• user warning: Table 'cache_filter' is marked as crashed and should be repaired query: SELECT data, created, headers, expire, serialized FROM cache_filter WHERE cid = '3:faddb8e703aaf2cf2266bcd2e64da35d' in /home/tgv/htdocs/includes/cache.inc on line 27.
  • user warning: Table 'cache_filter' is marked as crashed and should be repaired query: UPDATE cache_filter SET data = '<!--paging_filter--><h1 align=\"center\" style=\"margin: 0cm 0cm 0pt; text-align: center\"><span style=\"color: #3366ff\"><strong><u><span style=\"font-size: 26pt; color: blue; font-family: \'Cordia New\'\" lang=\"TH\">สมัยปฏิวัติทางภูมิปัญญา</span></u></strong><u><span style=\"font-size: 26pt; color: #333333; font-family: \'Cordia New\'\"><o:p></o:p></span></u></span></h1>\n<h1 style=\"margin: 0cm 0cm 0pt; text-indent: 36pt\"><span style=\"color: #ff0000\"><span style=\"font-size: 16pt; color: blue; font-family: \'Cordia New\'\" lang=\"TH\">จากทฤษฎีทันสมัยนิยม </span><span style=\"font-size: 16pt; color: blue; font-family: \'Cordia New\'\"> <span lang=\"TH\">ในประเด็นสำคัญ</span> <span lang=\"TH\">4 ประการ ได้แก่</span><o:p></o:p></span></span></h1>\n<h1 style=\"margin: 0cm 0cm 0pt; text-indent: 36pt\"><span style=\"color: #ff0000\"><span style=\"font-size: 16pt; color: blue; font-family: \'Cordia New\'\" lang=\"TH\">1. ถ้าความหมายถูกสร้างขึ้นจากปฏิสัมพันธ์ทางสังคม ดังนั้น จิตสำนึกร่วมที่สำนักโครงสร้างนิยมเชื่อว่า ฝังแน่นอยู่ใน</span><span style=\"font-size: 16pt; color: blue; font-family: \'Cordia New\'\"><o:p></o:p></span></span></h1>\n<h1 style=\"margin: 0cm 0cm 0pt; text-indent: 36pt\"><span style=\"color: #ff0000\"><span style=\"font-size: 16pt; color: blue; font-family: \'Cordia New\'\" lang=\"TH\">2. ไม่มีงาช้างสำหรับนักวิชาการ (ที่ชอบอ้างความเป็นกลาง) เพราะว่าทฤษฎีต่างๆก็มีนัยยะทางการเมือง และมีผลกระทบต่อชีวิตของผู้คนในสังคมทั้งสิ้น </span><span style=\"font-size: 16pt; color: blue; font-family: \'Cordia New\'\"><o:p></o:p></span></span></h1>\n<h1 style=\"margin: 0cm 0cm 0pt; text-indent: 36pt\"><span style=\"color: #ff0000\"><span style=\"font-size: 16pt; color: blue; font-family: \'Cordia New\'\" lang=\"TH\">3. เชื่อว่า ชายผิวขาวชาวยุโรปสามารถแยกตัวเองจากมายาคติทางวัฒนธรรมของตน แล้วศึกษาโลกได้อย่างเป็นกลางและปราศจากอคติ</span><span style=\"font-size: 16pt; color: blue; font-family: \'Cordia New\'\"><o:p></o:p></span></span></h1>\n<h1 style=\"margin: 0cm 0cm 0pt; text-indent: 36pt\"><span style=\"color: #ff0000\"><span style=\"font-size: 16pt; color: blue; font-family: \'Cordia New\'\" lang=\"TH\">4. ความผิดพลาดที่เกิดจากการคาดการณ์ว่าทฤษฎีสามารถสร้างความรู้เกี่ยวกับโลกได้เหมือนกับการจำลองความเป็นจริงงานเขียนของนักมานุษยวิทยาไม่เพียงถูกสร้างขึ้นผ่านการเขียนที่เกิดจากกระบวนการคิด วิเคราะห์ สังเคราะห์ และจินตนาการของตน</span><span style=\"font-size: 16pt; color: blue; font-family: \'Cordia New\'\"> <span lang=\"TH\">แต่เป็นเพียงความจริงบางส่วนเท่านั้น</span></span><span style=\"color: #333333; font-family: \'Cordia New\'\"><o:p></o:p></span></span></h1>\n<p align=\"center\" style=\"text-align: center\">\n<span style=\"color: #ff0000\"><b><u><span style=\"font-size: 20pt; color: blue; font-family: \'Cordia New\'\" lang=\"TH\">นักคิดที่สำคัญได้แก่</span></u></b></span>\n</p>\n<p>\n<span style=\"color: #ff0000\"><b><u><span style=\"font-size: 20pt; color: blue; font-family: \'Cordia New\'\" lang=\"TH\"></span></u></b></span>\n</p>\n<p>\n<span style=\"color: #ff0000\"><b><u><span style=\"font-size: 20pt; color: blue; font-family: \'Cordia New\'\" lang=\"TH\"></span></u></b></span>\n</p>\n<p>\n<span style=\"color: #ff0000\"><span style=\"font-size: 20pt; color: blue; font-family: \'Cordia New\'\" lang=\"TH\"><strong><u> </u></strong><span style=\"font-size: small\"><span style=\"color: #000000\"><span style=\"font-family: Times New Roman\"> <v:stroke joinstyle=\"miter\"></v:stroke></span></span></span><v:formulas><v:f eqn=\"if lineDrawn pixelLineWidth 0\"></v:f><v:f eqn=\"sum @0 1 0\"></v:f><v:f eqn=\"sum 0 0 @1\"></v:f><v:f eqn=\"prod @2 1 2\"></v:f><v:f eqn=\"prod @3 21600 pixelWidth\"></v:f><v:f eqn=\"prod @3 21600 pixelHeight\"></v:f><v:f eqn=\"sum @0 0 1\"></v:f><v:f eqn=\"prod @6 1 2\"></v:f><v:f eqn=\"prod @7 21600 pixelWidth\"></v:f><v:f eqn=\"sum @8 21600 0\"></v:f><v:f eqn=\"prod @7 21600 pixelHeight\"></v:f><v:f eqn=\"sum @10 21600 0\"></v:f></v:formulas><v:path o:extrusionok=\"f\" gradientshapeok=\"t\" o:connecttype=\"rect\"></v:path><o:lock v:ext=\"edit\" aspectratio=\"t\"></o:lock><v:shape href=\"http://images.google.co.th/imgres?imgurl=http://www.ling.su.se/fon/phoneticians/Saussure_2.jpg&amp;imgrefurl=http://www.artgazine.com/shoutouts/viewtopic.php%3Ft%3D263&amp;usg=__twh5uSqmaCAtjzLLqTC26ZIp14w=&amp;h=238&amp;w=159&amp;sz=25&amp;hl=th&amp;start=18&amp;tbnid=Wd6EqGIczBlycM:&amp;tbnh=109&amp;tbnw=73&amp;prev=/images%3Fq%3DFerdinand%2Bde%2BSaussure%26gbv%3D2%26hl%3Dth%26sa%3DG\" o:button=\"t\" type=\"#_x0000_t75\" style=\"margin-top: 390.75pt; z-index: 1; margin-left: 244.5pt; width: 96.3pt; position: absolute; height: 2in\" id=\"_x0000_s1026\"><v:imagedata src=\"file:///C:\\DOCUME~1\\INTERN~1\\LOCALS~1\\Temp\\msohtml1\\01\\clip_image001.jpg\" o:href=\"http://tbn0.google.com/images?q=tbn:Wd6EqGIczBlycM:http://www.ling.su.se/fon/phoneticians/Saussure_2.jpg\"></v:imagedata></v:shape></span></span>\n</p>\n<p>\n<span style=\"color: #ff0000\"><b><u><span style=\"font-size: 20pt; color: blue; font-family: \'Cordia New\'\" lang=\"TH\"></span></u></b></span>\n</p>\n<p><span style=\"color: #ff0000\"><b><u><span style=\"font-size: 20pt; color: blue; font-family: \'Cordia New\'\" lang=\"TH\"></span></u></b></span><span style=\"color: #ff0000\"></span></p>\n<p align=\"center\" style=\"text-align: center\">\n<br clear=\"all\" />\n</p>\n<p></p>\n<p align=\"center\" style=\"text-align: center\">\n<span style=\"color: #ff0000\"><strong><u><span style=\"font-size: 16pt; color: blue; font-family: \'Cordia New\'\">Ferdinand<span lang=\"TH\"> </span>de Saussure</span></u></strong><span style=\"font-size: 16pt; color: blue; font-family: \'Cordia New\'\" lang=\"TH\">เป็นนักภาษาศาสตร์ เกิดเมื่อวันที่ 26 พฤศจิกายน ปี 1857ที่เมืองเจนีวา ในประเทศสวิตเซอร์แลนด์เมื่อปี 1857<span>  </span>เมื่อเขาเกิดมาพร้อมกับพรสวรรค์<span>  </span>เมื่อเขามีอายุ 1 ขวบ เขาได้รับรู้ภาษา</span><span style=\"font-size: 16pt; color: blue; font-family: \'Cordia New\'\" lang=\"TH\">ละติน <span> </span>กรีก<span>  </span>และภาษาสันสกฤตอีกด้วย<span>  </span>เมื่อ</span><span style=\"font-size: 16pt; color: blue; font-family: \'Cordia New\'\" lang=\"TH\">โตขึ้นก็ได้เข้ารับการศึกษาที่มหาวิทยาลัยเจนีวา<span>  </span>และก็ได้รับปริญญาบัตรที่มหาวิทยาลัยไลพซิกที่ประเทศเยอรมนีในปี 1876เมื่อเขาอายุได้21ปี เขาก็ได้ไปศึกษาต่อที่เบอร์ลิน<span>  </span>และได้รับปริญญาเอกในปี 1880ตั้งแต่ปี1906 เขาได้เริ่มเป็นครูและได้ค้นพบเส้นทางแห่งภาษาศาสตร์<span>  </span>และเขาได้เสียชีวิตลงในวันที่ 22 กุมภาพันธ์<span>  </span>ปี1913</span> </span>\n</p>\n<p style=\"text-indent: 36pt\">\n<span style=\"font-size: 16pt; color: blue; font-family: \'Cordia New\'\" lang=\"TH\"></span><span style=\"color: #ff0000\"><b><u><span style=\"font-size: 16pt; color: blue; font-family: \'Cordia New\'\">Jacques Derrida</span></u></b><span style=\"font-size: 16pt; color: blue; font-family: \'Cordia New\'\" lang=\"TH\">เป็นนักปรัชญาชาวฝรั่งเศส เกิดเมื่อวันที่15 กรกฎาคม ปี1930 ใน</span><span style=\"font-size: 16pt; color: blue; font-family: \'Cordia New\'\" lang=\"TH\"> </span><span style=\"font-size: 16pt; color: blue; font-family: \'Cordia New\'\" lang=\"EN\"><a href=\"http://en.wikipedia.org/wiki/El_Biar\" title=\"El Biar\"><span style=\"text-decoration: none; text-underline: none\"><span style=\"color: #0000ff\">El Biar</span></span></a></span><span style=\"font-size: 16pt; color: blue; font-family: \'Cordia New\'\" lang=\"TH\"> ใกล้กับแอลจีเรีย</span><span style=\"font-size: 16pt; color: blue; font-family: \'Cordia New\'\" lang=\"TH\">และเขานำแนวคิด<span style=\"color: #ff00ff\">ของ</span></span><strong><span style=\"font-size: 16pt; background: red; color: white; font-family: \'Cordia New\'\"><span style=\"color: #ff00ff\">Ferdinand<span lang=\"TH\"> </span>de Saussure</span></span></strong><span style=\"font-size: 16pt; color: white; font-family: \'Cordia New\'\"> </span><span style=\"font-size: 16pt; color: blue; font-family: \'Cordia New\'\" lang=\"TH\">มาดัดแปลงทำให้เกิดแนวคิดหลังโครงสร้างนิยม<span>  </span>ซึ่งเดอริดาเห็นว่า ภาษามีธรรมชาติที่ไม่มีระเบียบ ความหมายผันแปรไปตามบริบทที่เปลี่ยนไป เป็นพื้นฐานในการก่อตัวแนวคิดหลังทันสมัยใหม่<span>  </span>และเขาได้เสียชีวิตมนวันที่ 8 ตุลาคม 2004 อายุ74ปี</span> </span>\n</p>\n<p><span style=\"font-size: 16pt; color: blue; font-family: \'Cordia New\'\" lang=\"TH\"></span><span style=\"color: #ff0000\"><b><u><span style=\"font-size: 16pt; color: blue; font-family: \'Cordia New\'\">Jean-Francois Lyotard</span></u></b><b><span style=\"font-size: 16pt; color: blue; font-family: \'Cordia New\'\"><span>  </span></span></b><span style=\"font-size: 16pt; color: blue; font-family: \'Cordia New\'\" lang=\"TH\">เกิดวันที่ 10 สิงหาคม ปี 1942 ในเมืองเฝอะเซลส ใกล้กับกรุงปารีส และเข้ารับการศึกษาชั้นประถมในกรุงปารีส ต่อมาเขาเริ่มศึกษาวิชาปรัชญาที่ซอบอน<span>  </span>จากนั้นในปี 1950 เขาก็ได้เป็นครูสอนปรัชญาทีคอนสแตนติน ในประเทศฝรั่งเศสทางตะวันออกของแอลจีเรีย<span>  </span>เจาแต่งงานสองครั้งในปี 1948 กับ</span><span lang=\"TH\"><span style=\"font-size: small; color: #000000; font-family: Times New Roman\"> </span></span><span style=\"font-size: 16pt; color: blue; font-family: \'Cordia New\'\" lang=\"EN\"><a href=\"http://en.wikipedia.org/w/index.php?title=Andr%C3%A9e_May&amp;action=edit&amp;redlink=1\" title=\"Andrée May (page does not exist)\"><span style=\"text-decoration: none; text-underline: none\"><span style=\"color: #0000ff\"><span style=\"background-color: #ff9900\">Andrée May</span></span></span></a></span><span style=\"font-size: 16pt; color: blue; font-family: \'Cordia New\'\" lang=\"TH\"> เขามีลูกสาวสองคน และครั้งที่สองในปี 1993 เขามีลูกชาย ซึ่งเขามีความคิดว่า ควรจะเปลี่ยนโลกทัศน์ต่อความรู้เสียใหม่ จากที่ได้รับอิทธิพลจากวิทยาศาสตร์แบบกลไก มาอยู่ในระบบของโลกที่เปลี่ยนแปลงตลอดเวลา ดังนั้นความรู้จึงมีลักษณะอย่างดีที่สุด คือ เป็นความรู้แบบชั่วคราว </span><span style=\"font-size: 16pt; color: #333333; font-family: \'Cordia New\'\"><o:p></o:p></span><span style=\"font-size: 16pt; color: #333333; font-family: \'Cordia New\'\"><o:p> </o:p></span><span style=\"font-size: 16pt; color: blue; font-family: \'Cordia New\'\"><o:p></o:p></span> </span></p>\n<p style=\"background: white; margin: 7.2pt 0cm 14.4pt\" class=\"MsoNormal\">\n<span style=\"font-size: 16pt; color: blue; font-family: \'Cordia New\'\"><span style=\"color: #ff0000\"><span>            </span><b>Jean Baudrillard </b><span lang=\"TH\">เกิดวันที่ 29 กรกฎาคม ปี 1929 ที่ </span></span><a href=\"http://en.wikipedia.org/wiki/Reims\" title=\"Reims\"><u><span style=\"color: #0000ff\"><span style=\"color: #ff0000\">Rheims</span></span></u></a><span style=\"color: #ff0000\"> <span lang=\"TH\">ทางตะวันออกเฉียงเหนือของประเทศฝรั่งเศสครอบครัวของเขาเป็นข้าราชการพลเรือน เขาเรียนที่มหาวิทยาลัยซอบอนในกรุงปารีส และเรียนภาษาเยอรมัน<span>  </span>ในปี 1986 เขาย้ายมาที่</span>IRIS <span lang=\"TH\">เขาเสนอแนวคิดว่า วัฒนธรรมของ<a href=\"http://images.google.co.th/imgres?imgurl=http://cyberlab.lh1.ku.ac.th/elearn/faculty/social/soc65/baudrillard-self.jpg&amp;imgrefurl=http://cyberlab.lh1.ku.ac.th/elearn/faculty/social/soc65/14-2.html&amp;usg=__p4sANHTxprIjCgNM2xDQgkD4mpo=&amp;h=190&amp;w=138&amp;sz=6&amp;hl=th&amp;start=10&amp;um=1&amp;tbnid=liZjyKMuJUxyjM:&amp;tbnh=103&amp;tbnw=75&amp;prev=/images%3Fq%3D%25E0%25B8%2581%25E0%25B8%25B2%25E0%25B8%25A3%25E0%25B8%259B%25E0%25B8%258F%25E0%25B8%25B4%25E0%25B8%25A7%25E0%25B8%25B1%25E0%25B8%2595%25E0%25B8%25B4%25E0%25B8%2597%25E0%25B8%25B2%25E0%25B8%2587%25E0%25B8%25A0%25E0%25B8%25B9%25E0%25B8%25A1%25E0%25B8%25B4%25E0%25B8%259B%25E0%25B8%25B1%25E0%25B8%258D%25E0%25B8%258D%25E0%25B8%25B2%26um%3D1%26hl%3Dth%26sa%3DN\"></a>โล<a href=\"http://images.google.co.th/imgres?imgurl=http://cyberlab.lh1.ku.ac.th/elearn/faculty/social/soc65/baudrillard-self.jpg&amp;imgrefurl=http://cyberlab.lh1.ku.ac.th/elearn/faculty/social/soc65/14-2.html&amp;usg=__p4sANHTxprIjCgNM2xDQgkD4mpo=&amp;h=190&amp;w=138&amp;sz=6&amp;hl=th&amp;start=10&amp;um=1&amp;tbnid=liZjyKMuJUxyjM:&amp;tbnh=103&amp;tbnw=75&amp;prev=/images%3Fq%3D%25E0%25B8%2581%25E0%25B8%25B2%25E0%25B8%25A3%25E0%25B8%259B%25E0%25B8%258F%25E0%25B8%25B4%25E0%25B8%25A7%25E0%25B8%25B1%25E0%25B8%2595%25E0%25B8%25B4%25E0%25B8%2597%25E0%25B8%25B2%25E0%25B8%2587%25E0%25B8%25A0%25E0%25B8%25B9%25E0%25B8%25A1%25E0%25B8%25B4%25E0%25B8%259B%25E0%25B8%25B1%25E0%25B8%258D%25E0%25B8%258D%25E0%25B8%25B2%26um%3D1%26hl%3Dth%26sa%3DN\"></a>กยุคหลังทันส<a href=\"http://images.google.co.th/imgres?imgurl=http://cyberlab.lh1.ku.ac.th/elearn/faculty/social/soc65/baudrillard-self.jpg&amp;imgrefurl=http://cyberlab.lh1.ku.ac.th/elearn/faculty/social/soc65/14-2.html&amp;usg=__p4sANHTxprIjCgNM2xDQgkD4mpo=&amp;h=190&amp;w=138&amp;sz=6&amp;hl=th&amp;start=10&amp;um=1&amp;tbnid=liZjyKMuJUxyjM:&amp;tbnh=103&amp;tbnw=75&amp;prev=/images%3Fq%3D%25E0%25B8%2581%25E0%25B8%25B2%25E0%25B8%25A3%25E0%25B8%259B%25E0%25B8%258F%25E0%25B8%25B4%25E0%25B8%25A7%25E0%25B8%25B1%25E0%25B8%2595%25E0%25B8%25B4%25E0%25B8%2597%25E0%25B8%25B2%25E0%25B8%2587%25E0%25B8%25A0%25E0%25B8%25B9%25E0%25B8%25A1%25E0%25B8%25B4%25E0%25B8%259B%25E0%25B8%25B1%25E0%25B8%258D%25E0%25B8%258D%25E0%25B8%25B2%26um%3D1%26hl%3Dth%26sa%3DN\"></a>มัยมีเนื้อหาหลักอยู่ที่ - เศรษฐกิจเชิงวัฒนธรรมของโลกสมัยใหม่ถึงจุดเปลี่ยน กล่าวคือ สินค้าที่มูลค่ามากที่สุดในตลาดโลกไม่ใช่สินค้าและบริการเช่นเดิม แต่เป็น&quot;ข้อมูลข่าวสาร&quot; </span></span></span>\n</p>\n<p><span style=\"font-size: 16pt; color: blue; font-family: \'Cordia New\'\"><span lang=\"TH\"></span></span><span style=\"color: #ff0000\"><b><u><span style=\"font-size: 16pt; color: blue; font-family: \'Cordia New\'\" lang=\"TH\">ทฤษฎีหลังทันสมัยนิยม</span></u></b><u><span style=\"font-size: 16pt; color: blue; font-family: \'Cordia New\'\"><o:p></o:p></span></u><span style=\"font-size: 16pt; color: blue; font-family: \'Cordia New\'\" lang=\"TH\">1. ความสัมพันธ์ระหว่างสัญญะกับความหมายที่ซับซ้อนและมีนัยสำคัญหลายมิติ เช่น สัญญะไม่ได้ยึดติดอยู่กับความหมายใดความหมายนิ่งในลักษณะคงที่ แต่มันเกี่ยวโยงสัมพันธ์กับสัญญะชุดอื่นอีกจำนวนหนึ่ง เช่น </span><span style=\"font-size: 16pt; color: blue; font-family: \'Cordia New\'\">letter<span lang=\"TH\"> ได้ผลิตความหมายและสัญญะมากมาย อย่าง </span>alphabet, message,<span lang=\"TH\"> </span>agreement<span lang=\"TH\"> หรือกริยาที่แปลว่าเขียนหรือทำเครื่องหมายก็ได้</span><o:p></o:p></span><span style=\"font-size: 16pt; color: blue; font-family: \'Cordia New\'\" lang=\"TH\">2. ความหมายของภาษาอยู่ที่ &quot;</span><span style=\"font-size: 16pt; color: blue; font-family: \'Cordia New\'\">linguistic<span lang=\"TH\"> </span>sign&quot;<span lang=\"TH\"> ซึ่งประกอบด้วย &quot;</span>signified&quot;<span lang=\"TH\"> (ตัวความหมาย) และ &quot;</span>signifier&quot; (<span lang=\"TH\">สัญญะที่สื่อความหมาย) เช่น </span>BMW (signifer)<span lang=\"TH\"> แต่ซื้อเพราะความมีระดับและหรูหรา (</span>signified)<span lang=\"TH\"> ความสัมพันธ์ระหว่างความหมายกับสัญญะไม่อยู่ภายใต้กฎเกณฑ์ทางภาษาหรือแบบแผนใดๆ แต่เป็นเรื่องของความบังเอิญของภาษา</span><o:p></o:p></span><span style=\"font-size: 16pt; color: blue; font-family: \'Cordia New\'\" lang=\"TH\">3. มีจุดเริ่มต้นเหมือนกับนักทฤษฎีโครงสร้างนิยมที่ว่า การให้ความสำคัญกับภาษาและกระบวนการทำงานของภาษาในฐานะที่เป็นจุดเริ่มต้นในการทำความเข้าใจความคิด การสื่อสาร และปรากฏการณ์ทางวัฒนธรรม หรือการมองว่า &quot;ภาษา คือ ระบบของสัญญาณที่สื่อความหมาย ความคิด และประสบการณ์&quot;</span><span style=\"font-size: 16pt; color: blue; font-family: \'Cordia New\'\"><o:p></o:p></span><span style=\"font-size: 16pt; color: blue; font-family: \'Cordia New\'\" lang=\"TH\">4. ความหมายเป็นสิ่งที่เกิดจากความแตกต่างระหว่างสัญญะใดๆ และไม่ใช่สิ่งที่แน่นอนตายตัว เช่น ไก่ ไม่อาจหมายถึงเพียงสัตว์ปีกชนิดหนึ่งที่ขยายพันธุ์โดยการออกไข่ แต่อาจหมายถึง ไก่หลง ไก่อ่อน ไก่แก่ ดังนั้นความหมายจึงเป็นผลผลิตที่เกิดขึ้นในกระบวนการสื่อสารหรือการตีความที่ดำเนินต่อไปในความคิด ความเข้าใจของผู้รับสาร</span><span style=\"font-size: 16pt; color: blue; font-family: \'Cordia New\'\"><o:p></o:p></span><span style=\"font-size: 16pt; color: blue; font-family: \'Cordia New\'\" lang=\"TH\">5. การศึกษาวิเคราะห์ทางสังคมวัฒนธรรม เป็นผลของปฏิสัมพันธ์ที่ไม่มีวันสิ่นสุดของสัญญะ การเข้าถึงความหมายเกิดขึ้นภายใต้บริบททางสังคมวัฒนธรรม ที่ขึ้นอยู่กับคนรับสาร (ไม่ใช่ผู้ส่งสาร) 6. การทำความเข้าใจความหมายใดๆ มีนัยสำคัญอย่างยิ่งสำหรับการสื่อสาร การวิเคราะห์ และการตีความทางวัฒนธรรม โดยเนื้อหาของสารที่ได้รับการสื่อออกมาโดยตะรางแล้วผู้รับเข้าใจได้ เป็น &quot;ความหมายที่ปรากฏ&quot; (</span><span style=\"font-size: 16pt; color: blue; font-family: \'Cordia New\'\">present)<span lang=\"TH\"> ส่วนความหมายอื่นที่แทรก แฝง ซ่อนหรือตีความหมายต่อได้อีก ถือเป็น &quot;ความหมายที่ไม่ขาดหาย&quot; (</span>absent)<o:p></o:p></span> </span></p>\n<p style=\"background: white; margin: 7.2pt 0cm 14.4pt\" class=\"MsoNormal\">\n<span style=\"font-size: 16pt; color: blue; font-family: \'Cordia New\'\" lang=\"TH\"><span style=\"color: #ff0000\">7. ความหมายที่เกิดจาการสื่อสารและกิจกรรมทางเศรษฐกิจ การเมือง และสังคม ประกอบด้วยลักษณะสำคัญ ได้แก่</span></span><span style=\"font-size: 16pt; color: blue; font-family: \'Cordia New\'\"><span style=\"color: #ff0000\"> </span><span lang=\"TH\"><br />\n<span style=\"color: #ff0000\">- </span></span><span style=\"color: #ff0000\"> </span><span style=\"color: #ff0000\"><span lang=\"TH\">ความหลากหลายมิติอยู่ในตัวเอง<br />\n-</span> </span><span lang=\"TH\"><span style=\"color: #ff0000\"> ความหมายไม่ได้จำกัดด้วยโครงสร้างที่ตายตัวแบบแนวคิด </span><a target=\"_blank\" href=\"/binary%20op.html\"><span style=\"color: #0000ff\"><span style=\"color: #ff0000\"><span style=\"text-decoration: none; text-underline: none\" lang=\"EN-US\">binary</span><span style=\"text-decoration: none; text-underline: none\"> </span><span style=\"text-decoration: none; text-underline: none\" lang=\"EN-US\">oppositions </span></span></span></a><br />\n<span style=\"color: #ff0000\">- </span></span><span style=\"color: #ff0000\"> </span><span style=\"color: #ff0000\"><span lang=\"TH\">ผู้ส่งสาร ไม่มีอำนาจสิทธิ์ขาดในการสร้างความหมาย แต่เป็นผู้รับสาร ซึ่งมีความสามารถ โอกาส รวมทั้งเงื่อนไขที่จะเข้าถึงและตีความที่ผู้ส่งสารไม่ได้คิดถึงหรือเตรียมไว้เลย<br />\n</span> - <span lang=\"TH\">ผู้รับสารเป็นผู้มีบทบาทในการทำความจริงให้ปรากฏ และทำสิ่งผู้ส่งสารจงใจซ่อนให้ปรากฏ8. ทฤษฎีหลังโครงสร้างนิยมปฏิเสธว่า ปรากฎการณ์ทางสังคมหรือความคิดของแต่ละบุคคลมีชุดของความหมายที่แน่นอนชุดหนึ่งแฝงอยู่ แต่ความหมายและความคิดกลับเป็นสิ่งที่ขึ้นอยู่กับความสามารถของผู้รับสารหรือผู้วิเคราะห์ มุมมองเฉพาะและบริบทเฉพาะในการรับสาร ซึ่งเป็นเงื่อนไขสำคัญต่อการผลิตความหมายหรือการเข้าใจปรากฏการณ์ทางสังคมแต่ละครั้ง</span>     </span></span><span style=\"font-size: 16pt; color: #333333; font-family: \'Cordia New\'\" lang=\"TH\"><span style=\"color: #ff0000\"> </span></span>\n</p>\n', created = 1728192842, expire = 1728279242, headers = '', serialized = 0 WHERE cid = '3:faddb8e703aaf2cf2266bcd2e64da35d' in /home/tgv/htdocs/includes/cache.inc on line 112.

สมัยปฏิวัติทางภูมิปัญญา

รูปภาพของ nokkaew

สมัยปฏิวัติทางภูมิปัญญา

จากทฤษฎีทันสมัยนิยม  ในประเด็นสำคัญ 4 ประการ ได้แก่

1. ถ้าความหมายถูกสร้างขึ้นจากปฏิสัมพันธ์ทางสังคม ดังนั้น จิตสำนึกร่วมที่สำนักโครงสร้างนิยมเชื่อว่า ฝังแน่นอยู่ใน

2. ไม่มีงาช้างสำหรับนักวิชาการ (ที่ชอบอ้างความเป็นกลาง) เพราะว่าทฤษฎีต่างๆก็มีนัยยะทางการเมือง และมีผลกระทบต่อชีวิตของผู้คนในสังคมทั้งสิ้น

3. เชื่อว่า ชายผิวขาวชาวยุโรปสามารถแยกตัวเองจากมายาคติทางวัฒนธรรมของตน แล้วศึกษาโลกได้อย่างเป็นกลางและปราศจากอคติ

4. ความผิดพลาดที่เกิดจากการคาดการณ์ว่าทฤษฎีสามารถสร้างความรู้เกี่ยวกับโลกได้เหมือนกับการจำลองความเป็นจริงงานเขียนของนักมานุษยวิทยาไม่เพียงถูกสร้างขึ้นผ่านการเขียนที่เกิดจากกระบวนการคิด วิเคราะห์ สังเคราะห์ และจินตนาการของตน แต่เป็นเพียงความจริงบางส่วนเท่านั้น

นักคิดที่สำคัญได้แก่

 


Ferdinand de Saussureเป็นนักภาษาศาสตร์ เกิดเมื่อวันที่ 26 พฤศจิกายน ปี 1857ที่เมืองเจนีวา ในประเทศสวิตเซอร์แลนด์เมื่อปี 1857  เมื่อเขาเกิดมาพร้อมกับพรสวรรค์  เมื่อเขามีอายุ 1 ขวบ เขาได้รับรู้ภาษาละติน  กรีก  และภาษาสันสกฤตอีกด้วย  เมื่อโตขึ้นก็ได้เข้ารับการศึกษาที่มหาวิทยาลัยเจนีวา  และก็ได้รับปริญญาบัตรที่มหาวิทยาลัยไลพซิกที่ประเทศเยอรมนีในปี 1876เมื่อเขาอายุได้21ปี เขาก็ได้ไปศึกษาต่อที่เบอร์ลิน  และได้รับปริญญาเอกในปี 1880ตั้งแต่ปี1906 เขาได้เริ่มเป็นครูและได้ค้นพบเส้นทางแห่งภาษาศาสตร์  และเขาได้เสียชีวิตลงในวันที่ 22 กุมภาพันธ์  ปี1913

Jacques Derridaเป็นนักปรัชญาชาวฝรั่งเศส เกิดเมื่อวันที่15 กรกฎาคม ปี1930 ใน El Biar ใกล้กับแอลจีเรียและเขานำแนวคิดของFerdinand de Saussure มาดัดแปลงทำให้เกิดแนวคิดหลังโครงสร้างนิยม  ซึ่งเดอริดาเห็นว่า ภาษามีธรรมชาติที่ไม่มีระเบียบ ความหมายผันแปรไปตามบริบทที่เปลี่ยนไป เป็นพื้นฐานในการก่อตัวแนวคิดหลังทันสมัยใหม่  และเขาได้เสียชีวิตมนวันที่ 8 ตุลาคม 2004 อายุ74ปี

Jean-Francois Lyotard  เกิดวันที่ 10 สิงหาคม ปี 1942 ในเมืองเฝอะเซลส ใกล้กับกรุงปารีส และเข้ารับการศึกษาชั้นประถมในกรุงปารีส ต่อมาเขาเริ่มศึกษาวิชาปรัชญาที่ซอบอน  จากนั้นในปี 1950 เขาก็ได้เป็นครูสอนปรัชญาทีคอนสแตนติน ในประเทศฝรั่งเศสทางตะวันออกของแอลจีเรีย  เจาแต่งงานสองครั้งในปี 1948 กับ Andrée May เขามีลูกสาวสองคน และครั้งที่สองในปี 1993 เขามีลูกชาย ซึ่งเขามีความคิดว่า ควรจะเปลี่ยนโลกทัศน์ต่อความรู้เสียใหม่ จากที่ได้รับอิทธิพลจากวิทยาศาสตร์แบบกลไก มาอยู่ในระบบของโลกที่เปลี่ยนแปลงตลอดเวลา ดังนั้นความรู้จึงมีลักษณะอย่างดีที่สุด คือ เป็นความรู้แบบชั่วคราว  

            Jean Baudrillard เกิดวันที่ 29 กรกฎาคม ปี 1929 ที่ Rheims ทางตะวันออกเฉียงเหนือของประเทศฝรั่งเศสครอบครัวของเขาเป็นข้าราชการพลเรือน เขาเรียนที่มหาวิทยาลัยซอบอนในกรุงปารีส และเรียนภาษาเยอรมัน  ในปี 1986 เขาย้ายมาที่IRIS เขาเสนอแนวคิดว่า วัฒนธรรมของโลกยุคหลังทันสมัยมีเนื้อหาหลักอยู่ที่ - เศรษฐกิจเชิงวัฒนธรรมของโลกสมัยใหม่ถึงจุดเปลี่ยน กล่าวคือ สินค้าที่มูลค่ามากที่สุดในตลาดโลกไม่ใช่สินค้าและบริการเช่นเดิม แต่เป็น"ข้อมูลข่าวสาร"

ทฤษฎีหลังทันสมัยนิยม1. ความสัมพันธ์ระหว่างสัญญะกับความหมายที่ซับซ้อนและมีนัยสำคัญหลายมิติ เช่น สัญญะไม่ได้ยึดติดอยู่กับความหมายใดความหมายนิ่งในลักษณะคงที่ แต่มันเกี่ยวโยงสัมพันธ์กับสัญญะชุดอื่นอีกจำนวนหนึ่ง เช่น letter ได้ผลิตความหมายและสัญญะมากมาย อย่าง alphabet, message, agreement หรือกริยาที่แปลว่าเขียนหรือทำเครื่องหมายก็ได้2. ความหมายของภาษาอยู่ที่ "linguistic sign" ซึ่งประกอบด้วย "signified" (ตัวความหมาย) และ "signifier" (สัญญะที่สื่อความหมาย) เช่น BMW (signifer) แต่ซื้อเพราะความมีระดับและหรูหรา (signified) ความสัมพันธ์ระหว่างความหมายกับสัญญะไม่อยู่ภายใต้กฎเกณฑ์ทางภาษาหรือแบบแผนใดๆ แต่เป็นเรื่องของความบังเอิญของภาษา3. มีจุดเริ่มต้นเหมือนกับนักทฤษฎีโครงสร้างนิยมที่ว่า การให้ความสำคัญกับภาษาและกระบวนการทำงานของภาษาในฐานะที่เป็นจุดเริ่มต้นในการทำความเข้าใจความคิด การสื่อสาร และปรากฏการณ์ทางวัฒนธรรม หรือการมองว่า "ภาษา คือ ระบบของสัญญาณที่สื่อความหมาย ความคิด และประสบการณ์"4. ความหมายเป็นสิ่งที่เกิดจากความแตกต่างระหว่างสัญญะใดๆ และไม่ใช่สิ่งที่แน่นอนตายตัว เช่น ไก่ ไม่อาจหมายถึงเพียงสัตว์ปีกชนิดหนึ่งที่ขยายพันธุ์โดยการออกไข่ แต่อาจหมายถึง ไก่หลง ไก่อ่อน ไก่แก่ ดังนั้นความหมายจึงเป็นผลผลิตที่เกิดขึ้นในกระบวนการสื่อสารหรือการตีความที่ดำเนินต่อไปในความคิด ความเข้าใจของผู้รับสาร5. การศึกษาวิเคราะห์ทางสังคมวัฒนธรรม เป็นผลของปฏิสัมพันธ์ที่ไม่มีวันสิ่นสุดของสัญญะ การเข้าถึงความหมายเกิดขึ้นภายใต้บริบททางสังคมวัฒนธรรม ที่ขึ้นอยู่กับคนรับสาร (ไม่ใช่ผู้ส่งสาร) 6. การทำความเข้าใจความหมายใดๆ มีนัยสำคัญอย่างยิ่งสำหรับการสื่อสาร การวิเคราะห์ และการตีความทางวัฒนธรรม โดยเนื้อหาของสารที่ได้รับการสื่อออกมาโดยตะรางแล้วผู้รับเข้าใจได้ เป็น "ความหมายที่ปรากฏ" (present) ส่วนความหมายอื่นที่แทรก แฝง ซ่อนหรือตีความหมายต่อได้อีก ถือเป็น "ความหมายที่ไม่ขาดหาย" (absent)

7. ความหมายที่เกิดจาการสื่อสารและกิจกรรมทางเศรษฐกิจ การเมือง และสังคม ประกอบด้วยลักษณะสำคัญ ได้แก่ 
-
 ความหลากหลายมิติอยู่ในตัวเอง
-
 
ความหมายไม่ได้จำกัดด้วยโครงสร้างที่ตายตัวแบบแนวคิด binary oppositions 
-
 ผู้ส่งสาร ไม่มีอำนาจสิทธิ์ขาดในการสร้างความหมาย แต่เป็นผู้รับสาร ซึ่งมีความสามารถ โอกาส รวมทั้งเงื่อนไขที่จะเข้าถึงและตีความที่ผู้ส่งสารไม่ได้คิดถึงหรือเตรียมไว้เลย
 - ผู้รับสารเป็นผู้มีบทบาทในการทำความจริงให้ปรากฏ และทำสิ่งผู้ส่งสารจงใจซ่อนให้ปรากฏ8. ทฤษฎีหลังโครงสร้างนิยมปฏิเสธว่า ปรากฎการณ์ทางสังคมหรือความคิดของแต่ละบุคคลมีชุดของความหมายที่แน่นอนชุดหนึ่งแฝงอยู่ แต่ความหมายและความคิดกลับเป็นสิ่งที่ขึ้นอยู่กับความสามารถของผู้รับสารหรือผู้วิเคราะห์ มุมมองเฉพาะและบริบทเฉพาะในการรับสาร ซึ่งเป็นเงื่อนไขสำคัญต่อการผลิตความหมายหรือการเข้าใจปรากฏการณ์ทางสังคมแต่ละครั้ง     

สร้างโดย: 
นางสาวกนกอร หุ่นทรัพย์
รูปภาพของ silavacharee

 

ตรวจแล้ว

มหาวิทยาลัยศรีปทุม ผู้ใหญ่ใจดี
 

 ช่วยด้วยครับ
นักเรียนที่สร้างบล็อก กรุณาอย่า
คัดลอกข้อมูลจากเว็บอื่นทั้งหมด
ควรนำมาจากหลายๆ เว็บ แล้ววิเคราะห์ สังเคราะห์ และเขียนขึ้นใหม่
หากคัดลอกทั้งหมด จะถูกดำเนินคดี
ตามกฎหมายจากเจ้าของลิขสิทธิ์
มีโทษทั้งจำคุกและปรับในอัตราสูง

ช่วยกันนะครับ 
ไทยกู๊ดวิวจะได้อยู่นานๆ 
ไม่ถูกปิดเสียก่อน

ขอขอบคุณในความร่วมมือครับ

อ่านรายละเอียด

ด่วน...... ขณะนี้
พระราชบัญญัติลิขสิทธิ์ (ฉบับที่ 2) พ.ศ. 2558 
มีผลบังคับใช้แล้ว 
ขอให้นักเรียนและคุณครูที่ใช้งาน
เว็บ thaigoodview ในการส่งการบ้าน
ระมัดระวังการละเมิดลิขสิทธิ์ด้วย
อ่านรายละเอียดที่นี่ครับ

 

สมาชิกที่ออนไลน์

ขณะนี้มี สมาชิก 0 คน และ ผู้เยี่ยมชม 545 คน กำลังออนไลน์