับผู้ใช้รายย่อยเป็นครั้งแรก</span></li>\n<li><span style=\"color: #0000ff\">ค.ศ. 1976 ถึง ค.ศ. 1977 ถือกำเนิด Apple I, II และ TRS-80 และ Commodore Pet Computers ซึ่งเป็น<a href=\"http://th.wikipedia.org/wiki/%E0%B8%84%E0%B8%AD%E0%B8%A1%E0%B8%9E%E0%B8%B4%E0%B8%A7%E0%B9%80%E0%B8%95%E0%B8%AD%E0%B8%A3%E0%B9%8C%E0%B8%AA%E0%B9%88%E0%B8%A7%E0%B8%99%E0%B8%9A%E0%B8%B8%E0%B8%84%E0%B8%84%E0%B8%A5\" title=\"คอมพิวเตอร์ส่วนบุคคล\">คอมพิวเตอร์ส่วนบุคคล</a>รุ่นแรกๆ ของโลก</span></li>\n<li><span style=\"color: #0000ff\">ค.ศ. 1981 <a href=\"http://th.wikipedia.org/wiki/%E0%B9%84%E0%B8%A1%E0%B9%82%E0%B8%84%E0%B8%A3%E0%B8%8B%E0%B8%AD%E0%B8%9F%E0%B8%97%E0%B9%8C\" title=\"ไมโครซอฟท์\">ไมโครซอฟท์</a> วางจำหนาย <a href=\"http://th.wikipedia.org/wiki/MS-DOS\" title=\"MS-DOS\" class=\"mw-redirect\">MS-DOS</a> ซึ่งเป็นระบบปฏิบัติการที่ได้รับความนิยมที่สุดในช่วงนั้น</span></li>\n<li><span style=\"color: #0000ff\">ค.ศ. 1983 บริษัท<a href=\"http://th.wikipedia.org/wiki/%E0%B9%81%E0%B8%AD%E0%B8%9B%E0%B9%80%E0%B8%9B%E0%B8%B4%E0%B8%A5\" title=\"แอปเปิล\">แอปเปิล</a> ออกคอมพิวเตอร์รุ่น Apple Lisa ซึ่งเป็นคอมพิวเตอร์รุ่นแรกที่ใช้ระบบ <a href=\"http://th.wikipedia.org/wiki/GUI\" title=\"GUI\" class=\"mw-redirect\">GUI</a></span></li>\n<li><span style=\"color: #0000ff\">ค.ศ. 1984 บริษัทแอปเปิล วางจำหน่ายคอมพิวเตอร์รุ่น <a href=\"http://th.wikipedia.org/wiki/%E0%B9%81%E0%B8%AD%E0%B8%9B%E0%B9%80%E0%B8%9B%E0%B8%B4%E0%B8%A5_%E0%B9%81%E0%B8%A1%E0%B8%84%E0%B8%AD%E0%B8%B4%E0%B8%99%E0%B8%97%E0%B8%AD%E0%B8%8A\" title=\"แอปเปิล แมคอินทอช\" class=\"mw-redirect\">แอปเปิล แมคอินทอช</a> ซึ่งทำให้มีการใช้คอมพิวเตอร์อย่างกว้างขวาง</span></li>\n<li><span style=\"color: #0000ff\">ค.ศ. 1985 ไมโครซอฟท์ วางจำหน่าย <a href=\"http://th.wikipedia.org/wiki/%E0%B9%84%E0%B8%A1%E0%B9%82%E0%B8%84%E0%B8%A3%E0%B8%8B%E0%B8%AD%E0%B8%9F%E0%B8%97%E0%B9%8C_%E0%B8%A7%E0%B8%B4%E0%B8%99%E0%B9%82%E0%B8%94%E0%B8%A7%E0%B8%AA%E0%B9%8C\" title=\"ไมโครซอฟท์ วินโดวส์\">ไมโครซอฟท์ วินโดวส์</a> เป็นครั้งแรก</span></li>\n</ul>\n</div>\n</dd>\n</dl>\n<p>\n<span style=\"color: #0000ff\"><b> <span class=\"mw-headline\">ลักษณะเด่นของคอมพิวเตอร์</span></b></span>\n</p>\n<ul>\n<li><span style=\"color: #0000ff\">ความเป็นอัตโนมัติ (Self Acting)</span></li>\n<li><span style=\"color: #0000ff\">ความเร็ว (Speed)</span></li>\n<li><span style=\"color: #0000ff\">ความถูกต้องแม่นยำ (Accuracy)</span></li>\n<li><span style=\"color: #0000ff\">ความน่าเชื่อถือ (Reliability)</span></li>\n<li><span style=\"color: #0000ff\">การจัดเก็บข้อมูล (Storage Capability)</span></li>\n<li><span style=\"color: #0000ff\">ทำงานซ้ำๆได้อย่างอัตโนมัติ (Repeatability)</span></li>\n<li><span style=\"color: #0000ff\">การติดต่อสื่อสาร (Communication) </span><br />\n<h2><span style=\"color: #0000ff\"><span class=\"mw-headline\">ประเภทของคอมพิวเตอร์</span></span></h2>\n<p>\n <span style=\"color: #0000ff\">ในปัจจุบัน คอมพิวเตอร์ได้ใช้วงจรเบ็ดเสร็จขนาดใหญ่มาก (very large scale integrated circuit) ซึ่งสามารถบรรจุทรานซิสเตอร์ได้มากกว่าสิบล้านตัว เราสามารถแบ่งคอมพิวเตอร์ในรุ่นปัจจุบันออกเป็น 4 ประเภทดังต่อไปนี้ </span>\n </p>\n</li>\n</ul>\n<p><span style=\"color: #0000ff\"><br />\n</span></p>\n<h3><span style=\"color: #0000ff\"><b><span class=\"mw-headline\">ซูเปอร์คอมพิวเตอร์ (supercomputer)</span></b></span></h3>\n<p>\n<span style=\"color: #0000ff\">ซูเปอร์คอมพิวเตอร์ ถือได้ว่าเป็นคอมพิวเตอร์ที่มีความเร็วมาก และมีประสิทธิภาพสูงสุดเมื่อเปรียบเทียบกับคอมพิวเตอร์ชนิดอื่น ๆ เครื่องซูเปอร์คอมพิวเตอร์มีราคาแพงมาก มีขนาดใหญ่ สามารถคำนวณทางคณิตศาสตร์ได้หลายแสนล้านครั้งต่อวินาที และได้รับการออกแบบ เพื่อให้ใช้แก้ปัญหาขนาดใหญ่มากทางวิทยาศาสตร์และทางวิศวกรรมศาสตร์ได้อย่าง รวดเร็ว เช่น การพยากรณ์อากาศล่วงหน้าเป็นเวลาหลายวัน การศึกษาผลกระทบของมลพิษกับสภาวะแวดล้อมซึ่งหากใช้คอมพิวเตอร์ชนิดอื่นๆ แก้ไขปัญหาประเภทนี้ อาจจะต้องใช้เวลาในการคำนวณหลายปีกว่าจะเสร็จสิ้น ในขณะที่ซูเปอร์คอมพิวเตอร์สามารถแก้ไขปัญหาได้ภายในเวลาไม่กี่ชั่วโมงเท่า นั้น เนื่องจากการแก้ปัญหาใหญ่ ๆ จะต้องใช้หน่วยความจำสูง ดังนั้น ซูเปอร์คอมพิวเตอร์จึงมีหน่วยความจำที่ใหญ่มาก ซูเปอร์คอมพิวเตอร์มีหลายประเภท ตั้งแต่รุ่นที่มีหน่วยประมวลผล (processing unit) 1 หน่วย จนถึงรุ่นที่มีหน่วยประมวลผลหลายหมื่นหน่วยซึ่งสามารถทำงานหลายอย่างได้ พร้อม ๆ กัน </span>\n</p>\n<h3><span style=\"color: #0000ff\"><b><span class=\"mw-headline\">เมนเฟรมคอมพิวเตอร์ (mainframe computer)</span></b></span></h3>\n<p>\n<span style=\"color: #0000ff\">เมนเฟรมคอมพิวเตอร์ มีสมรรถภาพที่ต่ำกว่าซูเปอร์คอมพิวเตอร์มาก แต่ยังมีความเร็วสูง และมีประสิทธิภาพสูงกว่ามินิคอมพิวเตอร์หรือไมโครคอมพิวเตอร์ เมนเฟรมคอมพิวเตอร์สามารถให้บริการผู้ใช้จำนวนหลายร้อยคนพร้อม ๆ กัน ฉะนั้น จึงสามารถใช้โปรแกรมจำนวนนับร้อยแบบในเวลาเดียวกันได้ โดยเฉพาะถ้าต่อเครื่องเข้าเครือข่ายคอมพิวเตอร์ ผู้ใช้สามารถใช้ได้จากทั่วโลก ปัจจุบัน องค์กรใหญ่ๆ เช่น ธนาคาร จะใช้คอมพิวเตอร์ประเภทนี้ในการทำบัญชีลูกค้า หรือการให้บริการจากเครื่องฝากและถอนเงินแบบอัตโนมัติ (automatic teller machine) เนื่องจากเครื่องเมนเฟรมคอมพิวเตอร์ได้ถูกใช้งานมากในการบริการผู้ใช้พร้อม ๆ กัน เมนเฟรมคอมพิวเตอร์จึงต้องมีหน่วยความจำที่ใหญ่มาก </span>\n</p>\n<p>\n<span style=\"color: #0000ff\"></span>\n</p>\n<h3><span style=\"color: #0000ff\"><b><span class=\"mw-headline\">มินิคอมพิวเตอร์ (minicomputer)</span></b></span></h3>\n<p>\n<span style=\"color: #0000ff\">มินิคอมพิวเตอร์ คือ เมนเฟรมคอมพิวเตอร์ขนาดเล็ก ๆ ซึ่งสามารถบริการผู้ใช้งานได้หลายคนพร้อม ๆ กัน แต่จะไม่มีสมรรถภาพเพียงพอที่จะบริการผู้ใช้ในจำนวนที่เทียบเท่าเมนเฟรม คอมพิวเตอร์ได้ จึงทำให้มินิคอมพิวเตอร์เหมาะสำหรับองค์กรขนาดกลาง หรือสำหรับแผนกหนึ่งหรือสาขาหนึ่งขององค์กรขนาดใหญ่เท่านั้น </span>\n</p>\n<h3><span style=\"color: #0000ff\"><b><span class=\"mw-headline\">ไมโครคอมพิวเตอร์ (microcomputer) หรือ <a href=\"http://th.wikipedia.org/wiki/%E0%B8%9E%E0%B8%B5%E0%B8%8B%E0%B8%B5\" title=\"พีซี\" class=\"mw-redirect\">พีซี</a> (personal computer หรือ PC )</span></b></span></h3>\n<p>\n<span style=\"color: #0000ff\">ไมโครคอมพิวเตอร์ คือ คอมพิวเตอร์ขนาดเล็กแบบขนาดตั้งโต๊ะ (desktop computer) หรือขนาดเล็กกว่านั้น อาทิเช่น ขนาดสมุดบันทึก (notebook computer) และขนาดฝ่ามือ (palmtop computer) ไมโครคอมพิวเตอร์ได้เริ่มมีขึ้นในปีพ.ศ. 2518 ถึงแม้ว่าในระยะหลัง เครื่องชนิดนี้จะมีประสิทธิภาพที่สูง แต่เนื่องจากมีราคาไม่แพงและมีขนาดกระทัดรัด ไมโครคอมพิวเตอร์จึงยังเหมาะสำหรับใช้ส่วนตัว ไมโครคอมพิวเตอร์ได้ถูกออกแบบสำหรับใช้ที่บ้าน โรงเรียน และสำนักงานสำหรับที่บ้าน เราสามารถใช้ไมโครคอมพิวเตอร์ในการทำงบประมาณรายรับรายจ่ายของครอบครัวช่วย ทำการบ้านของลูกๆ การค้นคว้าข้อมูลและข่าวสาร การสื่อสารแบบอิเล็กทรอนิกส์ (electronic mail หรือ E - mail) หรือโทรศัพท์ทางอินเทอร์เน็ต (internet phone) ในการติดต่อทั้งในและนอกประเทศ หรือแม้กระทั่งทางบันเทิง เช่น การเล่นเกมบนเครื่องไมโครคอมพิวเตอร์ สำหรับที่โรงเรียน เราสามารถใช้ไมโครคอมพิวเตอร์ในการช่วยสอนนักเรียนในการค้นคว้าข้อมูลจาก ทั่วโลกสำหรับที่สำนักงาน เราสามารถใช้ไมโครคอมพิวเตอร์ในการช่วยพิมพ์จดหมายและข้อมูลอื่นๆ เก็บและค้นข้อมูล วิเคราะห์และทำนายยอดซื้อขายล่วงหน้า </span>\n</p>\n<h2><span style=\"color: #0000ff\"><b><span class=\"mw-headline\">คอมพิวเตอร์ทำงานอย่างไร</span></b></span></h2>\n<div class=\"thumb tright\">\n<div style=\"width: 302px\" class=\"thumbinner\">\n<span style=\"color: #0000ff\"><span class=\"image\"></span></span>\n<div class=\"thumbcaption\">\n<div class=\"magnify\">\n<span style=\"color: #0000ff\"><a href=\"http://th.wikipedia.org/wiki/%E0%B9%84%E0%B8%9F%E0%B8%A5%E0%B9%8C:Stored-program.png\" title=\"ขยาย\" class=\"internal\"><br />\n</a></span>\n</div>\n</div>\n</div>\n</div>\n<p>\n<span style=\"color: #0000ff\">คอมพิวเตอร์ในยุคแรกๆเช่น ENIAC เวลาโปรแกรมต้องใช้วิธีการเปลี่ยนสายเชื่อมต่ออุปกรณ์ต่างๆ ซึ่งเป็นวิธีการที่ยุ่งยากมาก จึงเกิดแนวคิดว่าตัวโปรแกรมน่าจะจัดเก็บอยู่ในส่วนที่สามารถปรับเปลี่ยน แก้ไขได้ง่าย เป็นที่มาของแนวคิดที่ทำการจัดเก็บข้อมูลต่างๆรวมถึงโปรแกรมไว้ใน <a href=\"http://th.wikipedia.org/wiki/%E0%B8%AB%E0%B8%99%E0%B9%88%E0%B8%A7%E0%B8%A2%E0%B8%84%E0%B8%A7%E0%B8%B2%E0%B8%A1%E0%B8%88%E0%B8%B3\" title=\"หน่วยความจำ\">หน่วยความจำ</a> หรือ memory ทำให้คอมพิวเตอร์จะได้รับคำสั่งโดยการอ่านคำสั่งจากหน่วยความจำ และการปรับเปลี่ยนโปรแกรมสามารถทำได้โดยการเปลี่ยนแปลงค่าภายในหน่วยความจำ </span>\n</p>\n<p>\n<span style=\"color: #0000ff\">แนวคิดข้างต้นรู้จักในชื่อว่า &quot;&quot; หรือ อีกชื่อว่า<a href=\"http://th.wikipedia.org/w/index.php?title=%E0%B8%AA%E0%B8%96%E0%B8%B2%E0%B8%9B%E0%B8%B1%E0%B8%95%E0%B8%A2%E0%B8%81%E0%B8%A3%E0%B8%A3%E0%B8%A1_von_Neumann&amp;action=edit&amp;redlink=1\" title=\"สถาปัตยกรรม von Neumann (ยังไม่ได้สร้าง)\" class=\"new\"> </a>โดยเข้าใจว่า J. Presper Eckert และ John William Mauchly ซึ่งเป็นนักออกแบบ ENIAC เป็นผู้คิดค้นขึ้น </span>\n</p>\n<p>\n<span style=\"color: #0000ff\">แนวคิดการทำงานแบบ Stored-Program ถูกใช้เป็นแนวคิดหลักของการทำงานในคอมพิวเตอร์จนถึงปัจจุบัน โดยแนวคิดนี้จะแบ่งการทำงานของคอมพิวเตอร์เป็น 4 ส่วนหลักได้แก่ </span>\n</p>\n<ul>\n<li><span style=\"color: #0000ff\">หน่วยประมวลผลในรูปแบบข้อมูล Binary หรือที่เรียกว่า <a href=\"http://th.wikipedia.org/w/index.php?title=Arithmetic-Logical_Unit&amp;action=edit&amp;redlink=1\" title=\"Arithmetic-Logical Unit (ยังไม่ได้สร้าง)\" class=\"new\">Arithmetic-Logical Unit</a> (ALU) เปรียบเสมือนหัวใจของคอมพิวเตอร์ หน้าที่หลักของมันคือทำการประมวลผลทางคณิตศาสตร์ขั้นพื้นฐานอันได้แก่การบวก และลบ และการทำการเปรียบเทียบข้อมูลสองข้อมูลว่ามีค่าเท่ากันหรือไม่ถ้าไม่จะมีค่า มากกว่าหรือน้อยกว่า</span></li>\n<li><span style=\"color: #0000ff\"><a href=\"http://th.wikipedia.org/wiki/%E0%B8%AB%E0%B8%99%E0%B9%88%E0%B8%A7%E0%B8%A2%E0%B8%84%E0%B8%A7%E0%B8%B2%E0%B8%A1%E0%B8%88%E0%B8%B3\" title=\"หน่วยความจำ\">หน่วยความจำ</a> หรือ Memory ใช้สำหรับเก็บข้อมูล (Data) และ คำสั่ง (<a href=\"http://th.wikipedia.org/w/index.php?title=Instructions&amp;action=edit&amp;redlink=1\" title=\"Instructions (ยังไม่ได้สร้าง)\" class=\"new\">Instructions</a>) โดยข้อมูลภายในหน่วยความจำจะถูกแบ่งเป็นส่วนๆเล็กๆเท่าๆกัน แต่ละส่วนมีที่อยู่ (address) เพื่อใช้เข้าถึงข้อมูลที่ถูกจัดเก็บเอาไว้</span></li>\n<li><span style=\"color: #0000ff\">อุปกรณ์<a href=\"http://th.wikipedia.org/wiki/%E0%B8%AD%E0%B8%B4%E0%B8%99%E0%B8%9E%E0%B8%B8%E0%B8%95\" title=\"อินพุต\">อินพุต</a>และ<a href=\"http://th.wikipedia.org/wiki/%E0%B9%80%E0%B8%AD%E0%B8%B2%E0%B8%95%E0%B9%8C%E0%B8%9E%E0%B8%B8%E0%B8%95\" title=\"เอาต์พุต\">เอาต์พุต</a> หรือ  Device เป็นส่วนที่ใช้นำข้อมูลจากโลกภายนอกเข้ามาภายในระบบคอมพิวเตอร์ เพื่อนำมาประมวลผล และเมื่อได้ผลลัพธ์ก็จะนำข้อมูลที่ได้มาแสดงผลให้โลกภายนอกคอมพิวเตอร์ได้ รับทราบ</span></li>\n<li><span style=\"color: #0000ff\">หน่วยควบคุมการทำงาน หรือ <a href=\"http://th.wikipedia.org/w/index.php?title=Control_Unit&amp;action=edit&amp;redlink=1\" title=\"Control Unit (ยังไม่ได้สร้าง)\" class=\"new\">Control Unit</a> เป็นส่วนที่ใช้เชื่อมต่อแต่ละส่วนเข้าด้วยกัน หน้าที่หลักๆคือทำการอ่านข้อมูลคำสั่งที่อยู่ภายในหน่วยความจำหรือที่ได้จาก อุปกรณ์อินพุต ทำการแปลความหมายและส่งไปประมวลผลใน ALU จากนั้นนำผลที่ได้ไปจัดเก็บในหน่วยความจำหรืออุปกรณ์เอาต์พุต หน้าที่หลักอีกประการ คือควบคุมลำดับการทำงานของแต่ละขั้นตอนให้อยู่ในเวลาที่เหมาะสม</span></li>\n</ul>\n<p><span style=\"color: #0000ff\"><img src=\"file:///C:/DOCUME%7E1/ADMINI%7E1/LOCALS%7E1/Temp/moz-screenshot-1.jpg\" /><img src=\"file:///C:/DOCUME%7E1/ADMINI%7E1/LOCALS%7E1/Temp/moz-screenshot-2.jpg\" /><img src=\"file:///C:/DOCUME%7E1/ADMINI%7E1/LOCALS%7E1/Temp/moz-screenshot-3.jpg\" /><img src=\"file:///C:/DOCUME%7E1/ADMINI%7E1/LOCALS%7E1/Temp/moz-screenshot-4.jpg\" /><img src=\"file:///C:/DOCUME%7E1/ADMINI%7E1/LOCALS%7E1/Temp/moz-screenshot-5.jpg\" /><img src=\"file:///C:/DOCUME%7E1/ADMINI%7E1/LOCALS%7E1/Temp/moz-screenshot-6.jpg\" /><img src=\"file:///C:/DOCUME%7E1/ADMINI%7E1/LOCALS%7E1/Temp/moz-screenshot-7.jpg\" /><img src=\"file:///C:/DOCUME%7E1/ADMINI%7E1/LOCALS%7E1/Temp/moz-screenshot-8.jpg\" /><img src=\"file:///C:/DOCUME%7E1/ADMINI%7E1/LOCALS%7E1/Temp/moz-screenshot-9.jpg\" /><img src=\"file:///C:/DOCUME%7E1/ADMINI%7E1/LOCALS%7E1/Temp/moz-screenshot-10.jpg\" /></span> </p>\n<h3><span style=\"color: #0000ff\"><b><span class=\"mw-headline\">หน่วยประมวลผล</span></b></span></h3>\n<p>\n<span style=\"color: #0000ff\">การทำงานของหน่วยประมวลผลกลาง หน่วยประมวลผล จะรับคำสั่งและข้อมูลจากหน่วยความจำ โดยส่งเข้าที่ Queue Prefetch Unit จะตรวจสอบว่า ค่าใน Queue เป็นคำสั่งหรือไม่ ถ้าเป็นคำสั่งจะสั่งให้ Bus Interface Unit (BIU) ส่งค่าของคำสั่งไปที่ Decode Unit ถ้าเป็นค่าที่อยู่ (Address) ของหน่วยความจำ จะถูกส่งไปที่ Segment and Paging Unit Segment and Paging Unit จะแปลงที่อยู่ของหน่วยความจำ จากที่อยู่เสมือน (Virtual Address) ในรูปแบบของ segment : offset ให้กลายเป็นที่อยู่จริง (Physical Address) ที่ Bus Interface Unit เข้าใจ หน่วยถอดรหัส (Decode Unit) จะตรวจสอบและแยกแยะคำสั่ง แล้วแปลคำสั่ง และส่งสัญญาณควบคุมไปให้ Execution Unit ทำงานตามคำสั่งนั้นใน Execution Unit จะประกอบด้วย </span>\n</p>\n<p>\n<span style=\"color: #0000ff\">Control Unit (CU) จะทำหน้าที่ควบคุมการทำงานภายในโปรเซสเซอร์เป็นตัวสั่งงาน Unit อื่นๆตามคำสั่งที่แปลจาก Decode Unit Protection Test Unit จะป้องกันและตรวจสอบการทำงานของส่วนต่างๆ ไม่ให้ทำผิดกฏเกณฑ์ จนเกิดข้อผิดพลาดขึ้น Register จะทำหน้าที่เก็บค่าชั่วคราวก่อนและหลังการประมวลเพื่อส่งให้ส่วนอื่นๆต่อไป เป็นเหมือนกระดาษทดชัว่คราว สำหรับ ALU Arithmetic Logic Unit (ALU) เป็นส่วนการคำนวณทางคณิตศาสตร์และหาค่าตรรกะของการเปรียบเทียบ </span>\n</p>\n<p>\n<span style=\"color: #0000ff\">เมื่อ ALU คำนวณหรือเปรียบเทียบค่าเรียบร้อยแล้ว จะส่งไปเก็บไว้ที่ Register แล้ว Control Unit จะสั่งให้ BIU เก็บค่าผลลัพธ์ลงในหน่วยความจำ โดยแปลงที่อยู่เสมือนที่ Control Unit กำหนด ให้กลายเป็น ที่อยู่จริงของหน่วยความจำที่จะนำผลลัพธ์ไปเก็บไว้ </span>\n</p>\n<p>\n<span style=\"color: #0000ff\"></span>\n</p>\n<h3><span style=\"color: #0000ff\"><b><span class=\"mw-headline\">หน่วยความจำ</span></b></span></h3>\n<p>\n<span style=\"color: #0000ff\"><a href=\"http://th.wikipedia.org/wiki/%E0%B8%AB%E0%B8%99%E0%B9%88%E0%B8%A7%E0%B8%A2%E0%B8%84%E0%B8%A7%E0%B8%B2%E0%B8%A1%E0%B8%88%E0%B8%B3\" title=\"หน่วยความจำ\">หน่วยความจำ</a>เป็น พื้นที่การทำงานและเป็นพื้นที่การจัดเก็บข้อมูลของคอมพิวเตอร์ เพราะคอมพิวเตอร์ไม่สามารถทำงานตามลำพังโดยอาศัยเพียงหน่วยประมวลผลหลักได้ หน่วยความจำแบ่งออกเป็น 2 ประเภทใหญ่ๆ ได้แก่ หน่วยความจำชั่วคราว หรือ หน่วยความจำหลัก คือ <a href=\"http://th.wikipedia.org/wiki/%E0%B9%81%E0%B8%A3%E0%B8%A1\" title=\"แรม\">แรม</a> (RAM: Random Access Memory) โดยแรมจะเป็นหน่วยความจำที่ใช้ขณะคอมพิวเตอร์ทำงาน และจะหายไปเมื่อปิดเครื่อง อีกชนิดหนึ่งคือหน่วยความจำถาวร หรือหน่วยความจำสำรอง ได้แก่ <a href=\"http://th.wikipedia.org/wiki/%E0%B8%AE%E0%B8%B2%E0%B8%A3%E0%B9%8C%E0%B8%94%E0%B8%94%E0%B8%B4%E0%B8%AA%E0%B8%81%E0%B9%8C\" title=\"ฮาร์ดดิสก์\">ฮาร์ดดิสก์</a> (Hard Disk) ที่ใช้ในการเก็บข้อมูล และ <a href=\"http://th.wikipedia.org/wiki/%E0%B8%A3%E0%B8%AD%E0%B8%A1\" title=\"รอม\">รอม</a></span> (ROM: Read Only Memory) ที่ใช้ในการเก็บค่าไบออส หน่วยความจำถาวรจะใช้ในการเก็บข้อมูลของเครื่องคอมพิวเตอร์และจะไม่สูญหาย เมื่อปิดเครื่อง\n</p>\n<p>\n<span style=\"color: #0000ff\">ข้อแตกต่างของหน่วยความจำคือ หน่วยความจำแบบชั่วคราวจะมีความเร็วในการถ่ายข้อมูลสูง แต่ความจำน้อย เมื่อเกิดการทำงานของโปรแกรมมากๆ จึงต้องส่งผ่านข้อมูลลงหน่วยความจำถาวร ซึ่งเป็นสาเหตุหนึ่งของอาการ<a href=\"http://th.wikipedia.org/w/index.php?title=%E0%B9%81%E0%B8%AE%E0%B9%87%E0%B8%87&amp;action=edit&amp;redlink=1\" title=\"แฮ็ง (ยังไม่ได้สร้าง)\" class=\"new\">แฮ็ง</a> (hang) </span>\n</p>\n<p>\n<span style=\"color: #0000ff\"></span>\n</p>\n<h2><span style=\"color: #0000ff\"><b><span class=\"mw-headline\">ตัวอย่างประโยชน์ของคอมพิวเตอร์</span></b></span></h2>\n<p>\n<span style=\"color: #0000ff\">คอมพิวเตอร์มีประโยชน์กับเรามากมาย เช่น </span>\n</p>\n<ol>\n<li><span style=\"color: #0000ff\"><b>การใช้งานภาครัฐ</b> งานทะเบียนราษฎร์ของรัฐบาล เช่น การแจ้งเกิด ตาย ย้ายที่อยู่ การทำบัตรประจำตัวประชาชน</span></li>\n<li><span style=\"color: #0000ff\"><b>การใช้งานทางด้านธุรกิจทั่วไป</b> งานทำบัญชี รายการซื้อขาย งานเรียบเรียงเอกสาร งานประมวลคำ</span></li>\n<li><span style=\"color: #0000ff\"><b>งานสายการบิน</b> การสำรองที่นั่งผู้โดยสาร การลดงานเอกสาร</span></li>\n<li><span style=\"color: #0000ff\"><b>ทางด้านการศึกษา</b> สื่อคอมพิวเตอร์ช่วยสอน การเรียนออนไลน์ให้กับผู้เรียนที่อยู่ห่างไกล</span></li>\n<li><span style=\"color: #0000ff\"><b>ธุรกิจการนำเข้าสินค้าและส่งออก</b> การทำธุรกิจแบบพานิชอิเล็กทรอนิกส์</span></li>\n<li><span style=\"color: #0000ff\"><b>ธุรกิจธนาคาร</b> ธนาคารอิเล็กทรอนิกส์ การทำธุรกรรมผ่านโทรศัพท์มือถือ</span></li>\n<li><span style=\"color: #0000ff\"><b>วิทยาศาสตร์และการแพทย์</b> การเก็บข้อมูลเกี่ยวกับประวัติการรักษาของคนไข้ วิจัย คำนวณและการจำลองแบบ</span></li>\n</ol>\n<p>\n<span style=\"color: #0000ff\"></span>\n</p>\n', created = 1729411054, expire = 1729497454, headers = '', serialized = 0 WHERE cid = '3:114a1dbad64038788a8723d9014c9ab6' in /home/tgv/htdocs/includes/cache.inc on line 112.

คอมพิวเตอร์

            คอมพิวเตอร์ (อังกฤษ: computer นิยมอ่านในภาษาไทยว่า คอม-พิ้ว-เต้อ) คือ เครื่องมือหรืออุปกรณ์อิเล็กทรอนิกส์ ที่มีความสามารถในการคำนวณอัตโนมัติตามคำสั่ง ส่วนที่ใช้ประมวลผลเรียกว่าหน่วยประมวลผล ชุดของคำสั่งที่ระบุขั้นตอนการคำนวณเรียกว่า

โปรแกรมคอมพิวเตอร์ ผลลัพธ์ที่ได้ออกมานั้นอาจเป็นได้ทั้ง ตัวเลข เสียง หรืออยู่ในรูปอื่น ๆ อีกมากมาย



ลักษณะทางกายภาพของคอมพิวเตอร์นั้นมีหลากหลาย มีทั้งขนาดที่ใหญ่มากจนต้องใช้ห้องทั้งห้องในการบรรจุ และขนาดเล็กจนวางได้บนฝ่ามือ การจัดแบ่งประเภทของคอมพิวเตอร์สามารถจัดแบ่งได้ตามขนาดทางกายภาพเป็นสำคัญ ซึ่งมักจะแปลผันกับประสิทธิภาพความเร็วในการประมวลผล โดยขนาดคอมพิวเตอร์ที่มีขนาดใหญ่ที่สุดเรียกว่า ซูเปอร์คอมพิวเตอร์ ใช้กับการคำนวณผลทางวิทยาศาสตร์ ขนาดรองลงมาเรียกว่า เมนเฟรม มักใชัในบริษัทขนาดใหญ่ที่ต้องมีการประมวลผลธุรกรรมทางธุรกิจจำนวนมากๆ สำหรับคอมพิวเตอร์ขนาดเล็กที่ใช้ในระดับบุคคลเรียกว่า คอมพิวเตอร์ส่วนบุคคล และคอมพิวเตอร์ส่วนบุคคลที่พกพาได้เรียกว่าคอมพิวเตอร์โน้ตบุ๊ค ส่วนคอมพิวเตอร์ขนาดเล็กที่สามารถวางบนฝ่ามือได้เรียกว่า พีดีเอ อย่างไรก็ตามคอมพิวเตอร์มีใช้กันอย่างกว้างขวางมาก ซึ่งมีอุปกรณ์หลายๆชนิดได้นำคอมพิวเตอร์ไปใช้เป็นกลไกหลักในการทำงาน เช่น กล้องดิจิทัล  หรือในรถยนต์เองก็มีคอมพิวเตอร์ที่ใช้ช่วยในการตรวจสอบระบบการทำงานของเครื่องยนต์ประสิทธิภาพของคอมพิวเตอร์โดยรวมแล้ววัดกันที่ความเร็วการประมวลผล ซึ่งตามกฏของมัวร์

(Moore's Law) คอมพิวเตอร์จะเพิ่มประสิทธิภาพเป็นเท่าทวีคูณในทุกปี

ประวัติของคอมพิวเตอร์

เป็นเรื่องยากที่จะชี้ชัดลงไปว่าอุปกรณ์ใดจัดเป็นคอมพิวเตอร์ยุคแรก ๆ เพราะคำว่า "คอมพิวเตอร์" เองก็มีการตีความเปลี่ยนไปมาอยู่เสมอ แต่จุดเริ่มของคำนี้หมายถึงคนที่ทำหน้าที่เป็นนักคำนวณในสมัยนั่น

ช่วงปี ค.ศ. 1930 ถึงช่วงปี ค.ศ. 1940 เป็นช่วงที่โลกได้มีคอมพิวเตอร์ที่สามารถโปรแกรมได้และคำนวณผลลัพธ์ได้มี ประสิทธิภาพจริง แต่เป็นการยากที่จะตัดสินได้ว่าคอมพิวเตอร์เครื่องแรกของโลกENIAC (Electronics Numerical Integrator and Computer) เกิดขึ้นในปี1946 และประดิษฐ์โดยจอห์น ดับลิว มอชลีย์ (John W. Mauchly) และ เจ เพรสเพอร์ เอคเกิรต (J. Prespern Eckert) ทำงานโดยใช้หลอดสุญญากาศจำนวน 18,000 หลอด มีน้ำหนัก 30 ตัน ใช้เนื้อที่ห้อง 15,000 ตารางฟุต เวลาทำงานต้องใช้กำลังไฟถึง 140 กิโลวัตต์ คำนวณในระบบเลขฐานสิบ

  • ค.ศ. 1941 เป็นครั้งแรกที่โลกได้มีเครื่องคอมพิวเตอร์เครื่องแรกที่สามารถตั้งโปรแกรม ได้อย่างอิสระ ผู้พัฒนาคือ Konrad Zuse และชื่อคอมพิวเตอร์คือ Z1 Computer
  • ค.ศ. 1941 และ  ที่ มหาวิทยาลัยไอโอวาสเตต ได้ร่วมกันสร้าง คอมพิวเตอร์ อตานาซอฟฟ์-เบอร์รี ซึ่งสามารถประมวลผลเลขฐานสอง
  • ค.ศ. 1944 John Presper Eckert และ John W. Mauchly ได้ร่วมกันสร้างอีนิแอก ซึ่งใช้หลอดสูญญากาศจำนวน 20,000 หลอด เพื่อสร้างหน่วยประมวลผล และถือได้ว่าเป็นคอมพิวเตอร์เครื่องแรกสำหรับการใช้งานทั่วไป โดยมีการประมวลผลแบบทศนิยม โดยหากต้องการตั้งโปรแกรมจะต้องต่อสายเชื่อมต่อเครื่องอุปกรณ์ใหม่ทั้งหมด
  • ค.ศ. 1948 Frederic Williams และ Tom Kilburn สร้างคอมพิวเตอร์ที่ใช้ หลอดรังสีคาโทด เป็นหน่วยความจำ
  • ค.ศ. 1947 ถึง 1948 John Bardeen, Walter Brattain และ Wiliam Shockley สร้างคอมพิวเตอร์ที่ใช้ทราสซิสเตอร์ ถือว่าเป็นจุดเปลี่ยนของเทคโนโลยีคอมพิวเตอร์ที่สำคัญ
  • ค.ศ. 1951 John Presper Eckert และ John W. Mauchly ได้พัฒนา UNIVAC Computer ซึ่งเป็นคอมพิวเตอร์เครื่องแรกที่มีการขาย
  • ค.ศ. 1953 ไอบีเอ็ม (IBM) ออกจำหน่าย EDPM เป็นครั้งแรก และเป็นก้าวแรกของไอบีเอ็มในธุรกิจคอมพิวเตอร์
  • ค.ศ. 1954 John Backus และ IBM ร่วมกันสร้างภาษาคอมพิวเตอร์ชื่อ FORTRAN ซึ่งเป็นภาษาระดับสูง (high level programming language) ภาษาแรกในประวัติศาสตร์คอมพิวเตอร์
  • ค.ศ. 1955 (ใช้จริง ค.ศ. 1959) สถาบันวิจัยสแตนฟอร์ด, ธนาคารแห่งชาติอเมริกา, และ บริษัทเจเนอรัลอิเล็กทริก ร่วมกันสร้าง ERMA และ MICR ซึ่งเป็นคอมพิวเตอร์เครื่องแรกในธุรกิจธนาคาร
  • ค.ศ. 1958 Jack Kilby และ Robert Noyce เป็นผู้สร้าง Integrated Circuit หรือ ชิป(Chip) เป็นครั้งแรก
  • ค.ศ. 1962 สตีฟ รัสเซลล์ และ เอ็มไอที ได้พัฒนาเกมคอมพิวเตอร์เป็นครั้งแรกของโลกชื่อว่า "Spacewar"
  • ค.ศ. 1964 Douglas Engelbart เป็นผู้ประดิษฐ์เมาส์ และ ระบบปฏิบัติการแบบวินโดวส์
  • ค.ศ. 1969 เป็นปีที่กำเนิด ARPAnet ซึ่งเป็นจุดเริ่มต้นของอินเทอร์เน็ต
  • ค.ศ. 1970 อินเทล] พัฒนาหน่วยความจำชั่วคราวของคอมพิวเตอร์หรือ RAM เป็นครั้งแรก
  • ค.ศ. 1971 Faggin, Hoff และ Mazor พัฒนาไมโครโปรเซสเซอร์ตัวแรกของโลกให้อินเทล (Intel)
  • ค.ศ. 1971 Alan Shugart และ IBM พัฒนา ฟลอปปี้ดิสก์ เป็นครั้งแรก
  • ค.ศ. 1973 Robert Metcalfe และ Xerox ได้พัฒนาระบบอีเทอร์เน็ต (Ethernet) สำหรับระบบเครือข่ายคอมพิวเตอร์
  • ค.ศ. 1974 ถึง ค.ศ. 1975 Scelbi และ Mark-8 Altair และ IBM ร่วมกันวางจำหน่ายคอมพิวเตอร์สำหรับผู้ใช้รายย่อยเป็นครั้งแรก
  • ค.ศ. 1976 ถึง ค.ศ. 1977 ถือกำเนิด Apple I, II และ TRS-80 และ Commodore Pet Computers ซึ่งเป็นคอมพิวเตอร์ส่วนบุคคลรุ่นแรกๆ ของโลก
  • ค.ศ. 1981 ไมโครซอฟท์ วางจำหนาย MS-DOS ซึ่งเป็นระบบปฏิบัติการที่ได้รับความนิยมที่สุดในช่วงนั้น
  • ค.ศ. 1983 บริษัทแอปเปิล ออกคอมพิวเตอร์รุ่น Apple Lisa ซึ่งเป็นคอมพิวเตอร์รุ่นแรกที่ใช้ระบบ GUI
  • ค.ศ. 1984 บริษัทแอปเปิล วางจำหน่ายคอมพิวเตอร์รุ่น แอปเปิล แมคอินทอช ซึ่งทำให้มีการใช้คอมพิวเตอร์อย่างกว้างขวาง
  • ค.ศ. 1985 ไมโครซอฟท์ วางจำหน่าย ไมโครซอฟท์ วินโดวส์ เป็นครั้งแรก

 ลักษณะเด่นของคอมพิวเตอร์

  • ความเป็นอัตโนมัติ (Self Acting)
  • ความเร็ว (Speed)
  • ความถูกต้องแม่นยำ (Accuracy)
  • ความน่าเชื่อถือ (Reliability)
  • การจัดเก็บข้อมูล (Storage Capability)
  • ทำงานซ้ำๆได้อย่างอัตโนมัติ (Repeatability)
  • การติดต่อสื่อสาร (Communication)

    ประเภทของคอมพิวเตอร์

    ในปัจจุบัน คอมพิวเตอร์ได้ใช้วงจรเบ็ดเสร็จขนาดใหญ่มาก (very large scale integrated circuit) ซึ่งสามารถบรรจุทรานซิสเตอร์ได้มากกว่าสิบล้านตัว เราสามารถแบ่งคอมพิวเตอร์ในรุ่นปัจจุบันออกเป็น 4 ประเภทดังต่อไปนี้


ซูเปอร์คอมพิวเตอร์ (supercomputer)

ซูเปอร์คอมพิวเตอร์ ถือได้ว่าเป็นคอมพิวเตอร์ที่มีความเร็วมาก และมีประสิทธิภาพสูงสุดเมื่อเปรียบเทียบกับคอมพิวเตอร์ชนิดอื่น ๆ เครื่องซูเปอร์คอมพิวเตอร์มีราคาแพงมาก มีขนาดใหญ่ สามารถคำนวณทางคณิตศาสตร์ได้หลายแสนล้านครั้งต่อวินาที และได้รับการออกแบบ เพื่อให้ใช้แก้ปัญหาขนาดใหญ่มากทางวิทยาศาสตร์และทางวิศวกรรมศาสตร์ได้อย่าง รวดเร็ว เช่น การพยากรณ์อากาศล่วงหน้าเป็นเวลาหลายวัน การศึกษาผลกระทบของมลพิษกับสภาวะแวดล้อมซึ่งหากใช้คอมพิวเตอร์ชนิดอื่นๆ แก้ไขปัญหาประเภทนี้ อาจจะต้องใช้เวลาในการคำนวณหลายปีกว่าจะเสร็จสิ้น ในขณะที่ซูเปอร์คอมพิวเตอร์สามารถแก้ไขปัญหาได้ภายในเวลาไม่กี่ชั่วโมงเท่า นั้น เนื่องจากการแก้ปัญหาใหญ่ ๆ จะต้องใช้หน่วยความจำสูง ดังนั้น ซูเปอร์คอมพิวเตอร์จึงมีหน่วยความจำที่ใหญ่มาก ซูเปอร์คอมพิวเตอร์มีหลายประเภท ตั้งแต่รุ่นที่มีหน่วยประมวลผล (processing unit) 1 หน่วย จนถึงรุ่นที่มีหน่วยประมวลผลหลายหมื่นหน่วยซึ่งสามารถทำงานหลายอย่างได้ พร้อม ๆ กัน

เมนเฟรมคอมพิวเตอร์ (mainframe computer)

เมนเฟรมคอมพิวเตอร์ มีสมรรถภาพที่ต่ำกว่าซูเปอร์คอมพิวเตอร์มาก แต่ยังมีความเร็วสูง และมีประสิทธิภาพสูงกว่ามินิคอมพิวเตอร์หรือไมโครคอมพิวเตอร์ เมนเฟรมคอมพิวเตอร์สามารถให้บริการผู้ใช้จำนวนหลายร้อยคนพร้อม ๆ กัน ฉะนั้น จึงสามารถใช้โปรแกรมจำนวนนับร้อยแบบในเวลาเดียวกันได้ โดยเฉพาะถ้าต่อเครื่องเข้าเครือข่ายคอมพิวเตอร์ ผู้ใช้สามารถใช้ได้จากทั่วโลก ปัจจุบัน องค์กรใหญ่ๆ เช่น ธนาคาร จะใช้คอมพิวเตอร์ประเภทนี้ในการทำบัญชีลูกค้า หรือการให้บริการจากเครื่องฝากและถอนเงินแบบอัตโนมัติ (automatic teller machine) เนื่องจากเครื่องเมนเฟรมคอมพิวเตอร์ได้ถูกใช้งานมากในการบริการผู้ใช้พร้อม ๆ กัน เมนเฟรมคอมพิวเตอร์จึงต้องมีหน่วยความจำที่ใหญ่มาก

มินิคอมพิวเตอร์ (minicomputer)

มินิคอมพิวเตอร์ คือ เมนเฟรมคอมพิวเตอร์ขนาดเล็ก ๆ ซึ่งสามารถบริการผู้ใช้งานได้หลายคนพร้อม ๆ กัน แต่จะไม่มีสมรรถภาพเพียงพอที่จะบริการผู้ใช้ในจำนวนที่เทียบเท่าเมนเฟรม คอมพิวเตอร์ได้ จึงทำให้มินิคอมพิวเตอร์เหมาะสำหรับองค์กรขนาดกลาง หรือสำหรับแผนกหนึ่งหรือสาขาหนึ่งขององค์กรขนาดใหญ่เท่านั้น

ไมโครคอมพิวเตอร์ (microcomputer) หรือ พีซี (personal computer หรือ PC )

ไมโครคอมพิวเตอร์ คือ คอมพิวเตอร์ขนาดเล็กแบบขนาดตั้งโต๊ะ (desktop computer) หรือขนาดเล็กกว่านั้น อาทิเช่น ขนาดสมุดบันทึก (notebook computer) และขนาดฝ่ามือ (palmtop computer) ไมโครคอมพิวเตอร์ได้เริ่มมีขึ้นในปีพ.ศ. 2518 ถึงแม้ว่าในระยะหลัง เครื่องชนิดนี้จะมีประสิทธิภาพที่สูง แต่เนื่องจากมีราคาไม่แพงและมีขนาดกระทัดรัด ไมโครคอมพิวเตอร์จึงยังเหมาะสำหรับใช้ส่วนตัว ไมโครคอมพิวเตอร์ได้ถูกออกแบบสำหรับใช้ที่บ้าน โรงเรียน และสำนักงานสำหรับที่บ้าน เราสามารถใช้ไมโครคอมพิวเตอร์ในการทำงบประมาณรายรับรายจ่ายของครอบครัวช่วย ทำการบ้านของลูกๆ การค้นคว้าข้อมูลและข่าวสาร การสื่อสารแบบอิเล็กทรอนิกส์ (electronic mail หรือ E - mail) หรือโทรศัพท์ทางอินเทอร์เน็ต (internet phone) ในการติดต่อทั้งในและนอกประเทศ หรือแม้กระทั่งทางบันเทิง เช่น การเล่นเกมบนเครื่องไมโครคอมพิวเตอร์ สำหรับที่โรงเรียน เราสามารถใช้ไมโครคอมพิวเตอร์ในการช่วยสอนนักเรียนในการค้นคว้าข้อมูลจาก ทั่วโลกสำหรับที่สำนักงาน เราสามารถใช้ไมโครคอมพิวเตอร์ในการช่วยพิมพ์จดหมายและข้อมูลอื่นๆ เก็บและค้นข้อมูล วิเคราะห์และทำนายยอดซื้อขายล่วงหน้า

คอมพิวเตอร์ทำงานอย่างไร

คอมพิวเตอร์ในยุคแรกๆเช่น ENIAC เวลาโปรแกรมต้องใช้วิธีการเปลี่ยนสายเชื่อมต่ออุปกรณ์ต่างๆ ซึ่งเป็นวิธีการที่ยุ่งยากมาก จึงเกิดแนวคิดว่าตัวโปรแกรมน่าจะจัดเก็บอยู่ในส่วนที่สามารถปรับเปลี่ยน แก้ไขได้ง่าย เป็นที่มาของแนวคิดที่ทำการจัดเก็บข้อมูลต่างๆรวมถึงโปรแกรมไว้ใน หน่วยความจำ หรือ memory ทำให้คอมพิวเตอร์จะได้รับคำสั่งโดยการอ่านคำสั่งจากหน่วยความจำ และการปรับเปลี่ยนโปรแกรมสามารถทำได้โดยการเปลี่ยนแปลงค่าภายในหน่วยความจำ

แนวคิดข้างต้นรู้จักในชื่อว่า "" หรือ อีกชื่อว่า โดยเข้าใจว่า J. Presper Eckert และ John William Mauchly ซึ่งเป็นนักออกแบบ ENIAC เป็นผู้คิดค้นขึ้น

แนวคิดการทำงานแบบ Stored-Program ถูกใช้เป็นแนวคิดหลักของการทำงานในคอมพิวเตอร์จนถึงปัจจุบัน โดยแนวคิดนี้จะแบ่งการทำงานของคอมพิวเตอร์เป็น 4 ส่วนหลักได้แก่

  • หน่วยประมวลผลในรูปแบบข้อมูล Binary หรือที่เรียกว่า Arithmetic-Logical Unit (ALU) เปรียบเสมือนหัวใจของคอมพิวเตอร์ หน้าที่หลักของมันคือทำการประมวลผลทางคณิตศาสตร์ขั้นพื้นฐานอันได้แก่การบวก และลบ และการทำการเปรียบเทียบข้อมูลสองข้อมูลว่ามีค่าเท่ากันหรือไม่ถ้าไม่จะมีค่า มากกว่าหรือน้อยกว่า
  • หน่วยความจำ หรือ Memory ใช้สำหรับเก็บข้อมูล (Data) และ คำสั่ง (Instructions) โดยข้อมูลภายในหน่วยความจำจะถูกแบ่งเป็นส่วนๆเล็กๆเท่าๆกัน แต่ละส่วนมีที่อยู่ (address) เพื่อใช้เข้าถึงข้อมูลที่ถูกจัดเก็บเอาไว้
  • อุปกรณ์อินพุตและเอาต์พุต หรือ  Device เป็นส่วนที่ใช้นำข้อมูลจากโลกภายนอกเข้ามาภายในระบบคอมพิวเตอร์ เพื่อนำมาประมวลผล และเมื่อได้ผลลัพธ์ก็จะนำข้อมูลที่ได้มาแสดงผลให้โลกภายนอกคอมพิวเตอร์ได้ รับทราบ
  • หน่วยควบคุมการทำงาน หรือ Control Unit เป็นส่วนที่ใช้เชื่อมต่อแต่ละส่วนเข้าด้วยกัน หน้าที่หลักๆคือทำการอ่านข้อมูลคำสั่งที่อยู่ภายในหน่วยความจำหรือที่ได้จาก อุปกรณ์อินพุต ทำการแปลความหมายและส่งไปประมวลผลใน ALU จากนั้นนำผลที่ได้ไปจัดเก็บในหน่วยความจำหรืออุปกรณ์เอาต์พุต หน้าที่หลักอีกประการ คือควบคุมลำดับการทำงานของแต่ละขั้นตอนให้อยู่ในเวลาที่เหมาะสม

หน่วยประมวลผล

การทำงานของหน่วยประมวลผลกลาง หน่วยประมวลผล จะรับคำสั่งและข้อมูลจากหน่วยความจำ โดยส่งเข้าที่ Queue Prefetch Unit จะตรวจสอบว่า ค่าใน Queue เป็นคำสั่งหรือไม่ ถ้าเป็นคำสั่งจะสั่งให้ Bus Interface Unit (BIU) ส่งค่าของคำสั่งไปที่ Decode Unit ถ้าเป็นค่าที่อยู่ (Address) ของหน่วยความจำ จะถูกส่งไปที่ Segment and Paging Unit Segment and Paging Unit จะแปลงที่อยู่ของหน่วยความจำ จากที่อยู่เสมือน (Virtual Address) ในรูปแบบของ segment : offset ให้กลายเป็นที่อยู่จริง (Physical Address) ที่ Bus Interface Unit เข้าใจ หน่วยถอดรหัส (Decode Unit) จะตรวจสอบและแยกแยะคำสั่ง แล้วแปลคำสั่ง และส่งสัญญาณควบคุมไปให้ Execution Unit ทำงานตามคำสั่งนั้นใน Execution Unit จะประกอบด้วย

Control Unit (CU) จะทำหน้าที่ควบคุมการทำงานภายในโปรเซสเซอร์เป็นตัวสั่งงาน Unit อื่นๆตามคำสั่งที่แปลจาก Decode Unit Protection Test Unit จะป้องกันและตรวจสอบการทำงานของส่วนต่างๆ ไม่ให้ทำผิดกฏเกณฑ์ จนเกิดข้อผิดพลาดขึ้น Register จะทำหน้าที่เก็บค่าชั่วคราวก่อนและหลังการประมวลเพื่อส่งให้ส่วนอื่นๆต่อไป เป็นเหมือนกระดาษทดชัว่คราว สำหรับ ALU Arithmetic Logic Unit (ALU) เป็นส่วนการคำนวณทางคณิตศาสตร์และหาค่าตรรกะของการเปรียบเทียบ

เมื่อ ALU คำนวณหรือเปรียบเทียบค่าเรียบร้อยแล้ว จะส่งไปเก็บไว้ที่ Register แล้ว Control Unit จะสั่งให้ BIU เก็บค่าผลลัพธ์ลงในหน่วยความจำ โดยแปลงที่อยู่เสมือนที่ Control Unit กำหนด ให้กลายเป็น ที่อยู่จริงของหน่วยความจำที่จะนำผลลัพธ์ไปเก็บไว้

หน่วยความจำ

หน่วยความจำเป็น พื้นที่การทำงานและเป็นพื้นที่การจัดเก็บข้อมูลของคอมพิวเตอร์ เพราะคอมพิวเตอร์ไม่สามารถทำงานตามลำพังโดยอาศัยเพียงหน่วยประมวลผลหลักได้ หน่วยความจำแบ่งออกเป็น 2 ประเภทใหญ่ๆ ได้แก่ หน่วยความจำชั่วคราว หรือ หน่วยความจำหลัก คือ แรม (RAM: Random Access Memory) โดยแรมจะเป็นหน่วยความจำที่ใช้ขณะคอมพิวเตอร์ทำงาน และจะหายไปเมื่อปิดเครื่อง อีกชนิดหนึ่งคือหน่วยความจำถาวร หรือหน่วยความจำสำรอง ได้แก่ ฮาร์ดดิสก์ (Hard Disk) ที่ใช้ในการเก็บข้อมูล และ รอม (ROM: Read Only Memory) ที่ใช้ในการเก็บค่าไบออส หน่วยความจำถาวรจะใช้ในการเก็บข้อมูลของเครื่องคอมพิวเตอร์และจะไม่สูญหาย เมื่อปิดเครื่อง

ข้อแตกต่างของหน่วยความจำคือ หน่วยความจำแบบชั่วคราวจะมีความเร็วในการถ่ายข้อมูลสูง แต่ความจำน้อย เมื่อเกิดการทำงานของโปรแกรมมากๆ จึงต้องส่งผ่านข้อมูลลงหน่วยความจำถาวร ซึ่งเป็นสาเหตุหนึ่งของอาการแฮ็ง (hang)

ตัวอย่างประโยชน์ของคอมพิวเตอร์

คอมพิวเตอร์มีประโยชน์กับเรามากมาย เช่น

  1. การใช้งานภาครัฐ งานทะเบียนราษฎร์ของรัฐบาล เช่น การแจ้งเกิด ตาย ย้ายที่อยู่ การทำบัตรประจำตัวประชาชน
  2. การใช้งานทางด้านธุรกิจทั่วไป งานทำบัญชี รายการซื้อขาย งานเรียบเรียงเอกสาร งานประมวลคำ
  3. งานสายการบิน การสำรองที่นั่งผู้โดยสาร การลดงานเอกสาร
  4. ทางด้านการศึกษา สื่อคอมพิวเตอร์ช่วยสอน การเรียนออนไลน์ให้กับผู้เรียนที่อยู่ห่างไกล
  5. ธุรกิจการนำเข้าสินค้าและส่งออก การทำธุรกิจแบบพานิชอิเล็กทรอนิกส์
  6. ธุรกิจธนาคาร ธนาคารอิเล็กทรอนิกส์ การทำธุรกรรมผ่านโทรศัพท์มือถือ
  7. วิทยาศาสตร์และการแพทย์ การเก็บข้อมูลเกี่ยวกับประวัติการรักษาของคนไข้ วิจัย คำนวณและการจำลองแบบ

สร้างโดย: 
นายอภิสิทธิ์ สมพงษ์

มหาวิทยาลัยศรีปทุม ผู้ใหญ่ใจดี
 

 ช่วยด้วยครับ
นักเรียนที่สร้างบล็อก กรุณาอย่า
คัดลอกข้อมูลจากเว็บอื่นทั้งหมด
ควรนำมาจากหลายๆ เว็บ แล้ววิเคราะห์ สังเคราะห์ และเขียนขึ้นใหม่
หากคัดลอกทั้งหมด จะถูกดำเนินคดี
ตามกฎหมายจากเจ้าของลิขสิทธิ์
มีโทษทั้งจำคุกและปรับในอัตราสูง

ช่วยกันนะครับ 
ไทยกู๊ดวิวจะได้อยู่นานๆ 
ไม่ถูกปิดเสียก่อน

ขอขอบคุณในความร่วมมือครับ

อ่านรายละเอียด

ด่วน...... ขณะนี้
พระราชบัญญัติลิขสิทธิ์ (ฉบับที่ 2) พ.ศ. 2558 
มีผลบังคับใช้แล้ว 
ขอให้นักเรียนและคุณครูที่ใช้งาน
เว็บ thaigoodview ในการส่งการบ้าน
ระมัดระวังการละเมิดลิขสิทธิ์ด้วย
อ่านรายละเอียดที่นี่ครับ

 

สมาชิกที่ออนไลน์

ขณะนี้มี สมาชิก 0 คน และ ผู้เยี่ยมชม 438 คน กำลังออนไลน์