• user warning: Table 'cache_filter' is marked as crashed and should be repaired query: SELECT data, created, headers, expire, serialized FROM cache_filter WHERE cid = '3:48b25d61bfc9c8fe9b8578eb116e78df' in /home/tgv/htdocs/includes/cache.inc on line 27.
  • user warning: Table 'cache_filter' is marked as crashed and should be repaired query: UPDATE cache_filter SET data = '<!--paging_filter--><p align=\"center\">\n<img border=\"0\" width=\"300\" src=\"/files/u20/inno-bua.jpg\" height=\"200\" /> \n</p>\n<p>\n“ต้นกล้า”  นายเพทาย  ศรีสุดโต  “โจ้” นายปวริส  พิมพาเรียน  “ต้น”  นายทิพากร อัปมาเก  นักศึกษาชั้นปีที่  4  ภาควิชาวิศวกรรมเกษตร  คณะวิศวกรรมศาสตร์ มหาวิทยาลัยเทคโนโลยีราชมงคลธัญบุรี  ร่วมกันออกแบบและประดิษฐ์  “เครื่องแกะเม็ดบัวหลวง”  โดยมี  ดร.จตุรงค์  ลังกาพินธุ์  และ  ผศ.ภูรินทร์  อัครกุลธร  เป็นผู้ดูแลและคอยให้คำปรึกษา ได้รับรางวัลชนะเลิศการประกวดโครงงานวิศวกรรมเกษตร  ภายในงานการประชุมวิชาการวิศวกรรมเกษตรแห่งชาติ ครั้งที่ 15 \n</p>\n<p>\nแม้ว่าเม็ดบัวหลวง  มีสรรพคุณมากมายทางยา  เช่น  บำรุงสมอง  บำรุงประสาท  บำรุงเลือด  แต่การทานเม็ดบัว ต้องปอกเปลือกเม็ดบัวหลวงก่อนทาน เกษตรกรจะต้องใช้มีดกรีดเม็ดบัว  แล้วใช้มือแกะออก  ทำให้เกษตรกรเลี่ยงต่อการถูกมีดบาด  และใช้เวลาในการปอกเปลือกสูง\n</p>\n<p>\nแนวคิดของการออกแบบและประดิษฐ์ มาจากอาจารย์ที่ได้ไปศึกษาดูงานที่ประเทศจีนได้เห็นเครื่องแกะเม็ดบัวหลวงที่ประเทศจีน  แต่เครื่องดังกล่าวมีราคาแพง  และมีระบบงานค่อนข้างซับซ้อน  ถ้านำเข้ามาจากจีนจะต้องใช้ต้นทุนสูง  จึงได้รวมกลุ่มกันคิดออกแบบและประดิษฐ์เครื่องแกะเม็ดบัวหลวง  เพื่อลดเวลาและแรงงานในการแกะเม็ดบัวหลวงให้กับเกษตรกร  สร้างเครื่องต้นแบบเครื่องแกะเม็ดบัวหลวงขึ้นมาด้วยภูมิปัญญาไทย  ใช้วัสดุอุปกรณ์ที่มีอยู่ในประเทศไทย \n</p>\n<p>\nการออกแบบเครื่องจะใช้หลักพื้นฐานทางวิศวกรรมและโปรแกรมด้าน  CAD  ช่วยออกแบบ  ซึ่งตัวเครื่องจะประกอบด้วย  ชุดใบมีดกรีด  ชุดสายพานลำเลียง  ระบบส่งกำลัง  และมอเตอร์ไฟฟ้า  0.25  แรงม้าเป็นต้นกำลัง  หลักการทำงานของเครื่องเริ่มจากการทำงานป้อนเม็ดบัวหลวงลงในช่องป้อน\n</p>\n<p>\nหลังจากนั้นสายพานลำเลียงจะลำเลียงเม็ดบัวหลวงหมุนผ่านชุดใบมีด และร่วงสู่ช่องทางออก จากการทดลองพบว่าเครื่องแกะเม็ดบัวหลวงต้นแบบสามารถทำงานได้ดีที่อัตราลำเลียงของสายพาน  ลำเลียง 4 เมตรต่อวินาที มีความสามารถในการทำงาน 4.7 กิโลกรัมต่อชั่วโมง เปอร์เซ็นต์ในการแกะเม็ดบัว 71.4% เปอร์เซ็นต์ความเสียหายของเม็ดบัว 3.9% และอัตราการสิ้นเปลืองพลังงานไฟฟ้า 5.8 วัตต์-ชั่วโมง\n</p>\n<p>\nจากการวิเคราะห์ทางเศรษฐศาสตร์วิศวกรรมพบว่าเมื่อใช้เครื่องแกะเม็ดบัวหลวง 2,400 ชั่วโมงต่อปี จะมีระยะเวลาคืนทุน 0.11 ปี และจุดคุ้มทุน 55.42 ชั่วโมงต่อปี เมื่อเปรียบเทียบกับการแกะด้วยแรงงานคน โดยราคาต้นทุนการประดิษฐ์เครื่องต้นแบบ  เครื่องแกะเม็ดบัวหลวงอยู่ที่  5,000  บาท    ผู้สนใจสามารถสอบถามรายละเอียดเพิ่มเติมได้ที่  ดร.จตุรงค์  ลังกาพินธุ์  โทร.02-549-3328 \n</p>\n<hr id=\"null\" />\n<p align=\"right\">\n     ข้อมูลจาก มหาวิทยาลัยเทคโนโลยีราชมงคลธัญบุรี\n</p>\n', created = 1729544738, expire = 1729631138, headers = '', serialized = 0 WHERE cid = '3:48b25d61bfc9c8fe9b8578eb116e78df' in /home/tgv/htdocs/includes/cache.inc on line 112.
  • user warning: Table 'cache_filter' is marked as crashed and should be repaired query: SELECT data, created, headers, expire, serialized FROM cache_filter WHERE cid = '3:7160acba3816fe243270153ee6a4bedc' in /home/tgv/htdocs/includes/cache.inc on line 27.
  • user warning: Table 'cache_filter' is marked as crashed and should be repaired query: UPDATE cache_filter SET data = '<!--paging_filter--><p>\nเป็นเครื่องต้นแบบที่น่าสนใจครับ ถ้าต่อยอดเป็นระบบ Auto ทั้งหมดก็น่าจะดีนะครับโดยใช้<a href=\"http://www.nmec.cz.cc/2010/01/1mini-belt-conveyor.html\" target=\"_blank\">สายพานลำเลียง</a>\n</p>\n', created = 1729544738, expire = 1729631138, headers = '', serialized = 0 WHERE cid = '3:7160acba3816fe243270153ee6a4bedc' in /home/tgv/htdocs/includes/cache.inc on line 112.

เครื่องแกะเม็ดบัวหลวง

 

“ต้นกล้า”  นายเพทาย  ศรีสุดโต  “โจ้” นายปวริส  พิมพาเรียน  “ต้น”  นายทิพากร อัปมาเก  นักศึกษาชั้นปีที่  4  ภาควิชาวิศวกรรมเกษตร  คณะวิศวกรรมศาสตร์ มหาวิทยาลัยเทคโนโลยีราชมงคลธัญบุรี  ร่วมกันออกแบบและประดิษฐ์  “เครื่องแกะเม็ดบัวหลวง”  โดยมี  ดร.จตุรงค์  ลังกาพินธุ์  และ  ผศ.ภูรินทร์  อัครกุลธร  เป็นผู้ดูแลและคอยให้คำปรึกษา ได้รับรางวัลชนะเลิศการประกวดโครงงานวิศวกรรมเกษตร  ภายในงานการประชุมวิชาการวิศวกรรมเกษตรแห่งชาติ ครั้งที่ 15 

แม้ว่าเม็ดบัวหลวง  มีสรรพคุณมากมายทางยา  เช่น  บำรุงสมอง  บำรุงประสาท  บำรุงเลือด  แต่การทานเม็ดบัว ต้องปอกเปลือกเม็ดบัวหลวงก่อนทาน เกษตรกรจะต้องใช้มีดกรีดเม็ดบัว  แล้วใช้มือแกะออก  ทำให้เกษตรกรเลี่ยงต่อการถูกมีดบาด  และใช้เวลาในการปอกเปลือกสูง

แนวคิดของการออกแบบและประดิษฐ์ มาจากอาจารย์ที่ได้ไปศึกษาดูงานที่ประเทศจีนได้เห็นเครื่องแกะเม็ดบัวหลวงที่ประเทศจีน  แต่เครื่องดังกล่าวมีราคาแพง  และมีระบบงานค่อนข้างซับซ้อน  ถ้านำเข้ามาจากจีนจะต้องใช้ต้นทุนสูง  จึงได้รวมกลุ่มกันคิดออกแบบและประดิษฐ์เครื่องแกะเม็ดบัวหลวง  เพื่อลดเวลาและแรงงานในการแกะเม็ดบัวหลวงให้กับเกษตรกร  สร้างเครื่องต้นแบบเครื่องแกะเม็ดบัวหลวงขึ้นมาด้วยภูมิปัญญาไทย  ใช้วัสดุอุปกรณ์ที่มีอยู่ในประเทศไทย 

การออกแบบเครื่องจะใช้หลักพื้นฐานทางวิศวกรรมและโปรแกรมด้าน  CAD  ช่วยออกแบบ  ซึ่งตัวเครื่องจะประกอบด้วย  ชุดใบมีดกรีด  ชุดสายพานลำเลียง  ระบบส่งกำลัง  และมอเตอร์ไฟฟ้า  0.25  แรงม้าเป็นต้นกำลัง  หลักการทำงานของเครื่องเริ่มจากการทำงานป้อนเม็ดบัวหลวงลงในช่องป้อน

หลังจากนั้นสายพานลำเลียงจะลำเลียงเม็ดบัวหลวงหมุนผ่านชุดใบมีด และร่วงสู่ช่องทางออก จากการทดลองพบว่าเครื่องแกะเม็ดบัวหลวงต้นแบบสามารถทำงานได้ดีที่อัตราลำเลียงของสายพาน  ลำเลียง 4 เมตรต่อวินาที มีความสามารถในการทำงาน 4.7 กิโลกรัมต่อชั่วโมง เปอร์เซ็นต์ในการแกะเม็ดบัว 71.4% เปอร์เซ็นต์ความเสียหายของเม็ดบัว 3.9% และอัตราการสิ้นเปลืองพลังงานไฟฟ้า 5.8 วัตต์-ชั่วโมง

จากการวิเคราะห์ทางเศรษฐศาสตร์วิศวกรรมพบว่าเมื่อใช้เครื่องแกะเม็ดบัวหลวง 2,400 ชั่วโมงต่อปี จะมีระยะเวลาคืนทุน 0.11 ปี และจุดคุ้มทุน 55.42 ชั่วโมงต่อปี เมื่อเปรียบเทียบกับการแกะด้วยแรงงานคน โดยราคาต้นทุนการประดิษฐ์เครื่องต้นแบบ  เครื่องแกะเม็ดบัวหลวงอยู่ที่  5,000  บาท    ผู้สนใจสามารถสอบถามรายละเอียดเพิ่มเติมได้ที่  ดร.จตุรงค์  ลังกาพินธุ์  โทร.02-549-3328 


     ข้อมูลจาก มหาวิทยาลัยเทคโนโลยีราชมงคลธัญบุรี

เป็นเครื่องต้นแบบที่น่าสนใจครับ ถ้าต่อยอดเป็นระบบ Auto ทั้งหมดก็น่าจะดีนะครับโดยใช้สายพานลำเลียง

มหาวิทยาลัยศรีปทุม ผู้ใหญ่ใจดี
 

 ช่วยด้วยครับ
นักเรียนที่สร้างบล็อก กรุณาอย่า
คัดลอกข้อมูลจากเว็บอื่นทั้งหมด
ควรนำมาจากหลายๆ เว็บ แล้ววิเคราะห์ สังเคราะห์ และเขียนขึ้นใหม่
หากคัดลอกทั้งหมด จะถูกดำเนินคดี
ตามกฎหมายจากเจ้าของลิขสิทธิ์
มีโทษทั้งจำคุกและปรับในอัตราสูง

ช่วยกันนะครับ 
ไทยกู๊ดวิวจะได้อยู่นานๆ 
ไม่ถูกปิดเสียก่อน

ขอขอบคุณในความร่วมมือครับ

อ่านรายละเอียด

ด่วน...... ขณะนี้
พระราชบัญญัติลิขสิทธิ์ (ฉบับที่ 2) พ.ศ. 2558 
มีผลบังคับใช้แล้ว 
ขอให้นักเรียนและคุณครูที่ใช้งาน
เว็บ thaigoodview ในการส่งการบ้าน
ระมัดระวังการละเมิดลิขสิทธิ์ด้วย
อ่านรายละเอียดที่นี่ครับ

 

สมาชิกที่ออนไลน์

ขณะนี้มี สมาชิก 0 คน และ ผู้เยี่ยมชม 432 คน กำลังออนไลน์