• user warning: Table 'cache_filter' is marked as crashed and should be repaired query: SELECT data, created, headers, expire, serialized FROM cache_filter WHERE cid = '3:428215b35f39f8f23d04da5cbfe1fa60' in /home/tgv/htdocs/includes/cache.inc on line 27.
  • user warning: Table 'cache_filter' is marked as crashed and should be repaired query: UPDATE cache_filter SET data = '<!--paging_filter--><p align=\"center\">\n&nbsp;\n</p>\n<div style=\"text-align: center\">\n<img border=\"0\" width=\"400\" src=\"/files/u20/nitan.jpg\" height=\"300\" />\n</div>\n<p>\n          โครงการภาษาของแผ่นดินเฉลิมพระเกียรติ เป็นโครงการที่ดำเนินขึ้นมาโดยมีเป้าหมายเพื่อมุ่งเน้นการพัฒนาการใช้ภาษาไทยของเด็กนักเรียนชั้นประถมศึกษาปีที่ 1 ตลอดจนแก้ปัญหาทางด้านการอ่านภาษาไทยให้มีความถูกต้อง โดยมุ่งขยายผลไปยังนักเรียนในชนบทที่ห่างไกล และโรงเรียนที่มีความขาดแคลน<br />\n          การดำเนินโครงการดังกล่าวมีรูปแบบที่น่าสนใจเป็นอย่างยิ่ง โดยพัฒนามาจากธรรมชาติการเรียนรู้ของเด็กเป็นหลัก ตามหลักการของ Child Centered ที่คำนึงถึงความต้องการ ความชอบ วิธีการเรียนรู้ของเด็กเป็นหลัก ผู้ช่วยศาสตราจารย์ ดร.ฉันทนา ภาคบงกช ประธานโครงการภาษาของแผ่นดินเฉลิมพระเกียรติ เปิดเผยว่า ทางโครงการฯ ได้ทำการศึกษาวิจัยชุดคำพื้นฐานที่เด็กชั้นประถมศึกษาปีที่ 1 ใช้ในชีวิตประจำวัน โดยพบว่าจำนวนคำที่พบว่าเหมาะสมกับเด็กชั้นประถมศึกษาปีที่ 1 มี 708 คำ แต่ในการจัดทำนิทานชุดนี้ นำคำที่มีความถี่ในการใช้สูงสุดมาเพียง 200 คำ แล้วจัดกลุ่มเป็น 26 กลุ่ม และนำคำเหล่านี้มาดำเนินการในโครงการ “เขียนนิทานให้น้องอ่าน”  ซึ่งเด็กสามารถจดจำและนำไปใช้ในชีวิตประจำวันได้ จากนั้น จึงเปิดโอกาสให้เด็กเขียนอย่างอิสระ เพื่อหาคำศัพท์ที่มีความถี่ในการใช้สูงสุด เพื่อนำมาจัดทำหลักสูตร <br />\n          “จากนั้นจึงได้ดำเนินโครงการ “เขียนนิทานให้น้องอ่าน” โดยให้เด็กนักเรียนชั้นประถมศึกษาปีที่ 3 จาก 11 โรงเรียน ได้แก่ โรงเรียนสาธิตมหาวิทยาลัยศรีนครินทรวิโรฒ โรงเรียนสาธิตแห่งมหาวิทยาลัยเกษตรศาสตร์ โรงเรียนสาธิตมหาวิทยาลัยราชภัฏสวนสุนันทา โรงเรียนเกษมพิทยา โรงเรียนคลองกะจะ โรงเรียนอนันตา โรงเรียนอนุบาลสามเสน โรงเรียนอนุบาลยะลา โรงเรียนอนุบาลพิษณุโลก โรงเรียนบ้านก้างปลา จ.เลย  โรงเรียนประจันตะวิทยา จังหวัดเลย โครงการฯ ได้เปิดโอกาสให้เด็กคิดและสร้างสรรค์นิทานตามจินตนาการ โดยแต่ละกลุ่มให้ช่วยกันคิดนิทานจากกลุ่มคำที่กำหนดไว้ ผลปรากฏว่าเด็ก ๆ สามารถทำงานร่วมกันเขียนนิทานออกมาอย่างหลากหลายและสนุกสนาน” ผศ.ดร.ฉันทนากล่าว<br />\n          ตัวอย่างเช่น นิทานเรื่อง “คุณย่าออกกำลังกาย” เป็นผลงานของนักเรียนโรงเรียนสาธิตมหาวิทยาลัยศรีนครินทรวิโรฒ เป็นหนังสือเล่มที่ฝึกออกเสียง “ย” ซึ่งอาจารย์ฉันทนาเล่าว่า ในวันที่ไปจัดกิจกรรมนั้น มีนักเรียนร่วมเขียนจำนวนมาก เนื่องจากเวลาจำกัด จึงเริ่มต้นด้วยการคิดโครงเรื่องด้วยกัน จากนั้นแบ่งกันเขียนและวาดภาพแต่ละตอน ทำให้เนื้อเรื่องเสร็จสมบูรณ์ภายในเวลา 1 ชั่วโมง<br />\n ภายหลังจากที่นักเรียนช่วยกันเรียบเรียงเรื่องราวนิทานแล้วเสร็จ คณะทำงานลงพื้นที่ทั้งในเมืองและต่างจังหวัด เพื่อทำการสอบถามเด็กนักเรียนชั้น ป.1 ว่าพวกเขาชอบเนื้อเรื่องหรือไม่ อยากให้ปรับปรุงเนื้อหาอย่างไรบ้าง เพื่อให้สนุกและน่าสนใจ ทำให้ได้นิทานที่เกิดประโยชน์สูงสุด และสามารถส่งเสริมรากฐานภาษาไทยของเด็ก ป.1 ได้อย่างมีประสิทธิภาพ <br />\n          “เด็ก ๆ มีความสุขกับการแสดงความคิดเห็นและมีส่วนร่วมในนิทานเป็นอย่างมาก ยกตัวอย่างหนังสือนิทานเล่มที่ 16 เรื่อง “ข้าวไข่ดาว” ตัวเอกของเรื่องเดิมชื่อ “เขียว” แต่น้อง ป.1 บอกว่า “ชื่อเขียวนี่ ชื่อเชยไป” แล้วช่วยกันตั้งชื่อให้อยู่ในชุด “ข” และ “ค” เด็ก ๆ เลยช่วยกันตั้งชื่อใหม่ว่า “เคน” เพราะเขาชอบพระเอกหนุ่ม “เคน ธีรเดช วงศ์พัวพันธ์” หลังจากนั้น เรานำนิทานที่ปรับปรุงไปอ่านกับเด็ก ป.1 กลุ่มใหม่ เพื่อดูว่าเด็กมีความคิดเห็นอย่างไร หลังจากนั้นจึงจัดพิมพ์ เมื่อเรากระจายหนังสือไปยังโรงเรียนต่าง ๆ ขณะที่หนังสือชุดใหม่พิมพ์และส่งไปโรงเรียนต่าง ๆ ปรากฏว่าอยู่ในช่วงที่ “เคน” เพิ่งแต่งงาน พบว่า นิทานเรื่อง “ข้าวไข่ดาว” กลายเป็นนิทานยอดนิยมของเด็ก ๆ คุณครูในโรงเรียนเล่าว่า เด็ก ๆ อยากกินข้าวไข่ดาวเป็นเมนูอันดับต้น ๆ ด้วยเช่นกัน ผลจากหนังสือนิทานเล่มนี้นั่นเอง”<br />\n          ภายหลังจากการออกแบบนิทานแล้วเสร็จ จึงได้วาดภาพประกอบนิทานแต่ละเรื่อง โดยนิสิตนักศึกษาอาสาสมัคร สาขาศิลปกรรม และนักเรียนมัธยมสาธิต มศว. ทำให้ได้ภาพนิทานที่สวยงาม จากนั้น โครงการฯ ได้นำชุดนิทานไปทดลองใช้ในโรงเรียนชนบทห่างไกลจำนวน 1,188 หมู่บ้าน ใน 132 เขตพื้นที่การศึกษาทุกจังหวัด พบว่าสามารถช่วยให้เด็กอ่านคล่องและมีความสุข จนในที่สุดได้รับคำขวัญว่า “อ่านคล่อง อ่านสนุก อ่านถวายในหลวง” <br />\n          “การที่เด็กสามารถอ่านได้คล่องนั้น เนื่องจากคณะทำงานใช้ยุทธวิธีสนับสนุนให้เด็กช่วยเหลือกัน โดยให้เด็กที่เรียนเก่ง ช่วยเหลือเด็กที่เรียนอ่อน ซึ่งโดยธรรมชาติของเด็กเก่งแล้ว ถ้าจะให้ช่วยเด็กที่เรียนอ่อนเลย อาจจะเป็นการบังคับจิตใจเด็ก และอาจรังเกียจที่จะช่วยเพื่อน แต่ถ้าเราบอกเขาว่า “หนูจะมีนิทานสนุก ๆ อ่าน หนูอ่านพร้อมเพื่อนดีมั้ย หนูก็ช่วยให้เพื่อนอ่านสนุกด้วย หนูก็จะเป็นคนดี ได้ช่วยเพื่อน ดีมั้ยคะ” เด็กจะยินดีทำ และเป็นกำลังใจให้เด็กเก่งช่วยอ่านนำเด็กที่เรียนอ่อน ทั้งนี้ ในความเป็นจริง พบว่า เด็กที่เรียนปานกลางจะช่วยเด็กที่เรียนอ่อนได้เยอะมาก มีความอดทนในการสอนเพื่อนให้อ่าน ท้ายที่สุดก็เกิดเป็นชุมชนเล็ก ๆ ในแต่ละโรงเรียน เด็ก ๆ ป. 1 อ่านหนังสือด้วยกัน ช่วยเหลือกัน เป็นภาพที่น่ารักน่าประทับใจที่สุด นอกจากนี้ ศึกษานิเทศน์ในจังหวัดชุมพร นำหลักการของเราไปอบรมครูให้จัดทำกิจกรรมเพื่อฝึกภาษาให้กับเด็ก ซึ่งได้ผลดี คือ เด็กมีการอ่านเขียนมากกว่าปีการศึกษาที่ผ่านมา”         \n</p>\n', created = 1727565613, expire = 1727652013, headers = '', serialized = 0 WHERE cid = '3:428215b35f39f8f23d04da5cbfe1fa60' in /home/tgv/htdocs/includes/cache.inc on line 112.

พี่ป.3 เขียนนิทานให้น้องป.1

 

          โครงการภาษาของแผ่นดินเฉลิมพระเกียรติ เป็นโครงการที่ดำเนินขึ้นมาโดยมีเป้าหมายเพื่อมุ่งเน้นการพัฒนาการใช้ภาษาไทยของเด็กนักเรียนชั้นประถมศึกษาปีที่ 1 ตลอดจนแก้ปัญหาทางด้านการอ่านภาษาไทยให้มีความถูกต้อง โดยมุ่งขยายผลไปยังนักเรียนในชนบทที่ห่างไกล และโรงเรียนที่มีความขาดแคลน
          การดำเนินโครงการดังกล่าวมีรูปแบบที่น่าสนใจเป็นอย่างยิ่ง โดยพัฒนามาจากธรรมชาติการเรียนรู้ของเด็กเป็นหลัก ตามหลักการของ Child Centered ที่คำนึงถึงความต้องการ ความชอบ วิธีการเรียนรู้ของเด็กเป็นหลัก ผู้ช่วยศาสตราจารย์ ดร.ฉันทนา ภาคบงกช ประธานโครงการภาษาของแผ่นดินเฉลิมพระเกียรติ เปิดเผยว่า ทางโครงการฯ ได้ทำการศึกษาวิจัยชุดคำพื้นฐานที่เด็กชั้นประถมศึกษาปีที่ 1 ใช้ในชีวิตประจำวัน โดยพบว่าจำนวนคำที่พบว่าเหมาะสมกับเด็กชั้นประถมศึกษาปีที่ 1 มี 708 คำ แต่ในการจัดทำนิทานชุดนี้ นำคำที่มีความถี่ในการใช้สูงสุดมาเพียง 200 คำ แล้วจัดกลุ่มเป็น 26 กลุ่ม และนำคำเหล่านี้มาดำเนินการในโครงการ “เขียนนิทานให้น้องอ่าน”  ซึ่งเด็กสามารถจดจำและนำไปใช้ในชีวิตประจำวันได้ จากนั้น จึงเปิดโอกาสให้เด็กเขียนอย่างอิสระ เพื่อหาคำศัพท์ที่มีความถี่ในการใช้สูงสุด เพื่อนำมาจัดทำหลักสูตร 
          “จากนั้นจึงได้ดำเนินโครงการ “เขียนนิทานให้น้องอ่าน” โดยให้เด็กนักเรียนชั้นประถมศึกษาปีที่ 3 จาก 11 โรงเรียน ได้แก่ โรงเรียนสาธิตมหาวิทยาลัยศรีนครินทรวิโรฒ โรงเรียนสาธิตแห่งมหาวิทยาลัยเกษตรศาสตร์ โรงเรียนสาธิตมหาวิทยาลัยราชภัฏสวนสุนันทา โรงเรียนเกษมพิทยา โรงเรียนคลองกะจะ โรงเรียนอนันตา โรงเรียนอนุบาลสามเสน โรงเรียนอนุบาลยะลา โรงเรียนอนุบาลพิษณุโลก โรงเรียนบ้านก้างปลา จ.เลย  โรงเรียนประจันตะวิทยา จังหวัดเลย โครงการฯ ได้เปิดโอกาสให้เด็กคิดและสร้างสรรค์นิทานตามจินตนาการ โดยแต่ละกลุ่มให้ช่วยกันคิดนิทานจากกลุ่มคำที่กำหนดไว้ ผลปรากฏว่าเด็ก ๆ สามารถทำงานร่วมกันเขียนนิทานออกมาอย่างหลากหลายและสนุกสนาน” ผศ.ดร.ฉันทนากล่าว
          ตัวอย่างเช่น นิทานเรื่อง “คุณย่าออกกำลังกาย” เป็นผลงานของนักเรียนโรงเรียนสาธิตมหาวิทยาลัยศรีนครินทรวิโรฒ เป็นหนังสือเล่มที่ฝึกออกเสียง “ย” ซึ่งอาจารย์ฉันทนาเล่าว่า ในวันที่ไปจัดกิจกรรมนั้น มีนักเรียนร่วมเขียนจำนวนมาก เนื่องจากเวลาจำกัด จึงเริ่มต้นด้วยการคิดโครงเรื่องด้วยกัน จากนั้นแบ่งกันเขียนและวาดภาพแต่ละตอน ทำให้เนื้อเรื่องเสร็จสมบูรณ์ภายในเวลา 1 ชั่วโมง
 ภายหลังจากที่นักเรียนช่วยกันเรียบเรียงเรื่องราวนิทานแล้วเสร็จ คณะทำงานลงพื้นที่ทั้งในเมืองและต่างจังหวัด เพื่อทำการสอบถามเด็กนักเรียนชั้น ป.1 ว่าพวกเขาชอบเนื้อเรื่องหรือไม่ อยากให้ปรับปรุงเนื้อหาอย่างไรบ้าง เพื่อให้สนุกและน่าสนใจ ทำให้ได้นิทานที่เกิดประโยชน์สูงสุด และสามารถส่งเสริมรากฐานภาษาไทยของเด็ก ป.1 ได้อย่างมีประสิทธิภาพ 
          “เด็ก ๆ มีความสุขกับการแสดงความคิดเห็นและมีส่วนร่วมในนิทานเป็นอย่างมาก ยกตัวอย่างหนังสือนิทานเล่มที่ 16 เรื่อง “ข้าวไข่ดาว” ตัวเอกของเรื่องเดิมชื่อ “เขียว” แต่น้อง ป.1 บอกว่า “ชื่อเขียวนี่ ชื่อเชยไป” แล้วช่วยกันตั้งชื่อให้อยู่ในชุด “ข” และ “ค” เด็ก ๆ เลยช่วยกันตั้งชื่อใหม่ว่า “เคน” เพราะเขาชอบพระเอกหนุ่ม “เคน ธีรเดช วงศ์พัวพันธ์” หลังจากนั้น เรานำนิทานที่ปรับปรุงไปอ่านกับเด็ก ป.1 กลุ่มใหม่ เพื่อดูว่าเด็กมีความคิดเห็นอย่างไร หลังจากนั้นจึงจัดพิมพ์ เมื่อเรากระจายหนังสือไปยังโรงเรียนต่าง ๆ ขณะที่หนังสือชุดใหม่พิมพ์และส่งไปโรงเรียนต่าง ๆ ปรากฏว่าอยู่ในช่วงที่ “เคน” เพิ่งแต่งงาน พบว่า นิทานเรื่อง “ข้าวไข่ดาว” กลายเป็นนิทานยอดนิยมของเด็ก ๆ คุณครูในโรงเรียนเล่าว่า เด็ก ๆ อยากกินข้าวไข่ดาวเป็นเมนูอันดับต้น ๆ ด้วยเช่นกัน ผลจากหนังสือนิทานเล่มนี้นั่นเอง”
          ภายหลังจากการออกแบบนิทานแล้วเสร็จ จึงได้วาดภาพประกอบนิทานแต่ละเรื่อง โดยนิสิตนักศึกษาอาสาสมัคร สาขาศิลปกรรม และนักเรียนมัธยมสาธิต มศว. ทำให้ได้ภาพนิทานที่สวยงาม จากนั้น โครงการฯ ได้นำชุดนิทานไปทดลองใช้ในโรงเรียนชนบทห่างไกลจำนวน 1,188 หมู่บ้าน ใน 132 เขตพื้นที่การศึกษาทุกจังหวัด พบว่าสามารถช่วยให้เด็กอ่านคล่องและมีความสุข จนในที่สุดได้รับคำขวัญว่า “อ่านคล่อง อ่านสนุก อ่านถวายในหลวง” 
          “การที่เด็กสามารถอ่านได้คล่องนั้น เนื่องจากคณะทำงานใช้ยุทธวิธีสนับสนุนให้เด็กช่วยเหลือกัน โดยให้เด็กที่เรียนเก่ง ช่วยเหลือเด็กที่เรียนอ่อน ซึ่งโดยธรรมชาติของเด็กเก่งแล้ว ถ้าจะให้ช่วยเด็กที่เรียนอ่อนเลย อาจจะเป็นการบังคับจิตใจเด็ก และอาจรังเกียจที่จะช่วยเพื่อน แต่ถ้าเราบอกเขาว่า “หนูจะมีนิทานสนุก ๆ อ่าน หนูอ่านพร้อมเพื่อนดีมั้ย หนูก็ช่วยให้เพื่อนอ่านสนุกด้วย หนูก็จะเป็นคนดี ได้ช่วยเพื่อน ดีมั้ยคะ” เด็กจะยินดีทำ และเป็นกำลังใจให้เด็กเก่งช่วยอ่านนำเด็กที่เรียนอ่อน ทั้งนี้ ในความเป็นจริง พบว่า เด็กที่เรียนปานกลางจะช่วยเด็กที่เรียนอ่อนได้เยอะมาก มีความอดทนในการสอนเพื่อนให้อ่าน ท้ายที่สุดก็เกิดเป็นชุมชนเล็ก ๆ ในแต่ละโรงเรียน เด็ก ๆ ป. 1 อ่านหนังสือด้วยกัน ช่วยเหลือกัน เป็นภาพที่น่ารักน่าประทับใจที่สุด นอกจากนี้ ศึกษานิเทศน์ในจังหวัดชุมพร นำหลักการของเราไปอบรมครูให้จัดทำกิจกรรมเพื่อฝึกภาษาให้กับเด็ก ซึ่งได้ผลดี คือ เด็กมีการอ่านเขียนมากกว่าปีการศึกษาที่ผ่านมา”         

มหาวิทยาลัยศรีปทุม ผู้ใหญ่ใจดี
 

 ช่วยด้วยครับ
นักเรียนที่สร้างบล็อก กรุณาอย่า
คัดลอกข้อมูลจากเว็บอื่นทั้งหมด
ควรนำมาจากหลายๆ เว็บ แล้ววิเคราะห์ สังเคราะห์ และเขียนขึ้นใหม่
หากคัดลอกทั้งหมด จะถูกดำเนินคดี
ตามกฎหมายจากเจ้าของลิขสิทธิ์
มีโทษทั้งจำคุกและปรับในอัตราสูง

ช่วยกันนะครับ 
ไทยกู๊ดวิวจะได้อยู่นานๆ 
ไม่ถูกปิดเสียก่อน

ขอขอบคุณในความร่วมมือครับ

อ่านรายละเอียด

ด่วน...... ขณะนี้
พระราชบัญญัติลิขสิทธิ์ (ฉบับที่ 2) พ.ศ. 2558 
มีผลบังคับใช้แล้ว 
ขอให้นักเรียนและคุณครูที่ใช้งาน
เว็บ thaigoodview ในการส่งการบ้าน
ระมัดระวังการละเมิดลิขสิทธิ์ด้วย
อ่านรายละเอียดที่นี่ครับ

 

สมาชิกที่ออนไลน์

ขณะนี้มี สมาชิก 0 คน และ ผู้เยี่ยมชม 295 คน กำลังออนไลน์