• user warning: Table 'cache_filter' is marked as crashed and should be repaired query: SELECT data, created, headers, expire, serialized FROM cache_filter WHERE cid = '3:af4c9c388c735c7ee69745a9f1826e81' in /home/tgv/htdocs/includes/cache.inc on line 27.
  • user warning: Table 'cache_filter' is marked as crashed and should be repaired query: UPDATE cache_filter SET data = '<!--paging_filter--><table width=\"100%\" cellPadding=\"5\" cellSpacing=\"0\" style=\"table-layout: fixed\">\n<tbody>\n<tr>\n<td height=\"100%\" width=\"85%\" vAlign=\"top\">\n<div class=\"post\">\n สหภาพยุโรป มีจุดเริ่มต้นจากการก่อตั้ง ประชาคมถ่านหินและเหล็กของยุโรป (ECSC : European Coal and Steel Community) ในปี 1951 หลังจากนั้นในปี 1957 ได้มีการจัดทำสนธิสัญญากรุงโรม (Treaty of Rome) และก่อตั้ง ประชาคมเศรษฐกิจยุโรป (EEC : European Economic Community) และ องค์การพลังงานปรมาณูยุโรป (EURATOM : European Atomic Energy Commission) ในช่วงเวลานั้นจึงเรียกชื่อกันว่าประชาคมเศรษฐกิจยุโรป (EEC) \n<p> ต่อมาได้มีการรวม 3 ประชาคมเข้าด้วยกันและได้มีกฎหมายยุโรปตลาดเดียว (Single European Act) ซึ่งมีผลบังคับใช้ในปี 1987 เพื่อให้ประชาคมเศรษฐกิจยุโรปเข้าสู่ขั้นตอนการเป็นตลาดร่วมและตลาดเดียวที่สมบูรณ์ในปี 1992 ดังนั้นในทางปฏิบัติจึงเปลี่ยนมาเรียกชื่อเป็น ประชาคมยุโรป (EC : European Communities) ตั้งแต่ปี 1987 </p>\n<p> เมื่อ สนธิสัญญามาสทริชท์ (Maastricht Treaty) มีผลบังคับใช้เมื่อวันที่ 1 พฤศจิกายน 1993 ซึ่งได้กำหนดเป้าหมายและขั้นตอนให้ประชาคมยุโรปพัฒนาไปสู่การเป็นสหภาพยุโรป จึงได้เปลี่ยนมาเรียกชื่อในทางปฏิบัติว่า สหภาพยุโรป (EU : European Union) ตั้งแต่ 1993 เป็นต้นมา มีสมาชิก 15 ประเทศ ได้แก่ สหราชอาณาจักร, ฝรั่งเศส, เยอรมนี, อิตาลี, สเปน, โปรตุเกส, เนเธอร์แลนด์, เบลเยี่ยม, ลักเซมเบิร์ก, เดนมาร์ก, สวีเดน, ไอร์แลนด์, กรีซ ,ฟินแลนด์ และออสเตรีย </p>\n<p> วันที่ 15 ธันวาคม ค.ศ.2002 ผู้นำประเทศยุโรปอีก 10 ชาติ ได้รับเชิญให้เข้าร่วมเป็นสมาชิกสหภาพยุโรปในปี 2004 หลังพยายามเจรจาเพื่อขอเข้าเป็นส่วนหนึ่งในองค์กรความร่วมมือทางเศรษฐกิจนี้นานเกือบห้าปี </p>\n<p> จนกระทั่งวันที่ 1 เมษายน ค.ศ.2004 ยุโรปทำการขยายสมาชิกภาพอียูเพิ่มเป็น 25 ประเทศ โดยรับสมาชิกใหม่ 10 ประเทศ ได้แก่ ไซปรัส, เอสโตเนีย, ลัตเวีย, ลิทัวเนีย, สาธารณรัฐเชค, ฮังการี, โปแลนด์, สโลวะเกีย, สโลวีเนีย และมอลตา เข้าร่วมกลุ่มอย่างเป็นทางการ </p>\n<p> สองเดือนต่อมา ในวันที่ 18 มิถุนายน ที่ประชุมผู้นำชาติสมาชิกสหภาพยุโรป (อียู) 25 ประเทศ มีมติรับรองธรรมนูญฉบับแรกในประวัติศาสตร์ หลังจากเตรียมการกันมานานราว 4 ปี ซึ่งการผ่านรัฐธรรมนูญดังกล่าวถือเป็นย่างก้าวที่สำคัญอย่างยิ่ง และทำให้เกิดการเปลี่ยนแปลงทางการเมืองครั้งใหญ่อีกครั้งในยุโรป แม้จะยังต้องมีรายละเอียดปลีกย่อยอีกมากที่ชาติสมาชิกต้องตกลงกัน </p>\n<p> ความเปลี่ยนแปลงสำคัญ ซึ่งระบุไว้ในธรรมนูญฉบับดังกล่าว ได้แก่ </p>\n<p>\n   ประธานสภาผู้นำยุโรป (President of European Council) เป็นตำแหน่งใหม่ ซึ่งตั้งขึ้นเพื่อแทนที่ประธานอียูในระบบหมุนเวียนทุกๆ 6 เดือนที่ใช้อยู่ในปัจจุบัน โดยผู้เข้ารับตำแหน่งจะมาจากการโหวตด้วยเสียงข้างมากที่คำนึงถึงคุณภาพของบรรดาผู้นำชาติสมาชิก มีวาระในการดำรงตำแหน่ง 2 ปีครึ่ง แต่ในกรณีที่ผู้ดำรงตำแหน่งมีพฤติกรรมบกพร่องต่อหน้าที่ สภาผู้นำอียูสามารถสั่งปลดได้ </p>\n<p>   สภารัฐมนตรี (Council of Ministers) กลุ่มชาติสมาชิก 3 ประเทศ จะทำหน้าที่เป็นประธานสภารัฐมนตรีในสาขาต่างๆ (อาทิ เกษตร มหาดไทย คมนาคม ฯลฯ) เป็นเวลา 18 เดือน ยกเว้น สภาการต่างประเทศ ซึ่งประธานจะเป็นรัฐมนตรีต่างประเทศอียู อันเป็นตำแหน่งที่ตั้งขึ้นมาใหม่จากธรรมนูญฉบับนี้ กับสภารัฐมนตรีคลังยูโรโซน ซึ่งจะมีเลือกประธานกันทุกๆ 2 ปีครึ่ง </p>\n<p>   รัฐมนตรีการต่างประเทศ (Minister for Foreign Affairs) เป็นตำแหน่งใหม่ ซึ่งได้รับการคัดเลือกจากชาติสมาชิกด้วยเสียงข้างมากที่คำนึงถึงคุณภาพ มีหน้าที่รับผิดชอบงานด้านนโยบายกลาโหมและความมั่นคง </p>\n<p>   สภาผู้นำยุโรป (European Council) เป็นที่ประชุมของบรรดาผู้นำชาติสมาชิกอียู มีวาระการประชุมปีละ 4 ครั้ง การตัดสินใจเรื่องใดต้องเป็นฉันทามติ ยกเว้นธรรมนูญอียูกำหนดไว้เป็นอย่างอื่น </p>\n<p>   คณะกรรมาธิการยุโรป (European commission) เป็นฝ่ายบริหารของอียู มีอำนาจในการเสนอร่างกฎหมาย และกำกับดูแลการบังคับใช้กฎหมาย ทั้งนี้ ธรรมนูญใหม่ระบุให้หน่วยงานนี้ ลดสมาชิกลงเหลือ 2 ใน 3 ของจำนวนชาติทั้งหมดของอียูในปี 2014 ยกเว้นสภาผู้นำยุโรปลงมติเอกฉันท์เปลี่ยนแปลงตัวเลขดังกล่าว </p>\n<p>   สภายุโรป (European parliament) ทำหน้าที่ด้านนิติบัญญัติร่วมกับสภารัฐมนตรี และตามธรรมนูญใหม่มีอำนาจในการกำกับดูแลเพิ่มขึ้นเป็นสองเท่า หรือราว 80 ปริมณฑลนโยบาย ขณะเดียวกันยังมีหน้าที่อนุมัติตำแหน่งประธานกรรมาธิการและทีมงาน ส่วนจำนวนสมาชิกถูกจำกัดไว้ที่ 750 คน โดยห้ามไม่ให้ชาติใดมีเก้าอี้เกิน 96 ที่นั่ง หรือน้อยกว่า 6 ที่นั่ง </p>\n<p>   การโหวตแบบเสียงข้างมากที่คำนึงถึงคุณภาพ (Qualified Majority Voting) การตัดสินใจทุกครั้งของอียู ยกเว้น เรื่องที่อ่อนไหวที่สุด จะกระทำผ่านระบบ &quot;เสียงข้างมากสองชั้น&quot; (Double majority) คือ ต้องได้รับเสียงสนับสนุนร้อยละ 55 ของชาติสมาชิก โดยประกอบด้วย ชาติสมาชิกจำนวนอย่างน้อย 15 ประเทศ และประเทศเหล่านี้ต้องมีประชากรรวมกันไม่ต่ำกว่า 65% ของพลเมืองทั้งหมดในอียู กระนั้น &quot;เสียงข้างน้อย&quot; ก็มีสิทธิยับยั้งการตัดสินใจใดๆ ได้ หากมีสมาชิกรวมกันอย่างน้อย 4 ชาติ ส่วนสมาชิกชาติใดที่ไม่ต้องการปฏิบัติตามระเบียบของคณะกรรมาธิการ และรัฐมนตรีต่างประเทศอียู สามารถกระทำได้ด้วยการรวบรวมชาติสมาชิกให้ได้ร้อยละ 72 และมีประชากรรวมกันอย่างน้อย 65%</p>\n<p>   มาตรการด้านความเป็นน้ำหนึ่งใจเดียวกัน สมาชิกอียูมีพันธะที่ต้องร่วมกันปกป้องชาติสมาชิกภายในกลุ่มที่ถูกโจมตี โดยมาตรการนี้ได้รับการอนุมัติจากบรรดาผู้นำอียูแล้ว ภายหลังเหตุก่อการร้ายในกรุงมาดริด ประเทศสเปน เมื่อเดือนมีนาคมที่ผ่านมา </p>\n<p>   นิติบัญญัติ กฎหมายอียูจะอยู่เหนือกฎหมายของแต่ละประเทศ โดยกฎระเบียบต่างๆ จำนวนมากในปัจจุบันของอียู จะถูกเปลี่ยนเป็นมาตรการทางกฎหมายต่างๆ รวม 6 ลำดับชั้น คือ กฎหมาย กฎหมายแม่บท ระเบียบ มติ คำแนะนำ และข้อคิดเห็นนิติบุคคล ธรรมนูญใหม่ระบุให้อียูเป็นนิติบุคคล มีอำนาจในการลงนามสนธิสัญญาระหว่างประเทศ\n </p></div>\n<div class=\"post\">\n <b><span style=\"font-size: 16pt; color: blue; font-family: \'Angsana New\'\" lang=\"TH\">ประชาคมเศรษฐกิจอาเซียน </span></b><b><span style=\"font-size: 16pt; color: blue; font-family: \'Angsana New\'\">(ASEAN Economic Community: AEC)<o:p></o:p></span></b><span style=\"font-size: 16pt; font-family: \'Angsana New\'\"><span> </span><span lang=\"TH\">แนวคิด ในการจัดตั้ง</span> AEC<span lang=\"TH\"> เริ่มขึ้นที่การประชุมสุดยอดอาเซียน </span>(ASEAN Summit) <span lang=\"TH\">ครั้งที่ 8 เมื่อเดือน<span style=\"letter-spacing: -0.3pt\">พฤศจิกายน 2545 ณ กรุงพนมเปญ ประเทศกัมพูชา โดยนายกรัฐมนตรีของสิงคโปร์ </span></span><span style=\"letter-spacing: -0.3pt\">(<span lang=\"TH\">นายโก๊ะ จ๊ก ตง</span>) <span lang=\"TH\">ได้เสนอให้อาเซียนกำหนดทิศทางการดำเนินงานที่แน่ชัดเพื่อนำไปสู่เป้าหมายที่ชัดเจน ได้แก่ การเป็นประชาคมเศรษฐกิจอาเซียน ซึ่งอาจเป็นไปในทำนองเดียวกับประชาคมเศรษฐกิจยุโรปในระยะเริ่มต้น โดยได้มอบหมายให้รัฐมนตรี</span></span><span lang=\"TH\">เศรษฐกิจอาเซียน </span>(ASEAN Economic Ministers: AEM)<span lang=\"TH\"> ศึกษารูปแบบและแนวทางของการพัฒนาการไปสู่การเป็น </span>AEC<o:p></o:p></span><span style=\"font-size: 16pt; font-family: \'Angsana New\'\"> <o:p></o:p></span><span style=\"font-size: 16pt; font-family: \'Angsana New\'\" lang=\"TH\">ในการนี้ </span><span style=\"font-size: 16pt; font-family: \'Angsana New\'\">AEM<span lang=\"TH\"> จึงได้ตั้งคณะทำงานระดับสูงว่าด้วยการรวมกลุ่มทางเศรษฐกิจของอาเซียน </span>(High Level Task Force on ASEAN Economic Integration: HLTF) <span lang=\"TH\">ประกอบด้วยปลัดกระทรวงการค้าของประเทศอาเซียน 10 ประเทศ ขึ้น เพื่อศึกษาและเสนอแนะรูปแบบและแนวทางของการดำเนินการเพื่อไปสู่การเป็น</span> AEC <span lang=\"TH\">โดยมีปลัดกระทรวงพาณิชย์ของไทย </span>(<span lang=\"TH\">นายการุณ กิตติสถาพร</span>) <span lang=\"TH\">เป็นประธาน </span>HLTF <span lang=\"TH\">และต่อมา </span>HLTF <span lang=\"TH\">ได้เสนอรายงานต่อที่ประชุม </span>AEM <span lang=\"TH\">ครั้งที่ 35 เมื่อเดือนกันยายน 2546 ณ กรุงพนมเปญ ประเทศกัมพูชา และที่ประชุมสุดยอดอาเซียนครั้งที่ 9 ณ เกาะบาหลี ประเทศอินโดนีเซียเมื่อเดือนตุลาคม </span>2546 <span lang=\"TH\">พิจารณาให้ความเห็นชอบรูปแบบของ </span>AEC <span lang=\"TH\">ตามข้อเสนอแนะของ </span>HLTF <span lang=\"TH\">และได้ร่วมลงนามในแถลงการณ์ที่เรียกว่า</span> Bali Concord II<span lang=\"TH\"> ซึ่งมีประกาศเจตนารมณ์ในการจัดตั้ง </span>AEC <span lang=\"TH\">ขึ้นภายในปี 2563 (ค.ศ. </span>2020<span lang=\"TH\">) เพื่อให้อาเซียนมีตลาดและฐานการผลิตร่วมกัน รวมทั้งจะมีการเคลื่อนย้ายสินค้า บริการ และแรงงานฝีมืออย่างเสรี และการเคลื่อนย้ายการลงทุนอย่างเสรีมากขึ้น และเห็นชอบเรื่องการเร่งรัดการรวมกลุ่มสินค้าและบริการที่สำคัญ 11 สาขา (</span>Priority Sectors) <span lang=\"TH\">ภายในปี </span>2553 (<span lang=\"TH\">ค.ศ. 2010) </span><o:p></o:p></span><span style=\"font-size: 16pt; font-family: \'Angsana New\'\"> <o:p></o:p></span><span style=\"font-size: 16pt; font-family: \'Angsana New\'\" lang=\"TH\">ในการดำเนินการเรื่อง </span><span style=\"font-size: 16pt; font-family: \'Angsana New\'\">Priority Sectors<span lang=\"TH\"> ได้กำหนดประเทศสมาชิกที่รับผิดชอบเป็นแกนกลาง (</span>Country Coordinators) <span lang=\"TH\">ในการประสานงานในแต่ละสาขา โดยไทยได้รับมอบหมายให้เป็นแกนกลางในสาขาการ<span style=\"letter-spacing: -0.3pt\">ท่องเที่ยวและการบิน ส่วนสาขาอื่นๆ ได้แก่ สินค้าเกษตรและประมง (พม่า) ผลิตภัณฑ์ยางและสิ่งทอ (มาเลเซีย)</span> ยานยนต์และผลิตภัณฑ์ไม้ (อินโดนีเซีย) อิเล็กทรอนิกส์ (ฟิลิปปินส์) เทคโนโลยีสารสนเทศ และผลิตภัณฑ์สุขภาพ (สิงคโปร์) นอกจากนี้ ยังกำหนดให้แต่ละประเทศสมาชิกอาเซียนแต่งตั้งหน่วยงานประสานระดับชาติ (</span>National Focal Point) <span lang=\"TH\">ในระดับรัฐมนตรี เพื่อเป็นผู้กำกับและประสานการดำเนินงานรวมกลุ่มทางเศรษฐกิจของอาเซียนในภาพรวม ซึ่งต่อมาเมื่อเดือนสิงหาคม 2546 ฯพณฯ นายกรัฐมนตรีได้มอบหมายให้รัฐมนตรีว่าการกระทรวงพาณิชย์ในฐานะ </span>AEM <span lang=\"TH\">ทำหน้าที่เป็น </span>National Focal Point<span lang=\"TH\"> โดยมีกระทรวงคมนาคมและกระทรวงการท่องเที่ยวและกีฬาเป็นหน่วยงานการดำเนินงานในสาขาการบินและการท่องเที่ยวตามลำดับ</span><o:p></o:p></span><span style=\"font-size: 16pt; font-family: \'Angsana New\'\"> <o:p></o:p></span><span style=\"font-size: 16pt; font-family: \'Angsana New\'\" lang=\"TH\">กระทรวงพาณิชย์โดยกรมเจรจาการค้าระหว่างประเทศ ได้ดำเนินการเพื่อเร่งรัดให้เกิดการรวมกลุ่มสินค้าและบริการ 11 สาขา เพื่อบรรลุการจัดตั้ง </span><span style=\"font-size: 16pt; font-family: \'Angsana New\'\">AEC <span lang=\"TH\">โดยแจ้งหน่วยงานภาครัฐและเอกชนที่เกี่ยวข้องให้แต่งตั้งผู้แทนที่จะทำหน้าที่เป็น </span>Focal Points <span lang=\"TH\">ของไทยในสาขาต่าง ๆ และได้ประชุมกับหน่วยงานดังกล่าวอย่างต่อเนื่องตลอดช่วงครึ่งแรกของปี 2547 เพื่อระดมความเห็น ข้อเสนอแนะ เพื่อกำหนดกลยุทธ์ของไทยในการเจรจาจัดทำ </span>Roadmaps <span lang=\"TH\">เพื่อเร่งรัดการรวมกลุ่มสินค้าและบริการ 11 สาขา นอกจากนี้ ยังได้หารือกับประเทศสมาชิกอาเซียนภายใต้กรอบการประชุมเจ้าหน้าที่อาวุโสด้านเศรษฐกิจอาเซียน </span>(SEOM) <span lang=\"TH\">ครั้งที่ 1-4/35 ในช่วงเดือนมกราคม-กรกฎาคม 2547 และการประชุมเจ้าหน้าที่อาวุโสด้านเศรษฐกิจอาเซียนสมัยพิเศษ </span>(Special SEOM)<span lang=\"TH\"> ในเดือนกรกฎาคม 2547 รวมทั้งการประชุม </span>AEM Retreat <span lang=\"TH\">ในเดือนเมษายน 2547 ในการจัดทำร่าง </span>Roadmaps <span lang=\"TH\">ให้แล้วเสร็จ เพื่อให้ทันนำเสนอให้ผู้นำอาเซียนลงนามกรอบความตกลงว่าด้วยการรวมกลุ่มสินค้าและบริการสำคัญ 11 สาขา </span>(ASEAN Framework Agreement for the Integration of Priority Sectors) <span lang=\"TH\">ในเดือนพฤศจิกายน 2547 ต่อไป</span><o:p></o:p></span><span style=\"font-size: 16pt; font-family: \'Angsana New\'\"> <span lang=\"TH\"><o:p></o:p></span></span> \n<p style=\"margin: 0cm 0cm 0pt; text-indent: 36pt; text-align: justify\" class=\"MsoNormal\">\n <span style=\"font-size: 16pt; font-family: \'Angsana New\'; letter-spacing: -0.3pt\" lang=\"TH\">เพื่อให้การจัดทำ </span><span style=\"font-size: 16pt; font-family: \'Angsana New\'; letter-spacing: -0.3pt\">Roadmaps <span lang=\"TH\">ดังกล่าวเกิดประโยชน์แก่ประเทศไทยมากที่สุด กระทรวงพาณิชย์โดยกรมเจรจาการค้าระหว่างประเทศ จึงกำหนดที่จะจัดการสัมมนาเรื่อง </span>“<span lang=\"TH\">ประชาคมเศรษฐกิจ</span></span><span style=\"font-size: 16pt; font-family: \'Angsana New\'\" lang=\"TH\">อาเซียน </span><span style=\"font-size: 16pt; font-family: \'Angsana New\'\">(ASEAN Economic Community: AEC)”<span lang=\"TH\"> ในวันจันทร์ที่ 9 สิงหาคม 2547 ณ โรงแรมอโนมา กรุงเทพฯ เพื่อระดมความเห็นและข้อเสนอแนะจากหน่วยงานที่เกี่ยวข้องทั้งภาครัฐและเอกชน เพื่อหาข้อสรุปเกี่ยวกับมาตรการและระยะเวลาการดำเนินกิจกรรมต่างๆ ภายใต้ </span>Roadmaps <span lang=\"TH\">รวมถึงประชาสัมพันธ์ให้ผู้มีส่วนเกี่ยวข้องรับทราบและเตรียมความพร้อมในการดำเนินการตามมาตรการการเร่งรัดให้เกิดการรวมกลุ่มสินค้าและบริการ 11 สาขา เพื่อนำไปสู่การจัดตั้ง</span>AEC <span lang=\"TH\">ต่อไป</span></span>\n </p>\n<p> <span style=\"font-size: 16pt; font-family: \'Angsana New\'\"><span lang=\"TH\"><span style=\"font-size: xx-small\"></span></span></span><span style=\"font-size: 16pt; font-family: \'Angsana New\'\"><span lang=\"TH\"></span></span></p>\n<p style=\"margin: 0cm 0cm 0pt\" class=\"MsoTitle\">\n <strong><span style=\"font-size: 22pt; font-family: \'Angsana New\'\" lang=\"TH\">การรวมกลุ่มทางเศรษฐกิจ</span><span style=\"font-size: 22pt; font-family: \'Angsana New\'\"><o:p></o:p></span></strong>\n </p>\n<p> <span style=\"font-size: 16pt; font-family: \'Angsana New\'\"><o:p> </o:p></span><span style=\"font-size: 16pt; font-family: \'Angsana New\'\" lang=\"TH\">การรวมกลุ่มทางเศรษฐกิจนั้นอาจแบ่งลักษณะในการรวมตัวตามความลึกซึ้องออกเป็น </span><span style=\"font-size: 16pt; font-family: \'Angsana New\'\">5 <span lang=\"TH\">ระดับด้วยกัน</span><o:p></o:p></span><span style=\"font-size: 16pt; font-family: \'Angsana New\'\"><span>                </span><span lang=\"TH\">ในระดับแรกเป็นการรวมตัวที่เรียกว่า เขตการค้าเสรี </span>( Free Trade Area) <span lang=\"TH\">เป็นลักษณะการรวมกลุ่มที่ประเทศสมาชิกเปิดโอกาสให้เคลื่อนย้ายสินค้าระหว่างกันได้โดยเสรี กล่าวคือ ไม่มีการเก็บภาษีศุลกากรและไม่มีโควต้า</span><o:p></o:p></span><span style=\"font-size: 16pt; font-family: \'Angsana New\'\"><span>                </span><span lang=\"TH\">ระดับที่สองเป็นการรวมกลุ่มที่ลึกซึ้งงกว่าระดับแรกเรียกว่า สหภาพศุลกากร </span>( Customs Union) <span lang=\"TH\">เป็นลักษณะการรวมกลุ่มที่นอกจากจะเป็นเขตการค้าเสรีแล้ว ประเทศสมาชิกยังประสบความสำเร็จในการประสานภาษีศุลกากรที่ใช้กับสินค้าที่มาจากประเทศที่สามให้อยู่ในระดับเดียวกัน</span><o:p></o:p></span><span style=\"font-size: 16pt; font-family: \'Angsana New\'\"><span>                </span><span lang=\"TH\">ระดับที่สามเป็นการรวมกลุ่มที่เราเรียกว่าตลาดร่วม </span>( Common Market) <span lang=\"TH\">กล่าวคือ สินค้าและปัจจัยการผลิตอื่นๆ อันได้แก่ เงินทุน แรงงาน และบริการ จะมีการเคลื่อนย้ายเสรีในประเทศสมาชิกลักษณะการรวมตัวเป็นตลาดร่วมนั้นจะมีความลึกซึ้งกว่าเขตการค้าเสรี ในประเด็นที่ว่า เขตการค้าเสรีนั้นจะเปิดโอกาสให้ปัจจัยการผลิตประเภทเดียวคือ สินค้าสมารถเคลื่อนย้ายโดยเสรี แต่ในตลาดร่วมนั้นปัจจัยการผลิตที่จะเปิดให้เคลื่อนย้ายโดยเสรีนั้น<span>  </span>มี </span>4 <span lang=\"TH\">ส่วนด้วยกันคือ นอกจากสินค้าแล้ว ยังมีเงินทุน แรงงาน และบริการ ก็มีการเคลื่อนย้ายโดยเสรีด้วย โดนเฉพาะในการปล่อยให้เกิดการเคลื่อนย้ายโดยเสรีในปัจจัยการผลิตทั้งสามประเภทหลังที่กล่าวนั้น ย่อมหมายถึงการปรับตัวบทกฏหมายเพื่อให้มีความเท่าเทียมกันหรือลักษณะเหมือนกัน สำหรับประเทศสมาชิก</span><o:p></o:p></span><span style=\"font-size: 16pt; font-family: \'Angsana New\'\"><span>                </span><span lang=\"TH\">ระดับที่สี่ เป็นการรวมตัวที่ลึกซึ้งกว่าเป็นตลาดร่วม เราเรียกว่า สหภาพทางเศรษฐกิจหรือทางการเงิน </span>( Economic Union <span lang=\"TH\">หรือ </span>Monetary Union ) <span lang=\"TH\">การรวมกลุ่มทางเศรษฐกิจในลักษณะนี้ ย่อมหมายถึงการรวมกลุ่มที่ลึกซึ้งกว่าเป็นตลาดร่วมเพราะนอเหนือจากจะเปิดให้ปัจจัยการผลิตสามารถเคลื่อนย้ายโดยเสรีแล้ว ยังหมายถึงความสำเร็จในการประสานนโยบายเศรษฐกิจ และการเงินระหว่างประเทศสมาชิก</span><o:p></o:p></span><span style=\"font-size: 16pt; font-family: \'Angsana New\'\"><span>                </span><span lang=\"TH\">การรวมกลุ่มระดับสุดท้ายเป็นระดับสูงสุด เราเรียกว่าสหภาพเศรษฐกิจสมบูรณ์แบบ</span> (Total Economic Union) <span lang=\"TH\">ในการรวมกลุ่มในลักษณะนี้นั้น ประเทศสมาชิกประสบความสำเร็จถึงขั้นที่ดำเนินนโยบายและการเงินในลักษณะที่เป็นหนึ่งเดียว ความแตกต่างระหว่างระดับที่สี่คือ สหภาพเศรษฐกิจและการเงินกับระดับที่ห้า คือ ระดับสมบูรณ์แบบ อยู่ตรงประเด็นที่ว่า ในระดับที่สี่นั้นประเทศสมาชิกจะประสบความสำเร็จเพียงการประสานนโยบายทางเศรษฐกิจ กล่าวคือ ยังมีความแตกต่างกันในระดับหนึ่ง แต่ในการรวมกลุ่มขั้นเศรษฐกิจสมบูรณ์แบบนั้นประเทศสมาชิกจะดำเนินนโยบายทางเศรษฐกิจและการเงินเป็นหนึ่งเดียว </span><o:p></o:p></span><span style=\"font-size: 16pt; font-family: \'Angsana New\'\"><span>                </span><span lang=\"TH\">การรวมกลุ่มทางเศรษฐกิจนั้นประเทศต่างๆจะต้องอยู่ในลักษณะใดลักษณะหนึ่งของ</span>5 <span lang=\"TH\">ประเด็นดังที่กล่าวถึงเราจะเห็นว่าในปัจจุบันนี้ การรวมกลุ่มทางเศรษฐกิจเป็นปรากฏการณ์ที่ขยายความเข้มข้นไปสู่ทุกทวีป เราจะเห็นได้ว่า</span><span>  </span><span lang=\"TH\">ในทวีปอเมริกานั้นก็มีการรวมกลุ่มในลักษณะที่เป็นเขตการค้าเสรีอเมริการเหนือ</span>(NAFTA) <span lang=\"TH\">ในยุโรปก็มีการรวมกลุ่มหลายแบบ ทั้งเขตการค้าเสรี</span>(EFTA) <span lang=\"TH\">มีการรวมกลุ่มในลักษณะที่เป็นตลาดร่วมและกำลังขยายตัวต่อไปในลักษณะที่เป็นตลาดร่วมและกำลังขยายตัวต่อไปในลักษณะที่เป็นสหภาพทางเศรษฐกิจภายใต้กรอบที่เรียกว่าสหภาพยุโรป</span> ( European Union) <span lang=\"TH\">และในภูมิภาคเอเชียก็มีการรวมกลุ่มที่เรียกว่า เขตการค้าเสรีอาเซียน </span>( AFTA)<o:p></o:p></span><span style=\"font-size: 16pt; font-family: \'Angsana New\'\"><span>                </span><span lang=\"TH\">การรวมกลุ่มทางเศรษฐกิจซึ่งความจริงนั้นก็มีกันมานาน ประชาคมยุโรป </span>( European Community ) <span lang=\"TH\">ก่อกำเนิดตั้งแต่ปี </span>1952 <span lang=\"TH\">ในรูปขององค์การประชาคมถ่านหินและเหล็กยุโรป </span>(ECSC) <span lang=\"TH\">โดยมีเป้าหมายในการรวมเป็นตลาดร่วมและหลังจากนั้นก็มีการขยายตัวมาครอบคลุมภาคเศรษฐกิจอื่นๆ นอกเหนือจากถ่านหินและเหล็ก มาเป็นภาคเศรษฐกิจโดยทั่วไปตลอดจนกระทั่งในด้านเกี่ยวกับพลังงานปรมณูจนเรียกกันว่าเป็นประชาคมยุโรป อย่างไรก็ตามการรวมกลุ่มทางเศรษฐกิจนั้นมีการขยายวง และมีอัตราเร่งที่สูงขึ้นในช่วง </span>3-4 <span lang=\"TH\">ปีที่ผ่านมา โดยเฉพาะอย่างยิ่งภายหลังจากการเปลี่ยนแปลงของระบบโลกโลกยุคหลังสงครามเย็นเป็นตัวกำหนดและเป็นตัวเร่งทำให้เกิดความจำเป็นต้องรวมกลุ่ม เพื่อขยายอำนาจต่อรองและสร้างศักยภาพในการแข่งขันในบริษัทดังกล่าว เราจะเห็นได้ว่า </span>NAFTA <span lang=\"TH\">และ </span>AFTA <span lang=\"TH\">ก็ได้ก่อกำเนิดขึ้นในช่วงเวลาใกล้เคียงกัน แรงผลักดันที่ทำให้เกิดการรวมกลุ่มทางเศรษฐกิจนั้น อาจกล่าวได้ว่าเกิดจากปัจจัยต่างๆ หลายประการด้วยกัน</span><o:p></o:p></span><span style=\"font-size: 16pt; font-family: \'Angsana New\'\"><span>                </span><span lang=\"TH\">ประการแรก การรวมกลุ่มในทางเศรษฐกิจนั้นเกิดขึ้นเพราะความจำเป็นที่จะสร้างศักยภาพในแง่ของการแข่งขันทางเศรษฐกิจตลอดจนกระทั่งสร้างอำนาจต่อรอง การรวมตัวของประชาคมยุโรปเพื่อที่จะให้เป็นยุโรปตลาดเดียวมีพื้นฐานของตรรกะในแง่ที่ต้องการเสริมสร้างศักยภาพเพื่อแข่งขันกับญี่ปุ่นและสหรัฐอเมริกา โดยเฉพาะอย่างยิ่ง การคำนึงถึงลักษณะของต้นทุนต่อหน่วยที่เราเรียกว่า </span>Economy of Scale <span lang=\"TH\">การพัฒนาเทคโนโลยี ซึ่งจำเป็นอย่างยิ่งที่ต้องอาศัยต้นทุน และขนาดตลาดที่ใหญ่โต ซึ่งจะเกิดขึ้นมาได้ต้องอาศัยความร่วมมือระหว่างประเทศ การพัฒนาสู่ยุโรปตลาดเดียวจึงมีตรรกะบนพื้นฐานของการสร้างขนาดให้ใหย๋โต และมีพลังพอที่จะกระตุ้นการพัฒนาทางเทคโนโลยี และความสามารถในการแข่งขันเพื่อรองรับการท้าทายที่มาจากประเทศสหรัฐฯ และญี่ปุ่น การก่อกำเนิดของ </span>AFTA <span lang=\"TH\">และ </span>NAFTA <span lang=\"TH\">ก็เช่นเดียวกัน เป็นผลมาจากความจำเป็นในการที่เสริมสร้างศักยภาพในการแข่งขันและสร้างอำนาจต่อรองในโลกของการขยายตัวในด้านการแข่งขันในบริบทของโลกานุวัตร</span><o:p></o:p></span><span style=\"font-size: 16pt; font-family: \'Angsana New\'\"><span>                </span><span lang=\"TH\">ประการที่สอง การรวมกลุ่มทางเศรษฐกิจนั้น อาจจะเป็นผลหรือแรงผลักดันที่ลึกๆในแง่ของการเมืองอยู่ การรวมกลุ่มในทางเศรษฐกิจอาจหมายถึงเป็นจุดเริ่มต้นเพื่อที่จะทำให้เกิดการกระตุ้นเพื่อสร้างความแน่นแฟ้นในการรวมตัวทางการเมืองในอนาคต ดังจะเห็นได้ว่าการก่อกำเนิดของประชาคมถ่านหินและเหล็กยุโรปนั้นมีวัตถุประสงค์ที่จะใช้เป็นกลไกกระตุ้นให้เกิดการรวมตัวที่ลึกซึ้งยิ่งขึ้น และถ่านหินและเหล็กยุโรปนั้นมีวัตถุประสงค์ที่จะใช้เป็นกลไกกระตุ้นให้เกิดการรวมตัวที่ลึกซึ้งยิ่งขึ้น และพยายามที่จะใช้เป็นกลไกกระตุ้นสู่การรวมตัวทางการเมืองตามที่ผู้ก่อตั้งต้องการ และตรรกะในตัวมันเองการรวมตัวทางเศรษฐกิจนั้นย่อมเสริมสร้างพลังอำนาจต่อรองทางการเมือง และอาจนำไปสู่การรวมตัวทางการเมืองเป็นกิจจะลักษณะอีกทางหนึ่งด้วย</span><o:p></o:p></span><span style=\"font-size: 16pt; font-family: \'Angsana New\'\"><span>                </span><span lang=\"TH\">ประการที่สาม การรวมกลุ่มในทางเศรษฐกิจนั้น ส่วนหนึ่งก็มีความสัมพันธ์กับเป้าหมายที่สัมพันธ์กันในแง่ของวัฒนธรรม การรวมกลุ่มในทางเศรษฐกิจโดยเฉพาะอย่างยิ่งประชาคมยุโรปก็มีต้นกำเนิดมาจากลักษณะของประเทศที่มีวัฒนธรรม ใกล้เคียงกัน อย่างไรก็ตาม ในโลกของการแข่งขันนั้น ความสำคัญของวัฒนธรรมที่เป็นแรงกระตุ้นของการรวมตัวนั้นยังมีน้อยไปกว่าลักษณะของเศรษฐกิจที่มีส่วนเสริมซึ่งกันและกัน </span>( Complementarity ) <span lang=\"TH\">ดังจะเห็นได้ว่า ในกรณีของเขตการค้าเสรีอาเซียน แม้ว่าวัฒนธรรมในประเทศ ตลอดจนประวัติศาสตร์ของกลุ่มประเทศนั้น ยังมีลักษณะแตกต่างกัน แต่ตัวเร่งที่ทำให้เกิดผลสำเร็จในการรวมตัวของอาเซียน ก็คือปัจจัยของลักษณะเศรษฐกิจที่เริ่มลักษณะเสริมกันและกันมากขึ้น และที่สำคัญก็คือ ความจำเป็นในการที่เสริมสร้างพลังต่อรองที่เกิดขึ้น ความสำเร็จของประชาคมยุโรปที่มีมาตั้งแต่ต้นนั้น ก็มาจากปัจจัยเดียวกันก็คือลักษณะเศรษฐกิจที่มีส่วนเสริมซึ่งกันและกัน การพัฒนาตลาดร่วมยุโรปนั้นเป็นผลมาจากอำนาจต่อรองที่สำคัญและให้ผลประโยชน์ต่างกัน ตอบแทนแก่ประเทศสมาชิก เช่น ในกรณีของอิตาลีก็จะได้ผลประโยชน์จากการเคลื่อนย้ายแรงงาน ในขณะที่ฝรั่งเศสนั้นก็จะได้ประโยชน์จากการขยายตลาดสินค้าเกษตร และขณะเดียวกันเยอรมันก็ได้ประโยชน์จากการขยายตลาดสินค้าอุตสาหกรรมเกษตร เพราะฉะนั้นลักษณะที่เสริมต่อกันทางเศรษฐกิจจึงเป็นปัจจัยตัวหนึ่งที่ทำให้เกิดการขยายตัวของการรวมกลุ่มทางเศรษฐกิจ</span><o:p></o:p></span><span style=\"font-size: 16pt; font-family: \'Angsana New\'\"><span>                </span><span lang=\"TH\">ในโลกปัจจุบันเราอาจจะเห็นได้ว่า การรวมกลุ่มทางเศรษฐกิจที่สำคัญนั้น มีอยู่ </span>3 <span lang=\"TH\">กลุ่ม ลักษณะการรวมตัวในอเมริกาเหนือ คือ เขตการค้าเสรีอเมริกาเหนือ อันประกอบด้วย สหรัฐอเมริกา แคนาดา และแม็กซิโก หรือการรวมตัวของ </span>6 <span lang=\"TH\">ประเทศสมาชิกอาเซียนที่เราเรียกว่า </span>AFTA<span>  </span><span lang=\"TH\">ก็ดีนั้นจะมีลักษณะที่คล้ายกันหรือเหมือนกัน เพราะว่ามีลักษณะกำหนดทิศทางสินค้าระหว่างประเทศสมาชิกนั้น ไม่มีโควต้าและไม่เสียภาษี ในกรณี </span>AFTA <span lang=\"TH\">นั้น มรเงื่อนระยะเวลาในการบรรลุ </span>15 <span lang=\"TH\">ปี โดยมีผลบังคับตั้งแต่วันที่ </span>1 <span lang=\"TH\">มกราคม </span>2536 <span lang=\"TH\">และเมืองครบกำหนดแล้วสินค้าทุกประเภท ยกเว้นสินค้าเกษตร จะมีภาษีเท่ากับศูนย์หรือไม่เกินร้อยละ </span>5 <span lang=\"TH\">ผลพวงจากการเปลี่ยนแปลงของการรวมกลุ่มโดยเฉพาะอย่างยิ่งในกรณีของภูมิภาคเอเชียอาคเนย์นั้น คงจะส่งผลให้โครงสร้างทางการค้าและการลงทุนของประเทศในอาเซียนมีการเปลี่ยนแปลงอย่างหลีกเลี่ยงไม่ได้ ลักษณะของการค้าที่มีการขยายตัวในการลงทุนข้ามชาติ และทำให้เกิดการเชื่อมต่อในด้านการเงิน ในขณะเดียวกันการเปลี่ยนแปลงที่สำคัญอีกประการหนึ่งคือ การย้ายฐานการผลิต ผลจากการรวมตัวทางเศรษฐกิจไม่ว่าจะเป็นในกรณีของนาฟต้า สหภาพยุโรป หรืออาฟต้า ก็ดี ย่อมส่งผลให้ธุรกิจนั้นจำเป็นต้องปรับหรือย้ายฐานการผลิต เพื่อรองรับการเปลี่ยนแปลงการค้าในบางครั้งอาจจะถูกทดแทนด้วยการร่วมทุน ทั้งนี้เพราะความจำเป็นในการที่จะต้องขยายหรือรักษาตลาดการส่งออกภายใต้สิทธิพิเศษทางภาษีที่มีการเปลี่ยนแปลง</span><o:p></o:p></span><span style=\"font-size: 16pt; font-family: \'Angsana New\'\"><span>                </span><span lang=\"TH\">การรมกลุ่มในทางเศรษฐกิจของภูมิภาคต่างๆนั้น ว่ากันไปแล้วจะมิใช่การรวมกลุ่มเพื่อทำสงครามการค้า แต่จะเป็นการรวมกลุ่มเพื่อสร้างอำนาจต่อรองในโลกที่มีการขยายตัวทางการค้าและการลงทุนที่ไร้พรมแดน ในกระบวนการรวมกลุ่มทั้งหมดนั้น เราจะเห็นว่าสหภาพยุโรปนั้น ลักษณะการรวมกลุ่มจะมีความซีบซ้อนและมีความลึกซ฿งแตกต่างกันหลายระดับในกลุ่มใประเทศสหภาพยุโรปซึ่งเป็นการรวมตัวที่ลึกซึ้งที่สุด ที่เรียกว่าเป็นการรวมตัวแบบสหภาพทางการเงินเศรษฐกิจ และการเมือง ซึ่งเรียกรวมกันว่า </span>“ <span lang=\"TH\">สหภาพยุโรป </span>“ <span lang=\"TH\">นั้นประกอบด้วย </span>12 <span lang=\"TH\">ประเทศ ได้แก่ ฝรั่งเศส เยอรมัน อิตาลี เนเธอร์แลนด์ เบลเยี่ยม ลักซัมเบอร์ก อังกฤษ เดนมาร์ก ไอร์แลนด์ </span>(Ireland) <span lang=\"TH\">กรีก สเปน และโปรตุเกส ซึ่งได้บรรลุตั้งแต่ปลายปี </span>1992 <span lang=\"TH\">ของการเป็นยุโรปตลาดเดียว หรือการเป็นตลาดร่วมยุโรปและกำลังมุ่งเป้าสู่การเป็นสหภาพทางการเงินทางเศรษฐกิจและการเมืองในอนาคตตามพื้นฐานสนธิสัญญามาสทริกส์ ซึ่งนั่นหมายความว่า ในอนาคตการรวมกลุ่มของ </span>12 <span lang=\"TH\">ประเทศนี้ ถ้าเป็นไปตามเป้าหมายที่คาดไว้จะเป็นการรวมกลุ่มที่ไม่ใช่จำกัดแค่มิติทางเศรษฐกิจเท่านั้น แต่ขยายไปสู่มิติทางการเมือง อันหมายถึงการประสานนโยบายทางด้านเกี่ยวกับกลาโหมและต่างประเทศ</span><o:p></o:p></span><span style=\"font-size: 16pt; font-family: \'Angsana New\'\"><span>                </span><span lang=\"TH\">ในยุโรปนั้น นอกจากสหภาพยุโรปนั้น ยังมีการรวมตัวของอีก </span>7 <span lang=\"TH\">ประเทศในลักษณะที่เป็นเขตการค้าเสรี ซึ่งเรียกว่าเขตการค้าเสรียุโรป </span>(EFTA ) <span lang=\"TH\">อันประกอบด้วย สวีเดน นอร์เวย์ ฟินแลนด์ ไอร์แลนด์ </span>(Ireland) <span lang=\"TH\">ออสเตรีย สวิสเซอร์แลนด์ และ ลิกเซนท์ไตล์ </span>(Liechentein) <span lang=\"TH\">ซึ่งมีการรวมตัวกันมาตั้งแต่ปี </span>1959 <span lang=\"TH\">โดยการริเริมของประเทศอังกฤษ อย่างไรก็ตามเมื่อประเทศอังกฤษได้ลาออกไปเพื่อเข้าเป็นสามชิกของสมาคมยุโรปในปี </span>1973 <span lang=\"TH\">สมาคมเขตการค้าเสรียุโรปที่เราเรียกว่า </span>EFTA <span lang=\"TH\">นี้จึงเหลืออยู่ </span>7 <span lang=\"TH\">ประเทศ ซึ่งเป็นการรวมตัวกันในลักษณะที่ให้สินค้าด้านอุตสาหกรรมเคลื่อนย้ายอย่างเสรีในประเทศสมาชิก อย่างไรก็ตาม </span>4 <span lang=\"TH\">ประเทศ สมาชิกของเขตการค้าเสรียุโรปอันประกอบด้วย ออสเตรีย นอร์เวย์ ฟินแลนด์ และสวีเดน นั้น ได้สมัครเข้าเป็นสมาชิกของสหภาพยุโรป และถ้าหากว่าผ่นกลไกในการหยั่งเสียงเรียบร้อยแล้วก็อาจจะเข้ามาเป็นสมาชิกปี </span>1995 <span lang=\"TH\">เป็นต้นไป</span><o:p></o:p></span><span style=\"font-size: 16pt; font-family: \'Angsana New\'\"><span>                </span><span lang=\"TH\">ระหว่างสหภาพยุโรปกับเขตการค้าเสรียุโรปนั้นก็ได้มีความสัมพันธ์กันมาก่อนในลักษณะที่เป็นเขตการค้าเสรี กล่าวคือ </span>12 <span lang=\"TH\">ประเทศของสหภาพยุโรป และ </span>7 <span lang=\"TH\">ประเทศของเขตการค้าเสรียุโรป ได้ผูกพันที่จะให้สินค้าระหว่าง </span>19 <span lang=\"TH\">ประเทศสามารถเคลื่อนย้ายได้โดยเสรี สินค้าที่ว่านั้นจะจำกัดเฉพาะสินค้าอุตสาหกรรม อย่างไรก็ตาม ตั้งแต่วันที่ </span>12 <span lang=\"TH\">มกราคม </span>1994 <span lang=\"TH\">ประเทศสหภาพยุโรปและเขตการค้าเสรียุโรป ได้มีการตกลงทำสนธิสัญญาซึ่งเรียกว่า </span>“ <span lang=\"TH\">เขตเศรษฐกิจยุโรป</span>” (European Economic Area) <span lang=\"TH\">ซึ่งเท่ากับเป็นการขยายการรวมตัวลึกซึ้งยิ่งกว่าเขตการค้าเสรี โดยครอบคลุมเกี่ยวกับด้านเงินทุน แรงงาน และ บริการเคลื่อนย้ายโดยเสรีใน </span>18 <span lang=\"TH\">ประเทศ </span>( <span lang=\"TH\">เนื่องจากว่าสวิสเซอร์แลนด์ได้ถอนตัวออก</span>) <span lang=\"TH\">หรือกล่าวอีกนัยหนึ่งก็คือ </span>18 <span lang=\"TH\">ประเทศนี้ได้มีการก่อตั้งเพื่อขยายเป็นกึ่งยุโรปตลาดเดียวนั่นเอง นอกเหนือจากนั้น ในความสัมพันธ์ระหว่างสหภาพยุโรปกับประเทศอื่นๆ ในยุโรป ก็มีความสัมพันธ์แบบกึ่งการค้าเสรีกลายๆ กล่าวคือ สหภาพยุโรปได้มีการทำข้อตกลงทวิภาคี กับประเทศที่เคยเป็นอดีตยุโรปตะวันออก เช่น โปรแลนด์ ฮังการี สาธารณรัฐเชคโก ฯลฯ ในลักษณะข้อตกลงยุโรป</span>(European Agreement) <span lang=\"TH\">เนื้อหาของข้อตกลงดังกล่าวก็คือ เปิดโอกาสให้สินค้ายุโรปตะวันออกสามารถเคลื่อนย้ายเข้ามาประเทศสหภาพยุโรปได้โดยเสรี แต่ไม่ได้ครอบคลุมสินค้าทุกประเภท เพียงแต่ครอบคลุมในระดับหนึ่ง นอกจากนี้สหภาพยุโรปยังให้ความช่วยเหลือทางด้านการเงิน ทั้งนี้ก็เพื่อที่จะเปิดโอกาสให้ประเทศเหล่านี้สามารถปรับปรุงตัว และสร้างเงื่อนไขเพียงพอที่จะเข้ามาเป็นสมาชิกสหภาพยุโรปในอนาคต ในขณะเดียวกันสหภาพยุโรปก็ได้มีข้อตกลงสองฝ่ายกับกลุ่มประเทศริมทะเลเมดิเตอร์เรเนียน อันประกอบด้วย ตุรกี มอรอคโค อัลจีเรีย ตูนีเซียฯลฯ ในรูปแบบของข้อตกลงที่เรียกว่า </span>Association Agreement <span lang=\"TH\">ซึ่งเนื้อหาคล้ายข้อตกลงยุโรป คือ เปิดโอกาสให้สวินค้าบางประเภทที่มาจากประเทศแถบทะเลเมอดิเตอร์เรเนียนเข้าสู่สหภาพยุโรปได้โดยไม่ต้องเสียภาษี หรือเสียภาษีต่ำ เพราะฉะนั้นว่ากันไปแล้ว ในภูมิภาคยุโรปนั้น การรวมตัวทางเศรษฐกิจนั้นมีความซับซ้อน มีความลึกซึ้งหลายรูปแบบและมีมิติที่แตกต่างกันตามนัยยะของความสัมพันธ์</span><o:p></o:p></span><span style=\"font-size: 16pt; font-family: \'Angsana New\'\"><o:p> </o:p></span><span style=\"font-size: 16pt; font-family: \'Angsana New\'\"><span>                </span><span lang=\"TH\">อาจสรุปได้ว่า การรวมตัวทางเศรษฐกิจในปัจจุบันนี้ ได้เกิดขึ้นทุกภูมิภาคและมีการขยายวงอย่างกว้าง อันเป็นผลมาจากแรงกระตุ้นจากโลกของการขยายตัวของการแข่งขันบนพื้นฐานของโลกที่ไร้พรมแดน บนพื้นฐานของการแข่งขันของธุรกิจในบริบทของโลกที่ไม่มีความตึงเครียดทางการเมืองเป็นตัวกำหนด เป็นโลกของการแข่งขันและการร่วมมือในทางเศรษฐกิจและทางธุรกิจ การรวมกลุ่มในทางเศรษฐกิจจึงเป็นเสมือนสัญลักษณ์ของโลกในยุคใหม่ที่เราเรียกว่า ยุคหลังสงครามเย็น เป็นโลกยุคใหม่ที่กำลังจัดลำดับระเบียบโลก การรวมกลุ่มทางเศรษฐกิจจึงเป็นองค์ประกอบหนึ่งของสิ่งที่เราเรียกว่า ระเบียบโลกใหม่ </span>( <st1:place w:st=\"on\">New World</st1:place> Order)<o:p></o:p></span>\n </p></div>\n</td>\n</tr>\n<tr>\n<td width=\"85%\" vAlign=\"bottom\" class=\"smalltext\"></td>\n</tr>\n</tbody>\n</table>\n', created = 1720189876, expire = 1720276276, headers = '', serialized = 0 WHERE cid = '3:af4c9c388c735c7ee69745a9f1826e81' in /home/tgv/htdocs/includes/cache.inc on line 112.
  • user warning: Table 'cache_filter' is marked as crashed and should be repaired query: SELECT data, created, headers, expire, serialized FROM cache_filter WHERE cid = '3:bccb896f013e2522ef22a6b43bbf3478' in /home/tgv/htdocs/includes/cache.inc on line 27.
  • user warning: Table 'cache_filter' is marked as crashed and should be repaired query: UPDATE cache_filter SET data = '<!--paging_filter--><p>ขณะนี้มีปัญหาว่าส่วนใหญ่ยังไม่เห็นภาพว่า AEC คืออะไร แต่ถ้าเปรียบเทียบกับ EEC ก็อาจเห็นภาพชัดขึ้น โดยเฉพาะประเด็นที่ว่าจะได้ประโยชน์เมื่อมีผลประโยชน์ตอบแทนกันในระหว่างสมาชิก</p>\n', created = 1720189876, expire = 1720276276, headers = '', serialized = 0 WHERE cid = '3:bccb896f013e2522ef22a6b43bbf3478' in /home/tgv/htdocs/includes/cache.inc on line 112.
  • user warning: Table 'cache_filter' is marked as crashed and should be repaired query: SELECT data, created, headers, expire, serialized FROM cache_filter WHERE cid = '3:29228d4405c8c161d75a59e2483e4346' in /home/tgv/htdocs/includes/cache.inc on line 27.
  • user warning: Table 'cache_filter' is marked as crashed and should be repaired query: UPDATE cache_filter SET data = '<!--paging_filter--><p>ตรวจแล้ว ไม่เห็นเกี่ยวข้องกับประชาคมเศรษฐกิจยุโรปเลย ไปค้นคว้ามาใหม่</p>\n', created = 1720189876, expire = 1720276276, headers = '', serialized = 0 WHERE cid = '3:29228d4405c8c161d75a59e2483e4346' in /home/tgv/htdocs/includes/cache.inc on line 112.

ประชาคมเศรษฐกิจยุโรป

สหภาพยุโรป มีจุดเริ่มต้นจากการก่อตั้ง ประชาคมถ่านหินและเหล็กของยุโรป (ECSC : European Coal and Steel Community) ในปี 1951 หลังจากนั้นในปี 1957 ได้มีการจัดทำสนธิสัญญากรุงโรม (Treaty of Rome) และก่อตั้ง ประชาคมเศรษฐกิจยุโรป (EEC : European Economic Community) และ องค์การพลังงานปรมาณูยุโรป (EURATOM : European Atomic Energy Commission) ในช่วงเวลานั้นจึงเรียกชื่อกันว่าประชาคมเศรษฐกิจยุโรป (EEC)

ต่อมาได้มีการรวม 3 ประชาคมเข้าด้วยกันและได้มีกฎหมายยุโรปตลาดเดียว (Single European Act) ซึ่งมีผลบังคับใช้ในปี 1987 เพื่อให้ประชาคมเศรษฐกิจยุโรปเข้าสู่ขั้นตอนการเป็นตลาดร่วมและตลาดเดียวที่สมบูรณ์ในปี 1992 ดังนั้นในทางปฏิบัติจึงเปลี่ยนมาเรียกชื่อเป็น ประชาคมยุโรป (EC : European Communities) ตั้งแต่ปี 1987

เมื่อ สนธิสัญญามาสทริชท์ (Maastricht Treaty) มีผลบังคับใช้เมื่อวันที่ 1 พฤศจิกายน 1993 ซึ่งได้กำหนดเป้าหมายและขั้นตอนให้ประชาคมยุโรปพัฒนาไปสู่การเป็นสหภาพยุโรป จึงได้เปลี่ยนมาเรียกชื่อในทางปฏิบัติว่า สหภาพยุโรป (EU : European Union) ตั้งแต่ 1993 เป็นต้นมา มีสมาชิก 15 ประเทศ ได้แก่ สหราชอาณาจักร, ฝรั่งเศส, เยอรมนี, อิตาลี, สเปน, โปรตุเกส, เนเธอร์แลนด์, เบลเยี่ยม, ลักเซมเบิร์ก, เดนมาร์ก, สวีเดน, ไอร์แลนด์, กรีซ ,ฟินแลนด์ และออสเตรีย

วันที่ 15 ธันวาคม ค.ศ.2002 ผู้นำประเทศยุโรปอีก 10 ชาติ ได้รับเชิญให้เข้าร่วมเป็นสมาชิกสหภาพยุโรปในปี 2004 หลังพยายามเจรจาเพื่อขอเข้าเป็นส่วนหนึ่งในองค์กรความร่วมมือทางเศรษฐกิจนี้นานเกือบห้าปี

จนกระทั่งวันที่ 1 เมษายน ค.ศ.2004 ยุโรปทำการขยายสมาชิกภาพอียูเพิ่มเป็น 25 ประเทศ โดยรับสมาชิกใหม่ 10 ประเทศ ได้แก่ ไซปรัส, เอสโตเนีย, ลัตเวีย, ลิทัวเนีย, สาธารณรัฐเชค, ฮังการี, โปแลนด์, สโลวะเกีย, สโลวีเนีย และมอลตา เข้าร่วมกลุ่มอย่างเป็นทางการ

สองเดือนต่อมา ในวันที่ 18 มิถุนายน ที่ประชุมผู้นำชาติสมาชิกสหภาพยุโรป (อียู) 25 ประเทศ มีมติรับรองธรรมนูญฉบับแรกในประวัติศาสตร์ หลังจากเตรียมการกันมานานราว 4 ปี ซึ่งการผ่านรัฐธรรมนูญดังกล่าวถือเป็นย่างก้าวที่สำคัญอย่างยิ่ง และทำให้เกิดการเปลี่ยนแปลงทางการเมืองครั้งใหญ่อีกครั้งในยุโรป แม้จะยังต้องมีรายละเอียดปลีกย่อยอีกมากที่ชาติสมาชิกต้องตกลงกัน

ความเปลี่ยนแปลงสำคัญ ซึ่งระบุไว้ในธรรมนูญฉบับดังกล่าว ได้แก่

  ประธานสภาผู้นำยุโรป (President of European Council) เป็นตำแหน่งใหม่ ซึ่งตั้งขึ้นเพื่อแทนที่ประธานอียูในระบบหมุนเวียนทุกๆ 6 เดือนที่ใช้อยู่ในปัจจุบัน โดยผู้เข้ารับตำแหน่งจะมาจากการโหวตด้วยเสียงข้างมากที่คำนึงถึงคุณภาพของบรรดาผู้นำชาติสมาชิก มีวาระในการดำรงตำแหน่ง 2 ปีครึ่ง แต่ในกรณีที่ผู้ดำรงตำแหน่งมีพฤติกรรมบกพร่องต่อหน้าที่ สภาผู้นำอียูสามารถสั่งปลดได้

  สภารัฐมนตรี (Council of Ministers) กลุ่มชาติสมาชิก 3 ประเทศ จะทำหน้าที่เป็นประธานสภารัฐมนตรีในสาขาต่างๆ (อาทิ เกษตร มหาดไทย คมนาคม ฯลฯ) เป็นเวลา 18 เดือน ยกเว้น สภาการต่างประเทศ ซึ่งประธานจะเป็นรัฐมนตรีต่างประเทศอียู อันเป็นตำแหน่งที่ตั้งขึ้นมาใหม่จากธรรมนูญฉบับนี้ กับสภารัฐมนตรีคลังยูโรโซน ซึ่งจะมีเลือกประธานกันทุกๆ 2 ปีครึ่ง

  รัฐมนตรีการต่างประเทศ (Minister for Foreign Affairs) เป็นตำแหน่งใหม่ ซึ่งได้รับการคัดเลือกจากชาติสมาชิกด้วยเสียงข้างมากที่คำนึงถึงคุณภาพ มีหน้าที่รับผิดชอบงานด้านนโยบายกลาโหมและความมั่นคง

  สภาผู้นำยุโรป (European Council) เป็นที่ประชุมของบรรดาผู้นำชาติสมาชิกอียู มีวาระการประชุมปีละ 4 ครั้ง การตัดสินใจเรื่องใดต้องเป็นฉันทามติ ยกเว้นธรรมนูญอียูกำหนดไว้เป็นอย่างอื่น

  คณะกรรมาธิการยุโรป (European commission) เป็นฝ่ายบริหารของอียู มีอำนาจในการเสนอร่างกฎหมาย และกำกับดูแลการบังคับใช้กฎหมาย ทั้งนี้ ธรรมนูญใหม่ระบุให้หน่วยงานนี้ ลดสมาชิกลงเหลือ 2 ใน 3 ของจำนวนชาติทั้งหมดของอียูในปี 2014 ยกเว้นสภาผู้นำยุโรปลงมติเอกฉันท์เปลี่ยนแปลงตัวเลขดังกล่าว

  สภายุโรป (European parliament) ทำหน้าที่ด้านนิติบัญญัติร่วมกับสภารัฐมนตรี และตามธรรมนูญใหม่มีอำนาจในการกำกับดูแลเพิ่มขึ้นเป็นสองเท่า หรือราว 80 ปริมณฑลนโยบาย ขณะเดียวกันยังมีหน้าที่อนุมัติตำแหน่งประธานกรรมาธิการและทีมงาน ส่วนจำนวนสมาชิกถูกจำกัดไว้ที่ 750 คน โดยห้ามไม่ให้ชาติใดมีเก้าอี้เกิน 96 ที่นั่ง หรือน้อยกว่า 6 ที่นั่ง

  การโหวตแบบเสียงข้างมากที่คำนึงถึงคุณภาพ (Qualified Majority Voting) การตัดสินใจทุกครั้งของอียู ยกเว้น เรื่องที่อ่อนไหวที่สุด จะกระทำผ่านระบบ "เสียงข้างมากสองชั้น" (Double majority) คือ ต้องได้รับเสียงสนับสนุนร้อยละ 55 ของชาติสมาชิก โดยประกอบด้วย ชาติสมาชิกจำนวนอย่างน้อย 15 ประเทศ และประเทศเหล่านี้ต้องมีประชากรรวมกันไม่ต่ำกว่า 65% ของพลเมืองทั้งหมดในอียู กระนั้น "เสียงข้างน้อย" ก็มีสิทธิยับยั้งการตัดสินใจใดๆ ได้ หากมีสมาชิกรวมกันอย่างน้อย 4 ชาติ ส่วนสมาชิกชาติใดที่ไม่ต้องการปฏิบัติตามระเบียบของคณะกรรมาธิการ และรัฐมนตรีต่างประเทศอียู สามารถกระทำได้ด้วยการรวบรวมชาติสมาชิกให้ได้ร้อยละ 72 และมีประชากรรวมกันอย่างน้อย 65%

  มาตรการด้านความเป็นน้ำหนึ่งใจเดียวกัน สมาชิกอียูมีพันธะที่ต้องร่วมกันปกป้องชาติสมาชิกภายในกลุ่มที่ถูกโจมตี โดยมาตรการนี้ได้รับการอนุมัติจากบรรดาผู้นำอียูแล้ว ภายหลังเหตุก่อการร้ายในกรุงมาดริด ประเทศสเปน เมื่อเดือนมีนาคมที่ผ่านมา

  นิติบัญญัติ กฎหมายอียูจะอยู่เหนือกฎหมายของแต่ละประเทศ โดยกฎระเบียบต่างๆ จำนวนมากในปัจจุบันของอียู จะถูกเปลี่ยนเป็นมาตรการทางกฎหมายต่างๆ รวม 6 ลำดับชั้น คือ กฎหมาย กฎหมายแม่บท ระเบียบ มติ คำแนะนำ และข้อคิดเห็นนิติบุคคล ธรรมนูญใหม่ระบุให้อียูเป็นนิติบุคคล มีอำนาจในการลงนามสนธิสัญญาระหว่างประเทศ

ประชาคมเศรษฐกิจอาเซียน (ASEAN Economic Community: AEC) แนวคิด ในการจัดตั้ง AEC เริ่มขึ้นที่การประชุมสุดยอดอาเซียน (ASEAN Summit) ครั้งที่ 8 เมื่อเดือนพฤศจิกายน 2545 ณ กรุงพนมเปญ ประเทศกัมพูชา โดยนายกรัฐมนตรีของสิงคโปร์ (นายโก๊ะ จ๊ก ตง) ได้เสนอให้อาเซียนกำหนดทิศทางการดำเนินงานที่แน่ชัดเพื่อนำไปสู่เป้าหมายที่ชัดเจน ได้แก่ การเป็นประชาคมเศรษฐกิจอาเซียน ซึ่งอาจเป็นไปในทำนองเดียวกับประชาคมเศรษฐกิจยุโรปในระยะเริ่มต้น โดยได้มอบหมายให้รัฐมนตรีเศรษฐกิจอาเซียน (ASEAN Economic Ministers: AEM) ศึกษารูปแบบและแนวทางของการพัฒนาการไปสู่การเป็น AEC ในการนี้ AEM จึงได้ตั้งคณะทำงานระดับสูงว่าด้วยการรวมกลุ่มทางเศรษฐกิจของอาเซียน (High Level Task Force on ASEAN Economic Integration: HLTF) ประกอบด้วยปลัดกระทรวงการค้าของประเทศอาเซียน 10 ประเทศ ขึ้น เพื่อศึกษาและเสนอแนะรูปแบบและแนวทางของการดำเนินการเพื่อไปสู่การเป็น AEC โดยมีปลัดกระทรวงพาณิชย์ของไทย (นายการุณ กิตติสถาพร) เป็นประธาน HLTF และต่อมา HLTF ได้เสนอรายงานต่อที่ประชุม AEM ครั้งที่ 35 เมื่อเดือนกันยายน 2546 ณ กรุงพนมเปญ ประเทศกัมพูชา และที่ประชุมสุดยอดอาเซียนครั้งที่ 9 ณ เกาะบาหลี ประเทศอินโดนีเซียเมื่อเดือนตุลาคม 2546 พิจารณาให้ความเห็นชอบรูปแบบของ AEC ตามข้อเสนอแนะของ HLTF และได้ร่วมลงนามในแถลงการณ์ที่เรียกว่า Bali Concord II ซึ่งมีประกาศเจตนารมณ์ในการจัดตั้ง AEC ขึ้นภายในปี 2563 (ค.ศ. 2020) เพื่อให้อาเซียนมีตลาดและฐานการผลิตร่วมกัน รวมทั้งจะมีการเคลื่อนย้ายสินค้า บริการ และแรงงานฝีมืออย่างเสรี และการเคลื่อนย้ายการลงทุนอย่างเสรีมากขึ้น และเห็นชอบเรื่องการเร่งรัดการรวมกลุ่มสินค้าและบริการที่สำคัญ 11 สาขา (Priority Sectors) ภายในปี 2553 (ค.ศ. 2010)  ในการดำเนินการเรื่อง Priority Sectors ได้กำหนดประเทศสมาชิกที่รับผิดชอบเป็นแกนกลาง (Country Coordinators) ในการประสานงานในแต่ละสาขา โดยไทยได้รับมอบหมายให้เป็นแกนกลางในสาขาการท่องเที่ยวและการบิน ส่วนสาขาอื่นๆ ได้แก่ สินค้าเกษตรและประมง (พม่า) ผลิตภัณฑ์ยางและสิ่งทอ (มาเลเซีย) ยานยนต์และผลิตภัณฑ์ไม้ (อินโดนีเซีย) อิเล็กทรอนิกส์ (ฟิลิปปินส์) เทคโนโลยีสารสนเทศ และผลิตภัณฑ์สุขภาพ (สิงคโปร์) นอกจากนี้ ยังกำหนดให้แต่ละประเทศสมาชิกอาเซียนแต่งตั้งหน่วยงานประสานระดับชาติ (National Focal Point) ในระดับรัฐมนตรี เพื่อเป็นผู้กำกับและประสานการดำเนินงานรวมกลุ่มทางเศรษฐกิจของอาเซียนในภาพรวม ซึ่งต่อมาเมื่อเดือนสิงหาคม 2546 ฯพณฯ นายกรัฐมนตรีได้มอบหมายให้รัฐมนตรีว่าการกระทรวงพาณิชย์ในฐานะ AEM ทำหน้าที่เป็น National Focal Point โดยมีกระทรวงคมนาคมและกระทรวงการท่องเที่ยวและกีฬาเป็นหน่วยงานการดำเนินงานในสาขาการบินและการท่องเที่ยวตามลำดับ กระทรวงพาณิชย์โดยกรมเจรจาการค้าระหว่างประเทศ ได้ดำเนินการเพื่อเร่งรัดให้เกิดการรวมกลุ่มสินค้าและบริการ 11 สาขา เพื่อบรรลุการจัดตั้ง AEC โดยแจ้งหน่วยงานภาครัฐและเอกชนที่เกี่ยวข้องให้แต่งตั้งผู้แทนที่จะทำหน้าที่เป็น Focal Points ของไทยในสาขาต่าง ๆ และได้ประชุมกับหน่วยงานดังกล่าวอย่างต่อเนื่องตลอดช่วงครึ่งแรกของปี 2547 เพื่อระดมความเห็น ข้อเสนอแนะ เพื่อกำหนดกลยุทธ์ของไทยในการเจรจาจัดทำ Roadmaps เพื่อเร่งรัดการรวมกลุ่มสินค้าและบริการ 11 สาขา นอกจากนี้ ยังได้หารือกับประเทศสมาชิกอาเซียนภายใต้กรอบการประชุมเจ้าหน้าที่อาวุโสด้านเศรษฐกิจอาเซียน (SEOM) ครั้งที่ 1-4/35 ในช่วงเดือนมกราคม-กรกฎาคม 2547 และการประชุมเจ้าหน้าที่อาวุโสด้านเศรษฐกิจอาเซียนสมัยพิเศษ (Special SEOM) ในเดือนกรกฎาคม 2547 รวมทั้งการประชุม AEM Retreat ในเดือนเมษายน 2547 ในการจัดทำร่าง Roadmaps ให้แล้วเสร็จ เพื่อให้ทันนำเสนอให้ผู้นำอาเซียนลงนามกรอบความตกลงว่าด้วยการรวมกลุ่มสินค้าและบริการสำคัญ 11 สาขา (ASEAN Framework Agreement for the Integration of Priority Sectors) ในเดือนพฤศจิกายน 2547 ต่อไป 

เพื่อให้การจัดทำ Roadmaps ดังกล่าวเกิดประโยชน์แก่ประเทศไทยมากที่สุด กระทรวงพาณิชย์โดยกรมเจรจาการค้าระหว่างประเทศ จึงกำหนดที่จะจัดการสัมมนาเรื่อง ประชาคมเศรษฐกิจอาเซียน (ASEAN Economic Community: AEC)” ในวันจันทร์ที่ 9 สิงหาคม 2547 ณ โรงแรมอโนมา กรุงเทพฯ เพื่อระดมความเห็นและข้อเสนอแนะจากหน่วยงานที่เกี่ยวข้องทั้งภาครัฐและเอกชน เพื่อหาข้อสรุปเกี่ยวกับมาตรการและระยะเวลาการดำเนินกิจกรรมต่างๆ ภายใต้ Roadmaps รวมถึงประชาสัมพันธ์ให้ผู้มีส่วนเกี่ยวข้องรับทราบและเตรียมความพร้อมในการดำเนินการตามมาตรการการเร่งรัดให้เกิดการรวมกลุ่มสินค้าและบริการ 11 สาขา เพื่อนำไปสู่การจัดตั้งAEC ต่อไป

การรวมกลุ่มทางเศรษฐกิจ

 การรวมกลุ่มทางเศรษฐกิจนั้นอาจแบ่งลักษณะในการรวมตัวตามความลึกซึ้องออกเป็น 5 ระดับด้วยกัน                ในระดับแรกเป็นการรวมตัวที่เรียกว่า เขตการค้าเสรี ( Free Trade Area) เป็นลักษณะการรวมกลุ่มที่ประเทศสมาชิกเปิดโอกาสให้เคลื่อนย้ายสินค้าระหว่างกันได้โดยเสรี กล่าวคือ ไม่มีการเก็บภาษีศุลกากรและไม่มีโควต้า                ระดับที่สองเป็นการรวมกลุ่มที่ลึกซึ้งงกว่าระดับแรกเรียกว่า สหภาพศุลกากร ( Customs Union) เป็นลักษณะการรวมกลุ่มที่นอกจากจะเป็นเขตการค้าเสรีแล้ว ประเทศสมาชิกยังประสบความสำเร็จในการประสานภาษีศุลกากรที่ใช้กับสินค้าที่มาจากประเทศที่สามให้อยู่ในระดับเดียวกัน                ระดับที่สามเป็นการรวมกลุ่มที่เราเรียกว่าตลาดร่วม ( Common Market) กล่าวคือ สินค้าและปัจจัยการผลิตอื่นๆ อันได้แก่ เงินทุน แรงงาน และบริการ จะมีการเคลื่อนย้ายเสรีในประเทศสมาชิกลักษณะการรวมตัวเป็นตลาดร่วมนั้นจะมีความลึกซึ้งกว่าเขตการค้าเสรี ในประเด็นที่ว่า เขตการค้าเสรีนั้นจะเปิดโอกาสให้ปัจจัยการผลิตประเภทเดียวคือ สินค้าสมารถเคลื่อนย้ายโดยเสรี แต่ในตลาดร่วมนั้นปัจจัยการผลิตที่จะเปิดให้เคลื่อนย้ายโดยเสรีนั้น  มี 4 ส่วนด้วยกันคือ นอกจากสินค้าแล้ว ยังมีเงินทุน แรงงาน และบริการ ก็มีการเคลื่อนย้ายโดยเสรีด้วย โดนเฉพาะในการปล่อยให้เกิดการเคลื่อนย้ายโดยเสรีในปัจจัยการผลิตทั้งสามประเภทหลังที่กล่าวนั้น ย่อมหมายถึงการปรับตัวบทกฏหมายเพื่อให้มีความเท่าเทียมกันหรือลักษณะเหมือนกัน สำหรับประเทศสมาชิก                ระดับที่สี่ เป็นการรวมตัวที่ลึกซึ้งกว่าเป็นตลาดร่วม เราเรียกว่า สหภาพทางเศรษฐกิจหรือทางการเงิน ( Economic Union หรือ Monetary Union ) การรวมกลุ่มทางเศรษฐกิจในลักษณะนี้ ย่อมหมายถึงการรวมกลุ่มที่ลึกซึ้งกว่าเป็นตลาดร่วมเพราะนอเหนือจากจะเปิดให้ปัจจัยการผลิตสามารถเคลื่อนย้ายโดยเสรีแล้ว ยังหมายถึงความสำเร็จในการประสานนโยบายเศรษฐกิจ และการเงินระหว่างประเทศสมาชิก                การรวมกลุ่มระดับสุดท้ายเป็นระดับสูงสุด เราเรียกว่าสหภาพเศรษฐกิจสมบูรณ์แบบ (Total Economic Union) ในการรวมกลุ่มในลักษณะนี้นั้น ประเทศสมาชิกประสบความสำเร็จถึงขั้นที่ดำเนินนโยบายและการเงินในลักษณะที่เป็นหนึ่งเดียว ความแตกต่างระหว่างระดับที่สี่คือ สหภาพเศรษฐกิจและการเงินกับระดับที่ห้า คือ ระดับสมบูรณ์แบบ อยู่ตรงประเด็นที่ว่า ในระดับที่สี่นั้นประเทศสมาชิกจะประสบความสำเร็จเพียงการประสานนโยบายทางเศรษฐกิจ กล่าวคือ ยังมีความแตกต่างกันในระดับหนึ่ง แต่ในการรวมกลุ่มขั้นเศรษฐกิจสมบูรณ์แบบนั้นประเทศสมาชิกจะดำเนินนโยบายทางเศรษฐกิจและการเงินเป็นหนึ่งเดียว                 การรวมกลุ่มทางเศรษฐกิจนั้นประเทศต่างๆจะต้องอยู่ในลักษณะใดลักษณะหนึ่งของ5 ประเด็นดังที่กล่าวถึงเราจะเห็นว่าในปัจจุบันนี้ การรวมกลุ่มทางเศรษฐกิจเป็นปรากฏการณ์ที่ขยายความเข้มข้นไปสู่ทุกทวีป เราจะเห็นได้ว่า  ในทวีปอเมริกานั้นก็มีการรวมกลุ่มในลักษณะที่เป็นเขตการค้าเสรีอเมริการเหนือ(NAFTA) ในยุโรปก็มีการรวมกลุ่มหลายแบบ ทั้งเขตการค้าเสรี(EFTA) มีการรวมกลุ่มในลักษณะที่เป็นตลาดร่วมและกำลังขยายตัวต่อไปในลักษณะที่เป็นตลาดร่วมและกำลังขยายตัวต่อไปในลักษณะที่เป็นสหภาพทางเศรษฐกิจภายใต้กรอบที่เรียกว่าสหภาพยุโรป ( European Union) และในภูมิภาคเอเชียก็มีการรวมกลุ่มที่เรียกว่า เขตการค้าเสรีอาเซียน ( AFTA)                การรวมกลุ่มทางเศรษฐกิจซึ่งความจริงนั้นก็มีกันมานาน ประชาคมยุโรป ( European Community ) ก่อกำเนิดตั้งแต่ปี 1952 ในรูปขององค์การประชาคมถ่านหินและเหล็กยุโรป (ECSC) โดยมีเป้าหมายในการรวมเป็นตลาดร่วมและหลังจากนั้นก็มีการขยายตัวมาครอบคลุมภาคเศรษฐกิจอื่นๆ นอกเหนือจากถ่านหินและเหล็ก มาเป็นภาคเศรษฐกิจโดยทั่วไปตลอดจนกระทั่งในด้านเกี่ยวกับพลังงานปรมณูจนเรียกกันว่าเป็นประชาคมยุโรป อย่างไรก็ตามการรวมกลุ่มทางเศรษฐกิจนั้นมีการขยายวง และมีอัตราเร่งที่สูงขึ้นในช่วง 3-4 ปีที่ผ่านมา โดยเฉพาะอย่างยิ่งภายหลังจากการเปลี่ยนแปลงของระบบโลกโลกยุคหลังสงครามเย็นเป็นตัวกำหนดและเป็นตัวเร่งทำให้เกิดความจำเป็นต้องรวมกลุ่ม เพื่อขยายอำนาจต่อรองและสร้างศักยภาพในการแข่งขันในบริษัทดังกล่าว เราจะเห็นได้ว่า NAFTA และ AFTA ก็ได้ก่อกำเนิดขึ้นในช่วงเวลาใกล้เคียงกัน แรงผลักดันที่ทำให้เกิดการรวมกลุ่มทางเศรษฐกิจนั้น อาจกล่าวได้ว่าเกิดจากปัจจัยต่างๆ หลายประการด้วยกัน                ประการแรก การรวมกลุ่มในทางเศรษฐกิจนั้นเกิดขึ้นเพราะความจำเป็นที่จะสร้างศักยภาพในแง่ของการแข่งขันทางเศรษฐกิจตลอดจนกระทั่งสร้างอำนาจต่อรอง การรวมตัวของประชาคมยุโรปเพื่อที่จะให้เป็นยุโรปตลาดเดียวมีพื้นฐานของตรรกะในแง่ที่ต้องการเสริมสร้างศักยภาพเพื่อแข่งขันกับญี่ปุ่นและสหรัฐอเมริกา โดยเฉพาะอย่างยิ่ง การคำนึงถึงลักษณะของต้นทุนต่อหน่วยที่เราเรียกว่า Economy of Scale การพัฒนาเทคโนโลยี ซึ่งจำเป็นอย่างยิ่งที่ต้องอาศัยต้นทุน และขนาดตลาดที่ใหญ่โต ซึ่งจะเกิดขึ้นมาได้ต้องอาศัยความร่วมมือระหว่างประเทศ การพัฒนาสู่ยุโรปตลาดเดียวจึงมีตรรกะบนพื้นฐานของการสร้างขนาดให้ใหย๋โต และมีพลังพอที่จะกระตุ้นการพัฒนาทางเทคโนโลยี และความสามารถในการแข่งขันเพื่อรองรับการท้าทายที่มาจากประเทศสหรัฐฯ และญี่ปุ่น การก่อกำเนิดของ AFTA และ NAFTA ก็เช่นเดียวกัน เป็นผลมาจากความจำเป็นในการที่เสริมสร้างศักยภาพในการแข่งขันและสร้างอำนาจต่อรองในโลกของการขยายตัวในด้านการแข่งขันในบริบทของโลกานุวัตร                ประการที่สอง การรวมกลุ่มทางเศรษฐกิจนั้น อาจจะเป็นผลหรือแรงผลักดันที่ลึกๆในแง่ของการเมืองอยู่ การรวมกลุ่มในทางเศรษฐกิจอาจหมายถึงเป็นจุดเริ่มต้นเพื่อที่จะทำให้เกิดการกระตุ้นเพื่อสร้างความแน่นแฟ้นในการรวมตัวทางการเมืองในอนาคต ดังจะเห็นได้ว่าการก่อกำเนิดของประชาคมถ่านหินและเหล็กยุโรปนั้นมีวัตถุประสงค์ที่จะใช้เป็นกลไกกระตุ้นให้เกิดการรวมตัวที่ลึกซึ้งยิ่งขึ้น และถ่านหินและเหล็กยุโรปนั้นมีวัตถุประสงค์ที่จะใช้เป็นกลไกกระตุ้นให้เกิดการรวมตัวที่ลึกซึ้งยิ่งขึ้น และพยายามที่จะใช้เป็นกลไกกระตุ้นสู่การรวมตัวทางการเมืองตามที่ผู้ก่อตั้งต้องการ และตรรกะในตัวมันเองการรวมตัวทางเศรษฐกิจนั้นย่อมเสริมสร้างพลังอำนาจต่อรองทางการเมือง และอาจนำไปสู่การรวมตัวทางการเมืองเป็นกิจจะลักษณะอีกทางหนึ่งด้วย                ประการที่สาม การรวมกลุ่มในทางเศรษฐกิจนั้น ส่วนหนึ่งก็มีความสัมพันธ์กับเป้าหมายที่สัมพันธ์กันในแง่ของวัฒนธรรม การรวมกลุ่มในทางเศรษฐกิจโดยเฉพาะอย่างยิ่งประชาคมยุโรปก็มีต้นกำเนิดมาจากลักษณะของประเทศที่มีวัฒนธรรม ใกล้เคียงกัน อย่างไรก็ตาม ในโลกของการแข่งขันนั้น ความสำคัญของวัฒนธรรมที่เป็นแรงกระตุ้นของการรวมตัวนั้นยังมีน้อยไปกว่าลักษณะของเศรษฐกิจที่มีส่วนเสริมซึ่งกันและกัน ( Complementarity ) ดังจะเห็นได้ว่า ในกรณีของเขตการค้าเสรีอาเซียน แม้ว่าวัฒนธรรมในประเทศ ตลอดจนประวัติศาสตร์ของกลุ่มประเทศนั้น ยังมีลักษณะแตกต่างกัน แต่ตัวเร่งที่ทำให้เกิดผลสำเร็จในการรวมตัวของอาเซียน ก็คือปัจจัยของลักษณะเศรษฐกิจที่เริ่มลักษณะเสริมกันและกันมากขึ้น และที่สำคัญก็คือ ความจำเป็นในการที่เสริมสร้างพลังต่อรองที่เกิดขึ้น ความสำเร็จของประชาคมยุโรปที่มีมาตั้งแต่ต้นนั้น ก็มาจากปัจจัยเดียวกันก็คือลักษณะเศรษฐกิจที่มีส่วนเสริมซึ่งกันและกัน การพัฒนาตลาดร่วมยุโรปนั้นเป็นผลมาจากอำนาจต่อรองที่สำคัญและให้ผลประโยชน์ต่างกัน ตอบแทนแก่ประเทศสมาชิก เช่น ในกรณีของอิตาลีก็จะได้ผลประโยชน์จากการเคลื่อนย้ายแรงงาน ในขณะที่ฝรั่งเศสนั้นก็จะได้ประโยชน์จากการขยายตลาดสินค้าเกษตร และขณะเดียวกันเยอรมันก็ได้ประโยชน์จากการขยายตลาดสินค้าอุตสาหกรรมเกษตร เพราะฉะนั้นลักษณะที่เสริมต่อกันทางเศรษฐกิจจึงเป็นปัจจัยตัวหนึ่งที่ทำให้เกิดการขยายตัวของการรวมกลุ่มทางเศรษฐกิจ                ในโลกปัจจุบันเราอาจจะเห็นได้ว่า การรวมกลุ่มทางเศรษฐกิจที่สำคัญนั้น มีอยู่ 3 กลุ่ม ลักษณะการรวมตัวในอเมริกาเหนือ คือ เขตการค้าเสรีอเมริกาเหนือ อันประกอบด้วย สหรัฐอเมริกา แคนาดา และแม็กซิโก หรือการรวมตัวของ 6 ประเทศสมาชิกอาเซียนที่เราเรียกว่า AFTA  ก็ดีนั้นจะมีลักษณะที่คล้ายกันหรือเหมือนกัน เพราะว่ามีลักษณะกำหนดทิศทางสินค้าระหว่างประเทศสมาชิกนั้น ไม่มีโควต้าและไม่เสียภาษี ในกรณี AFTA นั้น มรเงื่อนระยะเวลาในการบรรลุ 15 ปี โดยมีผลบังคับตั้งแต่วันที่ 1 มกราคม 2536 และเมืองครบกำหนดแล้วสินค้าทุกประเภท ยกเว้นสินค้าเกษตร จะมีภาษีเท่ากับศูนย์หรือไม่เกินร้อยละ 5 ผลพวงจากการเปลี่ยนแปลงของการรวมกลุ่มโดยเฉพาะอย่างยิ่งในกรณีของภูมิภาคเอเชียอาคเนย์นั้น คงจะส่งผลให้โครงสร้างทางการค้าและการลงทุนของประเทศในอาเซียนมีการเปลี่ยนแปลงอย่างหลีกเลี่ยงไม่ได้ ลักษณะของการค้าที่มีการขยายตัวในการลงทุนข้ามชาติ และทำให้เกิดการเชื่อมต่อในด้านการเงิน ในขณะเดียวกันการเปลี่ยนแปลงที่สำคัญอีกประการหนึ่งคือ การย้ายฐานการผลิต ผลจากการรวมตัวทางเศรษฐกิจไม่ว่าจะเป็นในกรณีของนาฟต้า สหภาพยุโรป หรืออาฟต้า ก็ดี ย่อมส่งผลให้ธุรกิจนั้นจำเป็นต้องปรับหรือย้ายฐานการผลิต เพื่อรองรับการเปลี่ยนแปลงการค้าในบางครั้งอาจจะถูกทดแทนด้วยการร่วมทุน ทั้งนี้เพราะความจำเป็นในการที่จะต้องขยายหรือรักษาตลาดการส่งออกภายใต้สิทธิพิเศษทางภาษีที่มีการเปลี่ยนแปลง                การรมกลุ่มในทางเศรษฐกิจของภูมิภาคต่างๆนั้น ว่ากันไปแล้วจะมิใช่การรวมกลุ่มเพื่อทำสงครามการค้า แต่จะเป็นการรวมกลุ่มเพื่อสร้างอำนาจต่อรองในโลกที่มีการขยายตัวทางการค้าและการลงทุนที่ไร้พรมแดน ในกระบวนการรวมกลุ่มทั้งหมดนั้น เราจะเห็นว่าสหภาพยุโรปนั้น ลักษณะการรวมกลุ่มจะมีความซีบซ้อนและมีความลึกซ฿งแตกต่างกันหลายระดับในกลุ่มใประเทศสหภาพยุโรปซึ่งเป็นการรวมตัวที่ลึกซึ้งที่สุด ที่เรียกว่าเป็นการรวมตัวแบบสหภาพทางการเงินเศรษฐกิจ และการเมือง ซึ่งเรียกรวมกันว่า สหภาพยุโรป นั้นประกอบด้วย 12 ประเทศ ได้แก่ ฝรั่งเศส เยอรมัน อิตาลี เนเธอร์แลนด์ เบลเยี่ยม ลักซัมเบอร์ก อังกฤษ เดนมาร์ก ไอร์แลนด์ (Ireland) กรีก สเปน และโปรตุเกส ซึ่งได้บรรลุตั้งแต่ปลายปี 1992 ของการเป็นยุโรปตลาดเดียว หรือการเป็นตลาดร่วมยุโรปและกำลังมุ่งเป้าสู่การเป็นสหภาพทางการเงินทางเศรษฐกิจและการเมืองในอนาคตตามพื้นฐานสนธิสัญญามาสทริกส์ ซึ่งนั่นหมายความว่า ในอนาคตการรวมกลุ่มของ 12 ประเทศนี้ ถ้าเป็นไปตามเป้าหมายที่คาดไว้จะเป็นการรวมกลุ่มที่ไม่ใช่จำกัดแค่มิติทางเศรษฐกิจเท่านั้น แต่ขยายไปสู่มิติทางการเมือง อันหมายถึงการประสานนโยบายทางด้านเกี่ยวกับกลาโหมและต่างประเทศ                ในยุโรปนั้น นอกจากสหภาพยุโรปนั้น ยังมีการรวมตัวของอีก 7 ประเทศในลักษณะที่เป็นเขตการค้าเสรี ซึ่งเรียกว่าเขตการค้าเสรียุโรป (EFTA ) อันประกอบด้วย สวีเดน นอร์เวย์ ฟินแลนด์ ไอร์แลนด์ (Ireland) ออสเตรีย สวิสเซอร์แลนด์ และ ลิกเซนท์ไตล์ (Liechentein) ซึ่งมีการรวมตัวกันมาตั้งแต่ปี 1959 โดยการริเริมของประเทศอังกฤษ อย่างไรก็ตามเมื่อประเทศอังกฤษได้ลาออกไปเพื่อเข้าเป็นสามชิกของสมาคมยุโรปในปี 1973 สมาคมเขตการค้าเสรียุโรปที่เราเรียกว่า EFTA นี้จึงเหลืออยู่ 7 ประเทศ ซึ่งเป็นการรวมตัวกันในลักษณะที่ให้สินค้าด้านอุตสาหกรรมเคลื่อนย้ายอย่างเสรีในประเทศสมาชิก อย่างไรก็ตาม 4 ประเทศ สมาชิกของเขตการค้าเสรียุโรปอันประกอบด้วย ออสเตรีย นอร์เวย์ ฟินแลนด์ และสวีเดน นั้น ได้สมัครเข้าเป็นสมาชิกของสหภาพยุโรป และถ้าหากว่าผ่นกลไกในการหยั่งเสียงเรียบร้อยแล้วก็อาจจะเข้ามาเป็นสมาชิกปี 1995 เป็นต้นไป                ระหว่างสหภาพยุโรปกับเขตการค้าเสรียุโรปนั้นก็ได้มีความสัมพันธ์กันมาก่อนในลักษณะที่เป็นเขตการค้าเสรี กล่าวคือ 12 ประเทศของสหภาพยุโรป และ 7 ประเทศของเขตการค้าเสรียุโรป ได้ผูกพันที่จะให้สินค้าระหว่าง 19 ประเทศสามารถเคลื่อนย้ายได้โดยเสรี สินค้าที่ว่านั้นจะจำกัดเฉพาะสินค้าอุตสาหกรรม อย่างไรก็ตาม ตั้งแต่วันที่ 12 มกราคม 1994 ประเทศสหภาพยุโรปและเขตการค้าเสรียุโรป ได้มีการตกลงทำสนธิสัญญาซึ่งเรียกว่า เขตเศรษฐกิจยุโรป” (European Economic Area) ซึ่งเท่ากับเป็นการขยายการรวมตัวลึกซึ้งยิ่งกว่าเขตการค้าเสรี โดยครอบคลุมเกี่ยวกับด้านเงินทุน แรงงาน และ บริการเคลื่อนย้ายโดยเสรีใน 18 ประเทศ ( เนื่องจากว่าสวิสเซอร์แลนด์ได้ถอนตัวออก) หรือกล่าวอีกนัยหนึ่งก็คือ 18 ประเทศนี้ได้มีการก่อตั้งเพื่อขยายเป็นกึ่งยุโรปตลาดเดียวนั่นเอง นอกเหนือจากนั้น ในความสัมพันธ์ระหว่างสหภาพยุโรปกับประเทศอื่นๆ ในยุโรป ก็มีความสัมพันธ์แบบกึ่งการค้าเสรีกลายๆ กล่าวคือ สหภาพยุโรปได้มีการทำข้อตกลงทวิภาคี กับประเทศที่เคยเป็นอดีตยุโรปตะวันออก เช่น โปรแลนด์ ฮังการี สาธารณรัฐเชคโก ฯลฯ ในลักษณะข้อตกลงยุโรป(European Agreement) เนื้อหาของข้อตกลงดังกล่าวก็คือ เปิดโอกาสให้สินค้ายุโรปตะวันออกสามารถเคลื่อนย้ายเข้ามาประเทศสหภาพยุโรปได้โดยเสรี แต่ไม่ได้ครอบคลุมสินค้าทุกประเภท เพียงแต่ครอบคลุมในระดับหนึ่ง นอกจากนี้สหภาพยุโรปยังให้ความช่วยเหลือทางด้านการเงิน ทั้งนี้ก็เพื่อที่จะเปิดโอกาสให้ประเทศเหล่านี้สามารถปรับปรุงตัว และสร้างเงื่อนไขเพียงพอที่จะเข้ามาเป็นสมาชิกสหภาพยุโรปในอนาคต ในขณะเดียวกันสหภาพยุโรปก็ได้มีข้อตกลงสองฝ่ายกับกลุ่มประเทศริมทะเลเมดิเตอร์เรเนียน อันประกอบด้วย ตุรกี มอรอคโค อัลจีเรีย ตูนีเซียฯลฯ ในรูปแบบของข้อตกลงที่เรียกว่า Association Agreement ซึ่งเนื้อหาคล้ายข้อตกลงยุโรป คือ เปิดโอกาสให้สวินค้าบางประเภทที่มาจากประเทศแถบทะเลเมอดิเตอร์เรเนียนเข้าสู่สหภาพยุโรปได้โดยไม่ต้องเสียภาษี หรือเสียภาษีต่ำ เพราะฉะนั้นว่ากันไปแล้ว ในภูมิภาคยุโรปนั้น การรวมตัวทางเศรษฐกิจนั้นมีความซับซ้อน มีความลึกซึ้งหลายรูปแบบและมีมิติที่แตกต่างกันตามนัยยะของความสัมพันธ์                 อาจสรุปได้ว่า การรวมตัวทางเศรษฐกิจในปัจจุบันนี้ ได้เกิดขึ้นทุกภูมิภาคและมีการขยายวงอย่างกว้าง อันเป็นผลมาจากแรงกระตุ้นจากโลกของการขยายตัวของการแข่งขันบนพื้นฐานของโลกที่ไร้พรมแดน บนพื้นฐานของการแข่งขันของธุรกิจในบริบทของโลกที่ไม่มีความตึงเครียดทางการเมืองเป็นตัวกำหนด เป็นโลกของการแข่งขันและการร่วมมือในทางเศรษฐกิจและทางธุรกิจ การรวมกลุ่มในทางเศรษฐกิจจึงเป็นเสมือนสัญลักษณ์ของโลกในยุคใหม่ที่เราเรียกว่า ยุคหลังสงครามเย็น เป็นโลกยุคใหม่ที่กำลังจัดลำดับระเบียบโลก การรวมกลุ่มทางเศรษฐกิจจึงเป็นองค์ประกอบหนึ่งของสิ่งที่เราเรียกว่า ระเบียบโลกใหม่ ( New World Order)

สร้างโดย: 
น.ส.อโนมา สงวนศักดิ์ 22 น.ส.วรรณสิกา เทนสิทธิ์ 26

ขณะนี้มีปัญหาว่าส่วนใหญ่ยังไม่เห็นภาพว่า AEC คืออะไร แต่ถ้าเปรียบเทียบกับ EEC ก็อาจเห็นภาพชัดขึ้น โดยเฉพาะประเด็นที่ว่าจะได้ประโยชน์เมื่อมีผลประโยชน์ตอบแทนกันในระหว่างสมาชิก

รูปภาพของ silavacharee

ตรวจแล้ว ไม่เห็นเกี่ยวข้องกับประชาคมเศรษฐกิจยุโรปเลย ไปค้นคว้ามาใหม่

มหาวิทยาลัยศรีปทุม ผู้ใหญ่ใจดี
 

 ช่วยด้วยครับ
นักเรียนที่สร้างบล็อก กรุณาอย่า
คัดลอกข้อมูลจากเว็บอื่นทั้งหมด
ควรนำมาจากหลายๆ เว็บ แล้ววิเคราะห์ สังเคราะห์ และเขียนขึ้นใหม่
หากคัดลอกทั้งหมด จะถูกดำเนินคดี
ตามกฎหมายจากเจ้าของลิขสิทธิ์
มีโทษทั้งจำคุกและปรับในอัตราสูง

ช่วยกันนะครับ 
ไทยกู๊ดวิวจะได้อยู่นานๆ 
ไม่ถูกปิดเสียก่อน

ขอขอบคุณในความร่วมมือครับ

อ่านรายละเอียด

ด่วน...... ขณะนี้
พระราชบัญญัติลิขสิทธิ์ (ฉบับที่ 2) พ.ศ. 2558 
มีผลบังคับใช้แล้ว 
ขอให้นักเรียนและคุณครูที่ใช้งาน
เว็บ thaigoodview ในการส่งการบ้าน
ระมัดระวังการละเมิดลิขสิทธิ์ด้วย
อ่านรายละเอียดที่นี่ครับ

 

สมาชิกที่ออนไลน์

ขณะนี้มี สมาชิก 0 คน และ ผู้เยี่ยมชม 601 คน กำลังออนไลน์