• user warning: Table 'cache_filter' is marked as crashed and should be repaired query: SELECT data, created, headers, expire, serialized FROM cache_filter WHERE cid = '3:f9eee35f68e503b6fd095584d20fae7f' in /home/tgv/htdocs/includes/cache.inc on line 27.
  • user warning: Table 'cache_filter' is marked as crashed and should be repaired query: UPDATE cache_filter SET data = '<!--paging_filter--><h1><span style=\"color: #000000\"><strong>เศรษฐกิจระหว่างประเทศ</strong></span></h1>\n<p><span id=\"ctl00_cphLeft_lblDetail\"><span style=\"color: #000000\"> </span><span style=\"color: #000000\"><b><span style=\"font-size: x-small; font-family: MS Sans Serif\">การค้าระหว่างประเทศ</span></b> </span></span><span id=\"ctl00_cphLeft_lblDetail\"></span></p>\n<p>\n<span style=\"color: #000000\"><span style=\"font-size: x-small; font-family: MS Sans Serif\">สาเหตุของการค้าระหว่างประเทศ ได้แก่</span> </span>\n</p>\n<ol>\n<li><span style=\"color: #000000\"><span style=\"font-size: x-small; font-family: MS Sans Serif\">ความแตกต่างทางด้านกายภาพ โดยเฉพาะด้านทรัพยากรธรรมชาติ</span> </span></li>\n<li><span style=\"color: #000000\"><span style=\"font-size: x-small; font-family: MS Sans Serif\">ความแตกต่างทางด้านความชำนาญในการผลิต</span> </span></li>\n</ol>\n<ol>\n<li> \n<ol>\n<li><span style=\"color: #000000\"><b><span style=\"font-size: x-small; font-family: MS Sans Serif\">ประโยชน์ของการค้าระหว่างประเทศ</span></b> </span></li>\n</ol>\n</li>\n</ol>\n<ol>\n<li><span style=\"color: #000000\"><span style=\"font-size: x-small; font-family: MS Sans Serif\">ประเทศผู้นำเข้าได้สินค้าที่ผลิตไม่ได้มาสนองความต้องการในราคาที่ถูกและคุณภาพดี</span> </span></li>\n<li><span style=\"color: #000000\"><span style=\"font-size: x-small; font-family: MS Sans Serif\">ประเทศผู้ส่งออกสามารถขยายตลาดสินค้าของตนให้กว้างมากขึ้น และมีรายได้เข้าประเทศมากขึ้น</span> </span></li>\n</ol>\n<ol>\n<li> \n<ol>\n<li><span style=\"color: #000000\"><b><span style=\"font-size: x-small; font-family: MS Sans Serif\">ดุลการค้าระหว่างประเทศ</span></b> </span></li>\n</ol>\n</li>\n</ol>\n<ol>\n<li><span style=\"color: #000000\"><span style=\"font-size: x-small; font-family: MS Sans Serif\">ดุลการค้าระหว่างประเทศ คือ การเปรียบเทียบมูลค่าสินค้าออกกับมูลค้าสินค้าเข้าในระยะเวลา 1 ปี</span> </span></li>\n<li><span style=\"color: #000000\"><span style=\"font-size: x-small; font-family: MS Sans Serif\">ดุลการค้าแบ่งได้ออก 3 ลักษณะคือ</span> </span></li>\n</ol>\n<ul>\n<li><span style=\"color: #000000\"><span style=\"font-size: x-small; font-family: MS Sans Serif\">ดุลการค้าสมดุล คือ มูลค่าสินค้าออกเท่ากับมูลค่าสินค้าเข้า</span> </span></li>\n<li><span style=\"color: #000000\"><span style=\"font-size: x-small; font-family: MS Sans Serif\">ดุลการค้าขาดดุล คือ มูลค่าสินค้าออกน้อยกว่ามูลค่าสินค้าเข้า</span> </span></li>\n<li><span style=\"color: #000000\"><span style=\"font-size: x-small; font-family: MS Sans Serif\">ดุลการค้าเกินดุล คือ มูลค่าสินค้าออกมากกว่ามูลค่าสินค้าเข้า</span> </span></li>\n</ul>\n<ol>\n<li> \n<ol>\n<li><span style=\"color: #000000\"><b><span style=\"font-size: x-small; font-family: MS Sans Serif\">นโยบายการค้าระหว่างประเทศ</span></b> </span></li>\n</ol>\n</li>\n</ol>\n<ol>\n<li><span style=\"color: #000000\"><span style=\"font-size: x-small; font-family: MS Sans Serif\">นโยบายการค้าเสรี มีลักษณะสำคัญคือ ส่งเสริมให้การค้าระหว่างประเทศกระทำกันได้อย่างเสรี โดยรัฐบาลเข้าไปเกี่ยวข้องน้อยมาก คือ</span> </span></li>\n</ol>\n<ul>\n<li><span style=\"color: #000000\"><span style=\"font-size: x-small; font-family: MS Sans Serif\">ใช้หลักการแบ่งงานกันทำ คือ เลือกผลิตเฉพาะสินค้าที่ประเทศมีความชำนาญในการผลิต</span> </span></li>\n<li><span style=\"color: #000000\"><span style=\"font-size: x-small; font-family: MS Sans Serif\">ไม่มีการเก็บภาษีเพื่อคุ้มกัน แต่เก็บภาษีเพื่อเป็นรายได้ของรัฐ</span> </span></li>\n<li><span style=\"font-size: x-small; color: #000000; font-family: MS Sans Serif\">ไม่มีการให้สิทธิพิเศษหรือไม่มีข้อจำกัดทางการค้ากับประเทศต่าง ๆ </span></li>\n</ul>\n<ul>\n<li><span style=\"color: #000000\"><span style=\"font-size: x-small; font-family: MS Sans Serif\">ปัจจุบัน ไม่มีประเทศใดใช้นโยบายการค้าเสรี</span> </span></li>\n</ul>\n<ol>\n<li><span style=\"color: #000000\"><span style=\"font-size: x-small; font-family: MS Sans Serif\">นโยบายการค้าคุ้มกัน มีลักษณะสำคัญคือ รัฐบาลใช้เครื่องมือต่าง ๆ เพื่อกีดกันการนำสินค้าเข้าออก ได้แก่</span> </span></li>\n</ol>\n<ul>\n<li><span style=\"color: #000000\"><span style=\"font-size: x-small; font-family: MS Sans Serif\">กำแพงภาษี คือ เก็บภาษีนำเข้าในอัตราสูง</span> </span></li>\n<li><span style=\"color: #000000\"><span style=\"font-size: x-small; font-family: MS Sans Serif\">การควบคุมปริมาณสินค้าเข้าและออก</span> </span></li>\n<li><span style=\"color: #000000\"><span style=\"font-size: x-small; font-family: MS Sans Serif\">การให้ความอุดหนุนเพื่อคุ้มครองอุตสาหกรรมภายในประเทศและส่งเสริมสินค้าออก เช่น ยกเว้นภาษีสำหรับสินค้าออก</span> </span></li>\n</ul>\n<ul>\n<li><span style=\"color: #000000\"><span style=\"font-size: x-small; font-family: MS Sans Serif\">ประเทศต่าง ๆ ใช้นโยบายการค้าคุ้มกันเพื่อ</span> </span></li>\n</ul>\n<ul>\n<li><span style=\"color: #000000\"><span style=\"font-size: x-small; font-family: MS Sans Serif\">คุ้มครองอุตสาหกรรมภายในประเทศ</span> </span></li>\n<li><span style=\"color: #000000\"><span style=\"font-size: x-small; font-family: MS Sans Serif\">ป้องกันการทุ่มตลาด (กำหนดราคาสินค้าต่ำกว่าทุนในช่วงแรก เมื่อสินค้าติดตลาด จะขึ้นราคาสินค้าภายหลัง)</span> </span></li>\n<li><span style=\"color: #000000\"><span style=\"font-size: x-small; font-family: MS Sans Serif\">แก้ปัญหาดุลการค้าขาดดุล</span> </span></li>\n<li><span style=\"color: #000000\"><span style=\"font-size: x-small; font-family: MS Sans Serif\">ช่วยเหลือประเทศในยามฉุกเฉิน เช่น ยามสงครามไม่ให้ส่งสินค้าจำเป็น</span> </span></li>\n</ul>\n<ol>\n<li><span style=\"color: #000000\"><b><span style=\"font-size: x-small; font-family: MS Sans Serif\">การแลกเปลี่ยนเงินตราต่างประเทศ</span></b> </span>\n<ol>\n<li><span style=\"color: #000000\"><span style=\"font-size: x-small; font-family: MS Sans Serif\">อัตราการแลกเปลี่ยนเงินตราต่างประเทศ</span> </span></li>\n</ol>\n</li>\n</ol>\n<ol>\n<li><span style=\"color: #000000\"><span style=\"font-size: x-small; font-family: MS Sans Serif\">ความสำคัญของการแลกเปลี่ยนอัตราการแลกเปลี่ยนเงินตราต่างประเทศมีผลต่อสินค้าเข้า สินค้าออกและดุลการค้า</span> </span></li>\n</ol>\n<ol>\n<li><span style=\"color: #000000\"><span style=\"font-size: x-small; font-family: MS Sans Serif\">ถ้ามีการลดค่าเงินของประเทศ</span> </span></li>\n</ol>\n<ul>\n<li><span style=\"color: #000000\"><span style=\"font-size: x-small; font-family: MS Sans Serif\">ราคาสินค้าออกจะถูกลงในสายตาคนต่างชาติ ทำให้สินค้าออกมีปริมาณเพิ่มขึ้น</span> </span></li>\n<li><span style=\"color: #000000\"><span style=\"font-size: x-small; font-family: MS Sans Serif\">ราคาสินค้าเข้าจะแพงขึ้นในสายตาคนในประเทศ ทำให้สินค้าเข้ามีปริมาณลดลง</span> </span></li>\n</ul>\n<ol>\n<li><span style=\"color: #000000\"><span style=\"font-size: x-small; font-family: MS Sans Serif\"><b>ถ้ามีการเพิ่มค่าเงินของประเทศ</b></span> </span></li>\n</ol>\n<ul>\n<li><span style=\"color: #000000\"><span style=\"font-size: x-small; font-family: MS Sans Serif\">ราคาสินค้าออกจะแพงขึ้นในสายตาคนต่างชาติ ทำให้สินค้าออกมีปริมาณลดลง</span> </span></li>\n<li><span style=\"color: #000000\"><span style=\"font-size: x-small; font-family: MS Sans Serif\">ราคาสินค้าเข้าจะถูกลงในสายตาคนในประเทศ ทำให้สินค้าเข้ามีปริมาณเพิ่มขึ้น</span> </span></li>\n</ul>\n<table border=\"1\" width=\"641\" cellPadding=\"7\" cellSpacing=\"1\">\n<tbody>\n<tr>\n<td bgColor=\"#cccccc\" width=\"41%\" vAlign=\"top\">\n<p align=\"center\">\n <span style=\"color: #000000\"><span style=\"font-size: x-small; font-family: MS Sans Serif\"><b>ผลจากการเปลี่ยนค่าของเงินของประเทศ</b></span> </span>\n </p>\n</td>\n<td bgColor=\"#cccccc\" width=\"30%\" vAlign=\"top\">\n<p align=\"center\">\n <span style=\"color: #000000\"><span style=\"font-size: x-small; font-family: MS Sans Serif\"><b>ลดค่าเงิน</b></span> </span>\n </p>\n</td>\n<td bgColor=\"#cccccc\" width=\"30%\" vAlign=\"top\">\n<p align=\"center\">\n <span style=\"color: #000000\"><span style=\"font-size: x-small; font-family: MS Sans Serif\"><b>เพิ่มค่าเงิน</b></span> </span>\n </p>\n</td>\n</tr>\n<tr>\n<td width=\"41%\" vAlign=\"top\">\n<p align=\"justify\">\n <span style=\"font-size: x-small; color: #000000; font-family: MS Sans Serif\">ราคาค่าเงินของประเทศ</span>\n </p>\n</td>\n<td width=\"30%\" vAlign=\"top\"><span style=\"font-size: x-small; color: #000000; font-family: MS Sans Serif\"> </span></td>\n<td width=\"30%\" vAlign=\"top\"><span style=\"font-size: x-small; color: #000000; font-family: MS Sans Serif\"> </span></td>\n</tr>\n<tr>\n<td width=\"41%\" vAlign=\"top\">\n<p align=\"justify\">\n <span style=\"font-size: x-small; color: #000000; font-family: MS Sans Serif\">ราคาสินค้าออก (คิดเป็นเงินต่างประเทศ)</span>\n </p>\n</td>\n<td width=\"30%\" vAlign=\"top\"><span style=\"font-size: x-small; color: #000000; font-family: MS Sans Serif\"> </span></td>\n<td width=\"30%\" vAlign=\"top\"><span style=\"font-size: x-small; color: #000000; font-family: MS Sans Serif\"> </span></td>\n</tr>\n<tr>\n<td width=\"41%\" vAlign=\"top\">\n<p align=\"justify\">\n <span style=\"font-size: x-small; color: #000000; font-family: MS Sans Serif\">ราคาสินค้าเข้า (คิดเป็นเงินในประเทศ)</span>\n </p>\n</td>\n<td width=\"30%\" vAlign=\"top\"><span style=\"font-size: x-small; color: #000000; font-family: MS Sans Serif\"> </span></td>\n<td width=\"30%\" vAlign=\"top\"><span style=\"font-size: x-small; color: #000000; font-family: MS Sans Serif\"> </span></td>\n</tr>\n<tr>\n<td width=\"41%\" vAlign=\"top\">\n<p align=\"justify\">\n <span style=\"font-size: x-small; color: #000000; font-family: MS Sans Serif\">การไปท่องเที่ยวต่างประเทศ</span>\n </p>\n</td>\n<td width=\"30%\" vAlign=\"top\"><span style=\"font-size: x-small; color: #000000; font-family: MS Sans Serif\"> </span></td>\n<td width=\"30%\" vAlign=\"top\"><span style=\"font-size: x-small; color: #000000; font-family: MS Sans Serif\"> </span></td>\n</tr>\n<tr>\n<td width=\"41%\" vAlign=\"top\">\n<p align=\"justify\">\n <span style=\"font-size: x-small; color: #000000; font-family: MS Sans Serif\">ชาวต่างชาติมาเที่ยวในประเทศ</span>\n </p>\n</td>\n<td width=\"30%\" vAlign=\"top\"><span style=\"font-size: x-small; color: #000000; font-family: MS Sans Serif\"> </span></td>\n<td width=\"30%\" vAlign=\"top\"><span style=\"font-size: x-small; color: #000000; font-family: MS Sans Serif\"> </span></td>\n</tr>\n<tr>\n<td width=\"41%\" vAlign=\"top\">\n<p align=\"justify\">\n <span style=\"font-size: x-small; color: #000000; font-family: MS Sans Serif\">หนี้สินที่ติดต่างประเทศ</span>\n </p>\n</td>\n<td width=\"30%\" vAlign=\"top\"><span style=\"font-size: x-small; color: #000000; font-family: MS Sans Serif\"> </span></td>\n<td width=\"30%\" vAlign=\"top\"><span style=\"font-size: x-small; color: #000000; font-family: MS Sans Serif\"> </span></td>\n</tr>\n<tr>\n<td width=\"41%\" vAlign=\"top\">\n<p align=\"justify\">\n <span style=\"font-size: x-small; color: #000000; font-family: MS Sans Serif\">หนี้สินที่ต่างประเทศค้าง</span>\n </p>\n</td>\n<td width=\"30%\" vAlign=\"top\"><span style=\"font-size: x-small; color: #000000; font-family: MS Sans Serif\"> </span></td>\n<td width=\"30%\" vAlign=\"top\"><span style=\"font-size: x-small; color: #000000; font-family: MS Sans Serif\"> </span></td>\n</tr>\n<tr>\n<td width=\"41%\" vAlign=\"top\">\n<p align=\"justify\">\n <span style=\"font-size: x-small; color: #000000; font-family: MS Sans Serif\">ภาระหนี้สินที่ติดต่างประเทศ</span>\n </p>\n</td>\n<td width=\"30%\" vAlign=\"top\"><span style=\"font-size: x-small; color: #000000; font-family: MS Sans Serif\"> </span></td>\n<td width=\"30%\" vAlign=\"top\"><span style=\"font-size: x-small; color: #000000; font-family: MS Sans Serif\"> </span></td>\n</tr>\n<tr>\n<td width=\"41%\" vAlign=\"top\">\n<p align=\"justify\">\n <span style=\"font-size: x-small; color: #000000; font-family: MS Sans Serif\">ภาระหนี้สินที่ต่างประเทศค้าง</span>\n </p>\n</td>\n<td width=\"30%\" vAlign=\"top\"><span style=\"font-size: x-small; color: #000000; font-family: MS Sans Serif\"> </span></td>\n<td width=\"30%\" vAlign=\"top\"><span style=\"font-size: x-small; color: #000000; font-family: MS Sans Serif\"> </span></td>\n</tr>\n</tbody>\n</table>\n<ol>\n<li><span style=\"color: #000000\"><b><span style=\"font-size: x-small; font-family: MS Sans Serif\">ระบบอัตราแลกเปลี่ยน</span></b> </span></li>\n</ol>\n<ol>\n<li><span style=\"color: #000000\"><span style=\"font-size: x-small; font-family: MS Sans Serif\">ระบบอัตราแลกเปลี่ยนคงที่ : รัฐกำหนดให้อัตราแลกเปลี่ยนอยู่ระดับคงที่เป็นเวลานาน</span> </span></li>\n<li><span style=\"color: #000000\"><span style=\"font-size: x-small; font-family: MS Sans Serif\">ระบบอัตราแลกเปลี่ยนที่ถูกกับเงินสกุลอื่น ๆ : รัฐกำหนดอัตราแลกเปลี่ยนให้คงที่ แต่เปิดโอกาสให้ปรับอัตราแบบค่อยเป็นไปได้บ้างในกรณีที่ขาดดุลการชำระเงินมาก</span> </span></li>\n<li><span style=\"color: #000000\"><span style=\"font-size: x-small; font-family: MS Sans Serif\">ระบบอัตราแลกเปลี่ยนเสรีหรือลอยตัว : รัฐจะปล่อยให้อัตราแลกเปลี่ยนเคลื่อนไหวอย่างเสรีโดยไม่เข้าไปแทรกแซง</span> </span></li>\n<li><span style=\"color: #000000\"><span style=\"font-size: x-small; font-family: MS Sans Serif\">ระบบอัตราแลกเปลี่ยนกึ่งลอยตัว : รัฐจะเข้าไปซื้อขายเงินตราต่างประเทศเพื่อปรับอัตราแลกเปลี่ยนให้เคลื่อนไหวไปในทิศทางที่ต้องการได้บ้าง</span> </span></li>\n<li><span style=\"color: #000000\"><span style=\"font-size: x-small; font-family: MS Sans Serif\">ระบบควบคุมการแลกเปลี่ยนเงินตรา : รัฐเข้าแทรกแซงโดยควบคุมการแลกเปลี่ยนเงินจากต่างประเทศ</span> </span></li>\n</ol>\n<ul>\n<li><span style=\"color: #000000\"><span style=\"font-size: x-small; font-family: MS Sans Serif\">ระบบอัตราการแลกเปลี่ยนแบบคงที่และแบบเสรีไม่มีใช้ในปัจจุบัน</span> </span></li>\n<li><span style=\"color: #000000\"><span style=\"font-size: x-small; font-family: MS Sans Serif\">มีการใช้ระบบอัตราการแลกเปลี่ยนแบบกึ่งลอยตัวและแบบที่ถูกกับเงินตราสกุลอื่นกันมากในปัจจุบัน</span> </span></li>\n<li><span style=\"color: #000000\"><span style=\"font-size: x-small; font-family: MS Sans Serif\">ระบบการควบคุมการแลกเปลี่ยนเงินตรามีไว้ใช้ในประเทศไม่มากนัก</span> </span></li>\n</ul>\n<ol>\n<li><span style=\"color: #000000\"><b><span style=\"font-size: x-small; font-family: MS Sans Serif\">ประเทศไทย ใช้ระบบอัตราแลกเปลี่ยนดังนี้</span></b> </span></li>\n</ol>\n<ul>\n<li><span style=\"font-size: x-small; font-family: MS Sans Serif\"><span style=\"color: #000000\">ระบบกึ่งลอยตัว : โดยรัฐนำค่าเงินบาทไปเชื่อมโยงกับเงินตราสกุลสำคัญ ๆ หลายสกุล <b>(BASKET OF CURRENCIES)</b></span></span> </li>\n<li><span style=\"font-size: x-small; font-family: MS Sans Serif\">กำหนดเป็นอัตราประจำ</span> </li>\n<li><span style=\"font-size: x-small; font-family: MS Sans Serif\">ใช้ทุนรักษาระดับอัตราแลกเปลี่ยนเงินตราเข้าแทรกแซงเพื่อรักษาค่าเงินบาทให้มีเสถียรภาพ</span> </li>\n</ul>\n<ol>\n<li><span style=\"font-size: x-small; color: #000000; font-family: MS Sans Serif\">เงินตราสกุลสำคัญที่ไทยใช้เชื่อมโยงค่าเงินในปัจจุบัน ได้แก่ ดอลล่าร์สหรัฐ ปอนด์สเตอริง มาร์กเยอรมนี เยน ดอลลาร์ฮ่องกง ดอลล่าร์บรูไน ริงกิตมาเลเซีย เปโซฟิลลิปปินส์ และรูเปียอินโดนีเซีย</span> </li>\n</ol>\n<ol>\n<li><span style=\"font-size: x-small; font-family: MS Sans Serif\">ดุลการชำระเงินระหว่างประเทศ</span>\n<ol>\n<li><span style=\"font-size: x-small; font-family: MS Sans Serif\">ดุลการชำระเงินประเทศ</span> </li>\n</ol>\n</li>\n</ol>\n<ol>\n<li><span style=\"font-size: x-small; font-family: MS Sans Serif\">ดุลการชำระเงินเป็นบัญชีแสดงฐานะเศรษฐกิจของประเทศ โดยเปรียบเทียบระหว่างเงินเข้าประเทศ (รายรับ) และเงินออกจากประเทศ (รายจ่าย)</span> </li>\n<li><span style=\"font-size: x-small; font-family: MS Sans Serif\">เมื่อ<span style=\"color: #000000\">เงินเข้าประเทศมีมากกว่าเงินที่ออกนอกประเทศ = ดุลการชำระเงิน </span></span></li>\n</ol>\n<p align=\"justify\">\n<span style=\"font-size: x-small; color: #000000; font-family: MS Sans Serif\"><b>- ทุน ของประเทศจะเพิ่มขึ้น ส่งผลให้</b></span>\n</p>\n<ol>\n<li><span style=\"font-size: x-small; font-family: MS Sans Serif\">ประเทศสามารถพิมพ์ธนบัตรออกใช้มากขึ้น</span> </li>\n<li><span style=\"font-size: x-small; font-family: MS Sans Serif\">ระดับอัตราแลกเปลี่ยนเงินตราระหว่างประเทศของประเทศมีเสถียรภาพ(ค่าของเงินประเทศ )</span> </li>\n<li><span style=\"font-size: x-small; font-family: MS Sans Serif\">เศรษฐกิจของประเทศมีเสถียรภาพในสายตาของต่างประเทศ</span> </li>\n</ol>\n<ol>\n<li><span style=\"font-size: x-small; font-family: MS Sans Serif\">เมื่อเงินออกนอกประเทศมากกว่าเงินที่เข้าประเทศ = ดุลการชำระเงิน </span></li>\n</ol>\n<ul>\n<li><span style=\"font-size: x-small; font-family: MS Sans Serif\">เศรษฐกิจของประเทศจะไม่ดี คือ มีภาวะเงินฝืด</span> </li>\n<li><span style=\"font-size: x-small; font-family: MS Sans Serif\">ทุนสำรองระหว่างประเทศจะ ส่งผลให้</span> </li>\n</ul>\n<ol>\n<li><span style=\"font-size: x-small; font-family: MS Sans Serif\">ระดับอัตราแลกเปลี่ยนเงินตราระหว่างประเทศของประเทศไม่มีเสถียรภาพ (ค่าของเงินประเทศ )</span> </li>\n<li><span style=\"font-size: x-small; font-family: MS Sans Serif\">เศรษฐกิจของประเทศดูไม่มีเสถียรภาพในสายตาของต่างประเทศ</span> </li>\n</ol>\n<ol>\n<li> \n<ol>\n<li><b><span style=\"font-size: x-small; color: #000000; font-family: MS Sans Serif\">ส่วนประกอบของดุลการชำระเงิน</span></b> </li>\n</ol>\n</li>\n</ol>\n<ol>\n<li><b><span style=\"font-size: x-small; color: #000000; font-family: MS Sans Serif\">บัญชีเดินสะพัด ประกอบด้วยบัญชีดุลการค้า บัญชีดุลบริการ และบัญชีดุลบริจาค (ดุลเงินโอน)</span></b> </li>\n</ol>\n<ul>\n<li><span style=\"font-size: x-small; font-family: MS Sans Serif\">ดุลการค้า : แสดงมูลค่าสินค้าออกและสินค้าเข้า</span> </li>\n<li><span style=\"font-size: x-small; font-family: MS Sans Serif\">ดุลบริการ : แสดงมูลค่าบริการระหว่างประเทศ</span> </li>\n<li><span style=\"font-size: x-small; font-family: MS Sans Serif\">ดุลบริจาค : (ดุลเงินโอน) แสดงการรับและให้เงินช่วยเหลือจากต่างประเทศ</span> </li>\n</ul>\n<ol>\n<li><span style=\"font-size: x-small; color: #000000; font-family: MS Sans Serif\">บัญชีทุนเคลื่อนย้าย : รายการลงทุน หรือกู้เงินข้ามชาติ</span> </li>\n<li><span style=\"font-size: x-small; color: #000000; font-family: MS Sans Serif\">บัญชีทุนสำรองระหว่างประเทศ : เป็นยอดสรุปของดุลการชำระเงิน</span> </li>\n</ol>\n<p align=\"justify\">\n<span style=\"font-size: x-small; font-family: MS Sans Serif\">** ทุนสำรองระหว่างประเทศประกอบด้วย เงินตราต่างประเทศ ทองคำ หลักทรัพย์ที่ธนาคารกลางถือไว้ และสิทธิถอนพิเศษ (SDR)</span>\n</p>\n<ol start=\"4\">\n<li> <br />\n<ol start=\"4\">\n<li><span style=\"font-size: x-small; font-family: MS Sans Serif\">การแก้ไขปัญหาดุลการชำระเงินขาดดุล</span> </li>\n</ol>\n</li>\n</ol>\n<ol>\n<li><span style=\"font-size: x-small; font-family: MS Sans Serif\">การเพิ่มรายได้</span> </li>\n</ol>\n<ul>\n<li><span style=\"font-size: x-small; font-family: MS Sans Serif\">ส่งเสริมให้มีสินค้าขาออกมาก ๆ โดยลดภาษีขาออก หาตลาดนอกประเทศ , ปรับปรุงคุณภาพสินค้า , รัฐบาลยกเว้นภาษีวัตถุดิบสำหรับสินค้าอุตสาหกรรมในประเทศ</span> </li>\n<li><span style=\"font-size: x-small; font-family: MS Sans Serif\">ชักจูงให้ชาวต่างประเทศเดินทางเข้ามาเที่ยวหรือลงทุนมากขึ้น</span> </li>\n</ul>\n<ol>\n<li><span style=\"font-size: x-small; font-family: MS Sans Serif\">การลดรายจ่าย</span> </li>\n</ol>\n<ul>\n<li><span style=\"font-size: x-small; font-family: MS Sans Serif\">ส่งเสริมให้ประชาชนประหยัด</span> </li>\n<li><span style=\"font-size: x-small; font-family: MS Sans Serif\">ลดการสั่งสินค้าเข้าโดยใช้มาตรการต่าง ๆ เช่น ตั้งกำแพงภาษี</span> </li>\n</ul>\n<ol>\n<li><span style=\"font-size: x-small; font-family: MS Sans Serif\">วิธีการอื่น ๆ</span> </li>\n</ol>\n<ul>\n<li><span style=\"font-size: x-small; font-family: MS Sans Serif\">ลดค่าเงินประเทศของตน</span> </li>\n<li><span style=\"font-size: x-small; font-family: MS Sans Serif\">กู้ยืมจากต่างประเทศ</span> </li>\n<li><span style=\"font-size: x-small; font-family: MS Sans Serif\">ปรับอัตราดอกเบี้ยเงินกู้ภายในประเทศ เพื่อไม่ให้เงินกู้ต่างประเทศไหลเข้ามามาก</span> </li>\n</ul>\n<ol>\n<li><b><span style=\"font-size: x-small; color: #000000; font-family: MS Sans Serif\">การรวมกลุ่มทางเศรษฐกิจระหว่างประเทศ</span></b> </li>\n</ol>\n<ol>\n<li> \n<ol>\n<li><span style=\"font-size: x-small; font-family: MS Sans Serif\">ประเภทของการรวมกลุ่มทางเศรษฐกิจ</span> </li>\n</ol>\n</li>\n</ol>\n<table border=\"1\" width=\"574\" cellPadding=\"7\" cellSpacing=\"1\">\n<tbody>\n<tr>\n<td bgColor=\"#cccccc\" width=\"24%\" vAlign=\"top\">\n<p align=\"center\">\n <span style=\"font-size: x-small; color: #ffffff; font-family: MS Sans Serif\"><b>ประเภท</b></span>\n </p>\n</td>\n<td bgColor=\"#cccccc\" width=\"43%\" vAlign=\"top\">\n<p align=\"center\">\n <span style=\"font-size: x-small; color: #ffffff; font-family: MS Sans Serif\"><b>ลักษณะ</b></span>\n </p>\n</td>\n<td width=\"33%\" vAlign=\"top\">\n<p align=\"justify\">\n <span style=\"font-size: x-small; font-family: MS Sans Serif\">ตัวอย่าง</span>\n </p>\n</td>\n</tr>\n<tr>\n<td width=\"24%\" vAlign=\"top\">\n<p align=\"justify\">\n <span style=\"font-size: x-small; font-family: MS Sans Serif\">เขตการค้าเสรี</span>\n </p>\n</td>\n<td width=\"43%\" vAlign=\"top\">\n<ol>\n<li><span style=\"font-size: x-small; font-family: MS Sans Serif\">ประเทศสมาชิกยอมเลิกภาษีศุลกากรและข้อจำกัดการค้าให้แก่กัน</span> </li>\n<li><span style=\"font-size: x-small; font-family: MS Sans Serif\">ประเทศที่ไม่ได้เป็นสมาชิกยังคงพบกับภาษีศุลกากรและข้อจำกัดทางการค้า (ซึ่งประเทศสมาชิกแต่ละประเทศกำหนดกันเอง)</span> </li>\n</ol>\n</td>\n<td width=\"33%\" vAlign=\"top\">\n<ul>\n<li><span style=\"font-size: x-small; font-family: MS Sans Serif\">สมาคมการค้าเสรีแห่งยุโรป (EFTA)</span> </li>\n<li><span style=\"font-size: x-small; font-family: MS Sans Serif\">สมาคมการค้าเสรีแห่งละตินอเมริกา (LAFTA)</span> </li>\n</ul>\n</td>\n</tr>\n<tr>\n<td width=\"24%\" vAlign=\"top\">\n<p align=\"justify\">\n <span style=\"font-size: x-small; font-family: MS Sans Serif\">สหภาพศุลกากร</span>\n </p>\n</td>\n<td width=\"43%\" vAlign=\"top\">\n<ol>\n<li><span style=\"font-size: x-small; font-family: MS Sans Serif\">ประเทศสมาชิกยอมเลิกภาษีศุลกากรและข้อจำกัดทางการค้าแก่กัน</span> </li>\n<li><span style=\"font-size: x-small; font-family: MS Sans Serif\">ประเทศที่ไม่ได้เป็นสมาชิกยังต้องพบกับภาษีศุลกากรและข้อจำกัดทางการค้าซึ่งประเทศสมาชิกจะร่วมกันกำหนดเป็นอัตราเดียวกัน</span> </li>\n</ol>\n</td>\n<td width=\"33%\" vAlign=\"top\">\n<p align=\"justify\">\n <span style=\"font-size: x-small; font-family: MS Sans Serif\">ประชาคมเศรษฐกิจยุโรป (EEC)</span>\n </p>\n</td>\n</tr>\n<tr>\n<td width=\"24%\" vAlign=\"top\">\n<p align=\"justify\">\n <span style=\"font-size: x-small; font-family: MS Sans Serif\">ตลาดร่วม</span>\n </p>\n</td>\n<td width=\"43%\" vAlign=\"top\">\n<p align=\"justify\">\n <span style=\"font-size: x-small; font-family: MS Sans Serif\">เปิดโอกาสให้มีการเคลื่อนย้ายสินค้าบริการและปัจจัยการผลิตเข้าออกระหว่างประเทศสมาชิกได้อย่างเสรี</span>\n </p>\n</td>\n<td width=\"33%\" vAlign=\"top\">\n<p align=\"justify\">\n <span style=\"font-size: x-small; font-family: MS Sans Serif\">ประชาคมยุโรป (EC)</span>\n </p>\n</td>\n</tr>\n<tr>\n<td width=\"24%\" vAlign=\"top\">\n<p align=\"justify\">\n <span style=\"font-size: x-small; font-family: MS Sans Serif\">สหภาพเศรษฐกิจ</span>\n </p>\n</td>\n<td width=\"43%\" vAlign=\"top\">\n<p align=\"justify\">\n <span style=\"font-size: x-small; font-family: MS Sans Serif\">เหมือนกับตลาดร่วม นอกจากนี้ ประเทศสมาชิกยังร่วมกันกำหนดนโยบายเศรษฐกิจส่วนรวม</span>\n </p>\n</td>\n<td width=\"33%\" vAlign=\"top\">\n<p align=\"justify\">\n <span style=\"font-size: x-small; font-family: MS Sans Serif\">สหภาพยุโรป (EU)</span>\n </p>\n</td>\n</tr>\n<tr>\n<td width=\"24%\" vAlign=\"top\">\n<p align=\"justify\">\n <span style=\"font-size: x-small; font-family: MS Sans Serif\">การรวมกลุ่มทางเศรษฐกิจอย่างเศรษฐกิจ</span>\n </p>\n</td>\n<td width=\"43%\" vAlign=\"top\">\n<ol>\n<li><span style=\"font-size: x-small; font-family: MS Sans Serif\">นอกจากเคลื่อนย้ายปัจจัยการผลิตได้อย่างเสรีและกำหนดนโยบายเศรษฐกิจร่วมกันแล้วยังใช้เงินอัตราสกุลเดียวกันด้วย</span> </li>\n</ol>\n<p align=\"justify\">\n <span style=\"font-size: x-small; font-family: MS Sans Serif\">มีสถาบันสูงสุดซึ่งทำหน้าที่สูงกว่าสถาบันระดับประเทศ (รัฐสภากลาง) การรวมกลุ่มแบบนี้จึงเป็น “ การรวมกลุ่มทางการเมืองอย่างสมบูรณ์”</span>\n </p>\n</td>\n<td width=\"33%\" vAlign=\"top\"><span style=\"font-size: x-small; font-family: MS Sans Serif\"> </span></td>\n</tr>\n</tbody>\n</table>\n<ol>\n<li> \n<ol>\n<li><b><span style=\"font-size: x-small; color: #000000; font-family: MS Sans Serif\">ความเป็นมาของการรวมกลุ่มทางเศรษฐกิจ</span></b> </li>\n</ol>\n</li>\n</ol>\n<ol>\n<li><span style=\"font-size: x-small; font-family: MS Sans Serif\">การรวมกลุ่มทางเศรษฐกิจเริ่มมีบทบาทสำคัญมากหลังสงครามโลกครั้งที่ 1 (ทศวรรษที่ 1980)</span> </li>\n</ol>\n<p align=\"justify\">\n<span style=\"font-size: x-small; font-family: MS Sans Serif\">โดยที่ช่วงนี้การรวมกลุ่มทางเศรษฐกิจเกิดจาก</span>\n</p>\n<ol>\n<li><span style=\"font-size: x-small; font-family: MS Sans Serif\">ประเทศมหาอำนาจมุ่งมั่นจะเป็นผู้นำในยุคหลังสงครามโลกครั้งที่ 1</span> </li>\n<li><span style=\"font-size: x-small; font-family: MS Sans Serif\">ประเทศอังกฤษและประเทศมหาอำนาจในยุคก่อนพยายามรักษาอำนาจตนไว้</span> </li>\n</ol>\n<ul>\n<li><span style=\"font-size: x-small; font-family: MS Sans Serif\">การรวมกลุ่มระยะนี้กลายมาเป็นสาเหตุสำคัญบางประการหนึ่งของสงครามโลกครั้งที่ 2</span> </li>\n</ul>\n<ol>\n<li><span style=\"font-size: x-small; font-family: MS Sans Serif\">หลังสงครามโลกครั้งที่ 2 มีการจัดตั้ง</span> </li>\n</ol>\n<ul>\n<li><span style=\"font-size: x-small; font-family: MS Sans Serif\">ข้อตกลงทั่วไปว่าด้วยภาษีศุลกากรและการค้า (GATT) เพื่อปฏิรูปการค้าของโลกให้เป็นการค้าเสรี</span> </li>\n<li><span style=\"font-size: x-small; font-family: MS Sans Serif\">กองทุนการเงินระหว่างประเทศ (IMF) เพื่อรักษาเสถียรภาพทางการเงินของโลก</span> </li>\n</ul>\n<ol>\n<li><b><span style=\"font-size: x-small; color: #000000; font-family: MS Sans Serif\">ทศวรรษที่ 1950-1960 มีการจัดตั้ง</span></b> </li>\n</ol>\n<ul>\n<li><span style=\"font-size: x-small; font-family: MS Sans Serif\">“ประชาคมเศรษฐกิจยุโรป” (EEC)</span> </li>\n<li><span style=\"font-size: x-small; font-family: MS Sans Serif\">“สมาคมการค้าเสรีแห่งยุโรป” (EFTA)</span> </li>\n<li><span style=\"font-size: x-small; font-family: MS Sans Serif\">“สมาคมการค้าเสรีแห่งลาตินอเมริกา (LAFTA)</span> </li>\n<li><span style=\"font-size: x-small; font-family: MS Sans Serif\">“กลุ่มประเทศผู้นำส่งน้ำมันออก” (OPEC)</span> </li>\n<li><span style=\"font-size: x-small; font-family: MS Sans Serif\">“สมาคมประชาชาติแห่งเอเซียตะวันออกเฉียงใต้” (ASEAN)</span> </li>\n</ul>\n<ol>\n<li><span style=\"font-size: x-small; font-family: MS Sans Serif\">ทศวรรษที่ 1980 เป็นต้นมา มีการจัดตั้ง</span> </li>\n</ol>\n<ul>\n<li><span style=\"font-size: x-small; font-family: MS Sans Serif\">“ ประชาคมยุโรป” (EC)</span> </li>\n<li><span style=\"font-size: x-small; font-family: MS Sans Serif\">“ เขตการค้าเสรีแห่งอเมริกาเหนือ” (NAFTA)</span> </li>\n<li><span style=\"font-size: x-small; font-family: MS Sans Serif\">“ เขตการค้าเสรีอาเซียน” (AFTA)</span> </li>\n</ul>\n<ol start=\"3\">\n<li> <br />\n<ol start=\"3\">\n<li><span style=\"color: #000000\"><b><span style=\"font-size: x-small; font-family: MS Sans Serif\">การรวมกลุ่มทางเศรษฐกิจทั่วไป</span></b> </span></li>\n</ol>\n</li>\n</ol>\n<ol>\n<li><span style=\"color: #000000\"><span style=\"font-size: x-small; font-family: MS Sans Serif\">ธนาคารโลก (WORLD BANK)</span> </span></li>\n</ol>\n<ul>\n<li><span style=\"color: #000000\"><span style=\"font-size: x-small; font-family: MS Sans Serif\">ธนาคารโลกมีหน้าที่ให้ความช่วยเหลือแก่ประเทศกำลังพัฒนาทางด้านการเงิน และวิทยาการโดยผ่านสถาบันในเครือ เช่น IDA, IFC</span> </span></li>\n<li><span style=\"color: #000000\"><span style=\"font-size: x-small; font-family: MS Sans Serif\">ด้านการเงิน : ธนาคารโลกจะทำให้เงินกู้ระยะยาว ที่มีดอกเบี้ย เพื่อให้ประเทศกำลังพัฒนานำไปใช้พัฒนาเศรษฐกิจ</span> </span></li>\n<li><span style=\"color: #000000\"><span style=\"font-size: x-small; font-family: MS Sans Serif\">ด้านวิทยาการ : ธนาคารโลกมีบทบาทต่อการกำหนดนโยบายและกลยุทธ์ในการพัฒนาเศรษฐกิจและสังคมของประเทศลูกหนี้ เช่น เสนอให้มีแผนพัฒนาเศรษฐกิจ และเสนอแนวนโยบายในแผนพัฒนาเศรษฐกิจ</span> </span></li>\n</ul>\n<ol>\n<li><span style=\"font-size: x-small; color: #000000; font-family: MS Sans Serif\">กองทุนการเงินระหว่างประเทศ (INTERNATIONAL MONETARY FUND-IMF) </span></li>\n</ol>\n<ul>\n<li><span style=\"color: #000000\"><span style=\"font-size: x-small; font-family: MS Sans Serif\">ทำหน้าที่ดูแลด้านการค้าและการเงินระหว่างประเทศ โดยดูแลเสถียรภาพอัตราแลกเปลี่ยนเงินตราระหว่างประเทศ และดุลการชำระเงินให้ราบรื่น</span> </span></li>\n</ul>\n<p align=\"justify\">\n<span style=\"font-size: x-small; color: #000000; font-family: MS Sans Serif\">** IMF จะให้เงินกู้ระยะสั้นแก่ประเทศสมาชิก เพื่อนำไปใช้แก้ปัญหาเกี่ยวกับดุลการชำระเงินและอัตราแลกเปลี่ยนเงินตราของประเทศ</span>\n</p>\n<ul>\n<li><span style=\"color: #000000\"><span style=\"font-size: x-small; font-family: MS Sans Serif\">วิวัฒนาการการรักษาอัตราแลกเปลี่ยน</span> </span></li>\n</ul>\n<ol>\n<li><span style=\"color: #000000\"><span style=\"font-size: x-small; font-family: MS Sans Serif\">ระบบเบรตตันวูดส์ คือ ใช้ระบบอัตราแลกเปลี่ยนแบบคงที่และเทียบค่าเงินของประเทศต่าง ๆ กับค่าเงินดอลล่าร์สหรัฐอเมริกา</span> </span></li>\n<li><span style=\"color: #000000\"><span style=\"font-size: x-small; font-family: MS Sans Serif\">ระบบอัตราแลกเปลี่ยนแบบลอยตัว และควบคุม โดยให้อัตราแลกเปลี่ยนขึ้นกับภาวการณ์ของประเทศสมาชิก โดยเทียบค่าเงินของประเทศกับเงินสกุลใดก็ได้</span> </span></li>\n</ol>\n<ol>\n<li><span style=\"color: #000000\"><b><span style=\"font-size: x-small; font-family: MS Sans Serif\">องค์การการค้าโลก (GAFF, WTO)</span></b> </span><br />\n<p align=\"justify\">\n <span style=\"font-size: x-small; color: #000000; font-family: MS Sans Serif\">วัตถุประสงค์ ปฏิรูปการค้าของโลกให้เป็นเสรี</span>\n </p>\n<p align=\"justify\">\n <span style=\"font-size: x-small; color: #000000; font-family: MS Sans Serif\">- สินค้าที่อยู่ภายใต้ WTO ส่วนมากเป็นสินค้าหัตถอุตสาหกรรมจากประเทศพัฒนาแล้ว ไม่รวมสินค้าเกษตรกรรมและผลิตภัณฑ์สิ่งทอ ทำให้ประเทศที่ ได้เปรียบ</span>\n </p>\n</li>\n<li><span style=\"color: #000000\"><b><span style=\"font-size: x-small; font-family: MS Sans Serif\">การประชุมว่าด้วยการค้าและการพัฒนาของสหประชาชาติ (UNCTAD)</span></b> </span></li>\n</ol>\n<ol>\n<li><span style=\"color: #000000\"><span style=\"font-size: x-small; font-family: MS Sans Serif\">เกิดจากการรวมกลุ่มของประเทศ กลุ่มไม่ฝักใฝ่ฝ่ายใด เพื่อช่วยเหลือด้านการค้า และการพัฒนาของประเทศกำลังพัฒนา</span> </span></li>\n<li><span style=\"color: #000000\"><span style=\"font-size: x-small; font-family: MS Sans Serif\">นโยบาย</span> </span></li>\n</ol>\n<ul>\n<li><span style=\"color: #000000\"><span style=\"font-size: x-small; font-family: MS Sans Serif\">เน้นประเทศกำลังพัฒนา</span> </span></li>\n<li><span style=\"color: #000000\"><span style=\"font-size: x-small; font-family: MS Sans Serif\">ให้แต่ละประเทศจัดการด้านเศรษฐกิจของตนอย่างเสรี</span> </span></li>\n<li><span style=\"color: #000000\"><span style=\"font-size: x-small; font-family: MS Sans Serif\">ส่งเสริมให้ประเทศกำลังพัฒนามีการรวมกลุ่มทางเศรษฐกิจ</span> </span></li>\n</ul>\n<ol>\n<li><span style=\"color: #000000\"><span style=\"font-size: x-small; font-family: MS Sans Serif\">มีกลุ่ม 2 กลุ่มใน UNCTAD ที่กำหนดแนวทางของกลุ่มก่อนการประชุม คือ “กลุ่มประเทศ 77” ซึ่งเป็นกลุ่มของประเทศกำลังพัฒนาและ “องค์การความร่วมมือทางเศรษฐกิจและการพัฒนา” (OECD) ซึ่งเป็นกลุ่มของประเทศพัฒนาแล้ว</span> </span></li>\n<li><span style=\"color: #000000\"><span style=\"font-size: x-small; font-family: MS Sans Serif\">บทบาทและอิทธิพล</span> </span></li>\n</ol>\n<ul>\n<li><span style=\"color: #000000\"><span style=\"font-size: x-small; font-family: MS Sans Serif\">ผลักดันให้เกิดการให้สิทธิพิเศษทางภาษีศุลกากรเป็นการทั่วไป (GSP) ทำให้ประเทศกำลังพัฒนาส่งสินค้าเข้าไปขายยังประเทศพัฒนาแล้วได้ในต้นทุนที่ต่ำกว่า</span> </span></li>\n</ul>\n<p align=\"center\">\n<span style=\"font-size: x-small; color: #000000; font-family: MS Sans Serif\"><b>*** สินค้าที่ระบุใน GSP ส่วนมากจะเป็นสินค้าหัตถกรรมและหัตถอุตสาหกรรม ***</b></span>\n</p>\n<ol start=\"3\">\n<li> <br />\n<ol start=\"3\">\n<li><span style=\"color: #000000\"><span style=\"font-size: x-small; font-family: MS Sans Serif\">การรวมกลุ่มทางเศรษฐกิจเฉพาะบางภูมิภาค</span> </span></li>\n</ol>\n</li>\n</ol>\n<ol>\n<li><span style=\"color: #000000\"><span style=\"font-size: x-small; font-family: MS Sans Serif\">สหภาพยุโรป (EUROPEAN UNITY : EU)</span> </span></li>\n</ol>\n<ul>\n<li><span style=\"font-size: x-small; color: #000000; font-family: MS Sans Serif\">ประเทศสมาชิก 12 ประเทศ คือ ฝรั่งเศส เยอรมนี อิตาลี เบลเยียม เนเธอร์แลนด์ ลักเซมเบิรก์ อังกฤษ เดนมาร์ก ไอซ์แลนด์ กรีซ สเปน และโปรตุเกส </span></li>\n<li><span style=\"color: #000000\"><span style=\"font-size: x-small; font-family: MS Sans Serif\">สำนักงานใหญ่ กรุงบรัสเซอส์ เบลเยียม</span> </span></li>\n<li><span style=\"color: #000000\"><span style=\"font-size: x-small; font-family: MS Sans Serif\">จุดประสงค์สำคัญ เป็น ตลาดร่วม และใช้นโยบายเศรษฐกิจร่วมกัน</span> </span></li>\n</ul>\n<ol>\n<li><span style=\"color: #000000\"><b><span style=\"font-size: x-small; font-family: MS Sans Serif\">สมาคมการค้าเสรีแห่งยุโรป (EUROPEAN FREE TRADE ASSOCIATION : EFTA)</span></b> </span></li>\n</ol>\n<ul>\n<li><span style=\"color: #000000\"><span style=\"font-size: x-small; font-family: MS Sans Serif\">ประเทศสมาชิก 7 ประเทศ คือ สวีเดน นอร์เวย์ ฟินแลนด์ ไอซ์แลนด์ สวิตเซอร์แลนด์ ออสเตรีย และลิกเตนส์ไตน์</span> </span></li>\n<li><span style=\"color: #000000\"><span style=\"font-size: x-small; font-family: MS Sans Serif\">สำนักงานใหญ่ เมืองเจนีวา สวิตเซอร์แลนด์</span> </span></li>\n<li><span style=\"color: #000000\"><span style=\"font-size: x-small; font-family: MS Sans Serif\">จุดประสงค์สำคัญ เขตการค้าเสรี</span> </span></li>\n</ul>\n<ul>\n<li><span style=\"color: #000000\"><span style=\"font-size: x-small; font-family: MS Sans Serif\">เมื่อปี 2534 EFTA และ EC ได้ลงนามร่วมจัดตั้งเขตเศรษฐกิจแบบใหม่ (EUROPEAN ECONOMIC AREA : EEA) เพื่อให้การเคลื่อนปัจจัยการผลิตระหว่างประเทศสมาชิกทั้ง 2 กลุ่มเป็นไปอย่างเสรีทั้งนี้ไม่รวมภาคเกษตรกรรม *</span> </span></li>\n</ul>\n<ol>\n<li><span style=\"color: #000000\"><b><span style=\"font-size: x-small; font-family: MS Sans Serif\">เขตการค้าเสรีอเมริกาเหนือ (NORTH AMERICA FREE TRADE AREA : NAFTA)</span></b> </span></li>\n</ol>\n<ul>\n<li><span style=\"color: #000000\"><span style=\"font-size: x-small; font-family: MS Sans Serif\">ประเทศสมาชิก 4 ประเทศ คือ สหรัฐอเมริกา แคนาดา และเม็กซิโก</span> </span></li>\n<li><span style=\"color: #000000\"><span style=\"font-size: x-small; font-family: MS Sans Serif\">จุดประสงค์สำคัญ ร่วมมือกันด้านภาษีนำเข้า การลงทุนและการเคลื่อนย้ายแรงงานระหว่างประเทศ ด้านพลังงานและการคุ้มครองสิทธิในทรัพย์สินทางปัญญา</span> </span></li>\n</ul>\n<ol>\n<li><span style=\"color: #000000\"><b><span style=\"font-size: x-small; font-family: MS Sans Serif\">กลุ่มตลาดร่วมอเมริกากลาง (CAEI)</span></b> </span></li>\n</ol>\n<ul>\n<li><span style=\"color: #000000\"><span style=\"font-size: x-small; font-family: MS Sans Serif\">ประเทศสมาชิก คอสตาริกา เอลซัลวาดอร์ กัลเตมาลา ฮอนดูรัส นิการากัว</span> </span></li>\n<li><span style=\"color: #000000\"><span style=\"font-size: x-small; font-family: MS Sans Serif\">วัตถุประสงค์ เพื่อสร้างตลาดร่วมในกลุ่มสมาชิก</span> </span></li>\n</ul>\n<ol>\n<li><span style=\"color: #000000\"><b><span style=\"font-size: x-small; font-family: MS Sans Serif\">สมาคมการค้าเสรีแห่งละตินอเมริกา (LAFTA)</span></b> </span></li>\n</ol>\n<ul>\n<li><span style=\"color: #000000\"><span style=\"font-size: x-small; font-family: MS Sans Serif\">ประเทศสมาชิก 11 ประเทศ คือ อาร์เจติน่า โบลิเวีย บราซิล ชิลี โคลัมเบีย เอกวาดอร์ เม็กซิโก้ ปารากวัย เปรู อุรุกวัย เวเนซูเอลา</span> </span></li>\n<li><span style=\"color: #000000\"><span style=\"font-size: x-small; font-family: MS Sans Serif\">วัตถุประสงค์สำคัญ สนับสนุนการค้าเสรีในกลุ่มประเทศ และสนับสนุนให้มีอุตสาหกรรมที่ผลิตสินค้าที่ใช้ร่วมกันในการพัฒนาด้านการเกษตร</span> </span></li>\n</ul>\n<ol>\n<li><span style=\"color: #000000\"><b><span style=\"font-size: x-small; font-family: MS Sans Serif\">สมาคมอาเซียน (ASEAN)</span></b> </span></li>\n</ol>\n<ul>\n<li><span style=\"color: #000000\"><span style=\"font-size: x-small; font-family: MS Sans Serif\">ประเทศสมาชิก 10 ประเทศ คือ สิงค์โปร์ ไทย มาเลเซีย อินโดนีเซีย ฟิลิปปินส์ บรูไน เวียดนาม พม่า ลาว และกัมพูชา</span> </span></li>\n<li><span style=\"color: #000000\"><span style=\"font-size: x-small; font-family: MS Sans Serif\">สำนักงานใหญ่ เมืองจาการ์ตา อินโดนีเซีย</span> </span></li>\n<li><span style=\"font-size: x-small; color: #000000; font-family: MS Sans Serif\">จุดประสงค์สำคัญ เป็น เขตการค้าเสรี และร่วมมือทางด้านเศรษฐกิจ (อุตสาหกรรม เกษตรคมนาคมขนส่ง) รวมทั้งร่วมมือกันด้านสังคมและการเมือง </span></li>\n</ul>\n<ul>\n<li><span style=\"color: #000000\"><span style=\"font-size: x-small; font-family: MS Sans Serif\">อาเซียนมีนโยบายกำหนดให้เอเซียตะวันออกเฉียงใต้เป็นเขตสันติภาพ เสรีภาพและความเป็นกลาง</span> </span></li>\n</ul>\n<p align=\"justify\">\n<span style=\"font-size: x-small; color: #000000; font-family: MS Sans Serif\"><b>การร่วมมือกันทางอุตสาหกรรม ของ ASEAN</b></span>\n</p>\n<ol>\n<li><span style=\"color: #000000\"><span style=\"font-size: x-small; font-family: MS Sans Serif\">ประเทศสมาชิกเลือกผลิตชิ้นส่วนหรืออุปกรณ์สินค้าอุตสาหกรรมที่ตนถนัดและส่งขายให้แก่กัน โดยยกเว้นภาษีขาเข้า</span> </span></li>\n<li><span style=\"color: #000000\"><span style=\"font-size: x-small; font-family: MS Sans Serif\">คัดเลือกและส่งเสริมโครงการอุตสาหกรรมที่เหมาะสมที่จะจัดตั้งในประเทศสมาชิก</span> </span></li>\n</ol>\n<ul>\n<li><span style=\"color: #000000\"><span style=\"font-size: x-small; font-family: MS Sans Serif\">โครงการแอมโมเนีย-ยูเรียจัดตั้งที่ อินโดนีเซียและมาเลเซีย</span> </span></li>\n<li><span style=\"color: #000000\"><span style=\"font-size: x-small; font-family: MS Sans Serif\">โครงการปุ๋ยฟอสเฟตจัดตั้งที่ ฟิลิปปินส์</span> </span></li>\n<li><span style=\"color: #000000\"><span style=\"font-size: x-small; font-family: MS Sans Serif\">โครงการผลิตเครื่องยนต์ดีเซลจัดตั้งที่ สิงค์โปร์</span> </span></li>\n<li><span style=\"color: #000000\"><span style=\"font-size: x-small; font-family: MS Sans Serif\">โครงการหินเกลือโซดาแอซจัดตั้งที่ ไทย</span> </span></li>\n<li><span style=\"color: #000000\"><span style=\"font-size: x-small; font-family: MS Sans Serif\">ความมุ่งหมายต่อไป ค่อยๆ คิดภาษีศุลกากรสำหรับสินค้าส่วนใหญ่ที่ค้าขายกันได้เหลือร้อยละ 5 ภายใน 15 ปี ( จนกลายเป็นข้อตกลงการค้า เสรีอาเซียน : AFTA)</span> </span></li>\n</ul>\n<ol>\n<li><span style=\"color: #000000\"><span style=\"font-size: x-small; font-family: MS Sans Serif\">เอเปค ( Asia – Pacific Economic Cooperation : APEC)</span> </span></li>\n</ol>\n<ul>\n<li><span style=\"color: #000000\"><span style=\"font-size: x-small; font-family: MS Sans Serif\">ประเทศสมาชิก 15 ประเทศ คือ ออสเตรเลีย บรูไน แคนนาดา อินโดนีเซีย ญี่ปุ่น มาเลซีย นิวซีแลนด์ ฟิลิปปินส์ สิงค์โปร เกาหลีใต้ สหรัฐอเมริกา ไทย สาธารณรัฐประชาชนจีน ไต้หวัน และฮ่องกง</span> </span></li>\n<li><span style=\"color: #000000\"><span style=\"font-size: x-small; font-family: MS Sans Serif\">จุดประสงค์สำคัญ ส่งเสริมความร่วมมือในการแก้ปัญหาเศรษฐกิจร่วมกัน ส่งเสริมการค้าเสรีและตั้งรับการรวมเป็นตลาดเดียวของประชาคมยุโรป</span> </span></li>\n</ul>\n<ol>\n<li><span style=\"color: #000000\"><b><span style=\"font-size: x-small; font-family: MS Sans Serif\">กลุ่มประเทศผู้ส่งน้ำมันออก ( Organization of petroleum Exportiong Countries : OPEC )</span></b> </span></li>\n</ol>\n<ul>\n<li><span style=\"color: #000000\"><span style=\"font-size: x-small; font-family: MS Sans Serif\">ประเทศสมาชิก 13 ประเทศ คือ อิหร่าน อิรัก คูเวต ซาอุดิอาระเบีย กาตาร์ สหรัฐอาหรับเอมิเรดส์ ลิเบีย แอลจีเรีย กาบอง ไนจีเรีย เวเนซุเอลา เอกวาดอร์ อินโดนีเซีย</span> </span></li>\n<li><span style=\"color: #000000\"><span style=\"font-size: x-small; font-family: MS Sans Serif\">จุดประสงค์สำคัญ สร้างอำนาจต่อรองในเรื่องของราคาและเงื่อนไขการขายน้ำมัน</span> </span></li>\n</ul>\n<ol start=\"5\">\n<li> <br />\n<ol start=\"5\">\n<li><span style=\"color: #000000\"><b><span style=\"font-size: x-small; font-family: MS Sans Serif\">ผลจากการรวมกลุ่มเศรษฐกิจระหว่างประเทศ</span></b> </span></li>\n</ol>\n</li>\n</ol>\n<ol>\n<li><span style=\"color: #000000\"><span style=\"font-size: x-small; font-family: MS Sans Serif\">มีการเคลื่อนย้ายทุนเข้าไปในกลุ่มประเทศทีมีการรวมกลุ่มเศรษฐกิจมากขึ้น เพื่อลดการกีดันด้านภาษีจากการประเทศนอกกลุ่มประเทศ</span> </span></li>\n<li><span style=\"color: #000000\"><span style=\"font-size: x-small; font-family: MS Sans Serif\">ประเทศที่มีการนำเข้าสินค้าบางประเภทที่ผลิตเองได้ เพราะไม่สามารถแข่งขันกับประเทศในกลุ่มเศรษฐกิจเดียวกัน</span> </span></li>\n<li><span style=\"color: #000000\"><span style=\"font-size: x-small; font-family: MS Sans Serif\">สินค้าส่งออกถูกกีดกันจากกลุ่มประเทศที่ไม่ได้เป็นสมาชิก</span> </span></li>\n</ol>\n<ol>\n<li><span style=\"color: #000000\"><b><span style=\"font-size: x-small; font-family: MS Sans Serif\">ปัญหาการค้าระหว่างประเทศของประเทศกำลังพัฒนา</span></b> </span></li>\n</ol>\n<ol>\n<li> \n<ol>\n<li><span style=\"color: #000000\"><span style=\"font-size: x-small; font-family: MS Sans Serif\">สินค้าออกเป็นสินค้าเกษตรและวัตถุดิบที่มีราคาต่ำ สินค้าเข้าเป็นสินค้าอุตสาหกรรมที่มีราคาสูง ทำให้ขาดดุลการค้าอย่างมาก</span> </span></li>\n<li><span style=\"color: #000000\"><span style=\"font-size: x-small; font-family: MS Sans Serif\">สินค้าออกเป็นสินค้าเกษตรที่ขึ้นกับฤดูกาล ทำให้ได้ผลผลิตน้อย และบางครั้งก็ได้ผลผลิตมากจนราคาตก</span> </span></li>\n<li><span style=\"color: #000000\"><span style=\"font-size: x-small; font-family: MS Sans Serif\">สินค้าเกษตรถูกกีดกันจากประเทศพัฒนาแล้ว เช่น สหรัฐฯ ออกกฎหมาย Farm act ( ให้เงินอุดหนุนสินค้าเกษตรของตนให้ราคาต่ำกว่าตลาดโลก)</span> </span></li>\n<li><span style=\"color: #000000\"><span style=\"font-size: x-small; font-family: MS Sans Serif\">องค์การระหว่างประเทศมีนโยบายที่เป็นผลดีต่อประเทศอุตสาหกรรมมากกว่าประเทศยากจน</span> </span></li>\n</ol>\n</li>\n</ol>\n<ol>\n<li><span style=\"color: #000000\"><b><span style=\"font-size: x-small; font-family: MS Sans Serif\">การลงทุนระหว่างประเทศ</span></b> </span></li>\n</ol>\n<ul>\n<li><span style=\"color: #000000\"><span style=\"font-size: x-small; font-family: MS Sans Serif\">ประเทศที่พัฒนาแล้วมักเข้ามาลงทุนในประเทศกำลังพัฒนา เพื่อลดต้นทุนด้านวัตถุดิบและค่าแรง</span> </span></li>\n</ul>\n<p></p>\n', created = 1720421408, expire = 1720507808, headers = '', serialized = 0 WHERE cid = '3:f9eee35f68e503b6fd095584d20fae7f' in /home/tgv/htdocs/includes/cache.inc on line 112.

ประชาคมเศรษฐกิจยุโรป

เศรษฐกิจระหว่างประเทศ

 การค้าระหว่างประเทศ

สาเหตุของการค้าระหว่างประเทศ ได้แก่

  1. ความแตกต่างทางด้านกายภาพ โดยเฉพาะด้านทรัพยากรธรรมชาติ
  2. ความแตกต่างทางด้านความชำนาญในการผลิต
  1.  
    1. ประโยชน์ของการค้าระหว่างประเทศ
  1. ประเทศผู้นำเข้าได้สินค้าที่ผลิตไม่ได้มาสนองความต้องการในราคาที่ถูกและคุณภาพดี
  2. ประเทศผู้ส่งออกสามารถขยายตลาดสินค้าของตนให้กว้างมากขึ้น และมีรายได้เข้าประเทศมากขึ้น
  1.  
    1. ดุลการค้าระหว่างประเทศ
  1. ดุลการค้าระหว่างประเทศ คือ การเปรียบเทียบมูลค่าสินค้าออกกับมูลค้าสินค้าเข้าในระยะเวลา 1 ปี
  2. ดุลการค้าแบ่งได้ออก 3 ลักษณะคือ
  • ดุลการค้าสมดุล คือ มูลค่าสินค้าออกเท่ากับมูลค่าสินค้าเข้า
  • ดุลการค้าขาดดุล คือ มูลค่าสินค้าออกน้อยกว่ามูลค่าสินค้าเข้า
  • ดุลการค้าเกินดุล คือ มูลค่าสินค้าออกมากกว่ามูลค่าสินค้าเข้า
  1.  
    1. นโยบายการค้าระหว่างประเทศ
  1. นโยบายการค้าเสรี มีลักษณะสำคัญคือ ส่งเสริมให้การค้าระหว่างประเทศกระทำกันได้อย่างเสรี โดยรัฐบาลเข้าไปเกี่ยวข้องน้อยมาก คือ
  • ใช้หลักการแบ่งงานกันทำ คือ เลือกผลิตเฉพาะสินค้าที่ประเทศมีความชำนาญในการผลิต
  • ไม่มีการเก็บภาษีเพื่อคุ้มกัน แต่เก็บภาษีเพื่อเป็นรายได้ของรัฐ
  • ไม่มีการให้สิทธิพิเศษหรือไม่มีข้อจำกัดทางการค้ากับประเทศต่าง ๆ
  • ปัจจุบัน ไม่มีประเทศใดใช้นโยบายการค้าเสรี
  1. นโยบายการค้าคุ้มกัน มีลักษณะสำคัญคือ รัฐบาลใช้เครื่องมือต่าง ๆ เพื่อกีดกันการนำสินค้าเข้าออก ได้แก่
  • กำแพงภาษี คือ เก็บภาษีนำเข้าในอัตราสูง
  • การควบคุมปริมาณสินค้าเข้าและออก
  • การให้ความอุดหนุนเพื่อคุ้มครองอุตสาหกรรมภายในประเทศและส่งเสริมสินค้าออก เช่น ยกเว้นภาษีสำหรับสินค้าออก
  • ประเทศต่าง ๆ ใช้นโยบายการค้าคุ้มกันเพื่อ
  • คุ้มครองอุตสาหกรรมภายในประเทศ
  • ป้องกันการทุ่มตลาด (กำหนดราคาสินค้าต่ำกว่าทุนในช่วงแรก เมื่อสินค้าติดตลาด จะขึ้นราคาสินค้าภายหลัง)
  • แก้ปัญหาดุลการค้าขาดดุล
  • ช่วยเหลือประเทศในยามฉุกเฉิน เช่น ยามสงครามไม่ให้ส่งสินค้าจำเป็น
  1. การแลกเปลี่ยนเงินตราต่างประเทศ
    1. อัตราการแลกเปลี่ยนเงินตราต่างประเทศ
  1. ความสำคัญของการแลกเปลี่ยนอัตราการแลกเปลี่ยนเงินตราต่างประเทศมีผลต่อสินค้าเข้า สินค้าออกและดุลการค้า
  1. ถ้ามีการลดค่าเงินของประเทศ
  • ราคาสินค้าออกจะถูกลงในสายตาคนต่างชาติ ทำให้สินค้าออกมีปริมาณเพิ่มขึ้น
  • ราคาสินค้าเข้าจะแพงขึ้นในสายตาคนในประเทศ ทำให้สินค้าเข้ามีปริมาณลดลง
  1. ถ้ามีการเพิ่มค่าเงินของประเทศ
  • ราคาสินค้าออกจะแพงขึ้นในสายตาคนต่างชาติ ทำให้สินค้าออกมีปริมาณลดลง
  • ราคาสินค้าเข้าจะถูกลงในสายตาคนในประเทศ ทำให้สินค้าเข้ามีปริมาณเพิ่มขึ้น

ผลจากการเปลี่ยนค่าของเงินของประเทศ

ลดค่าเงิน

เพิ่มค่าเงิน

ราคาค่าเงินของประเทศ

   

ราคาสินค้าออก (คิดเป็นเงินต่างประเทศ)

   

ราคาสินค้าเข้า (คิดเป็นเงินในประเทศ)

   

การไปท่องเที่ยวต่างประเทศ

   

ชาวต่างชาติมาเที่ยวในประเทศ

   

หนี้สินที่ติดต่างประเทศ

   

หนี้สินที่ต่างประเทศค้าง

   

ภาระหนี้สินที่ติดต่างประเทศ

   

ภาระหนี้สินที่ต่างประเทศค้าง

   
  1. ระบบอัตราแลกเปลี่ยน
  1. ระบบอัตราแลกเปลี่ยนคงที่ : รัฐกำหนดให้อัตราแลกเปลี่ยนอยู่ระดับคงที่เป็นเวลานาน
  2. ระบบอัตราแลกเปลี่ยนที่ถูกกับเงินสกุลอื่น ๆ : รัฐกำหนดอัตราแลกเปลี่ยนให้คงที่ แต่เปิดโอกาสให้ปรับอัตราแบบค่อยเป็นไปได้บ้างในกรณีที่ขาดดุลการชำระเงินมาก
  3. ระบบอัตราแลกเปลี่ยนเสรีหรือลอยตัว : รัฐจะปล่อยให้อัตราแลกเปลี่ยนเคลื่อนไหวอย่างเสรีโดยไม่เข้าไปแทรกแซง
  4. ระบบอัตราแลกเปลี่ยนกึ่งลอยตัว : รัฐจะเข้าไปซื้อขายเงินตราต่างประเทศเพื่อปรับอัตราแลกเปลี่ยนให้เคลื่อนไหวไปในทิศทางที่ต้องการได้บ้าง
  5. ระบบควบคุมการแลกเปลี่ยนเงินตรา : รัฐเข้าแทรกแซงโดยควบคุมการแลกเปลี่ยนเงินจากต่างประเทศ
  • ระบบอัตราการแลกเปลี่ยนแบบคงที่และแบบเสรีไม่มีใช้ในปัจจุบัน
  • มีการใช้ระบบอัตราการแลกเปลี่ยนแบบกึ่งลอยตัวและแบบที่ถูกกับเงินตราสกุลอื่นกันมากในปัจจุบัน
  • ระบบการควบคุมการแลกเปลี่ยนเงินตรามีไว้ใช้ในประเทศไม่มากนัก
  1. ประเทศไทย ใช้ระบบอัตราแลกเปลี่ยนดังนี้
  • ระบบกึ่งลอยตัว : โดยรัฐนำค่าเงินบาทไปเชื่อมโยงกับเงินตราสกุลสำคัญ ๆ หลายสกุล (BASKET OF CURRENCIES)
  • กำหนดเป็นอัตราประจำ
  • ใช้ทุนรักษาระดับอัตราแลกเปลี่ยนเงินตราเข้าแทรกแซงเพื่อรักษาค่าเงินบาทให้มีเสถียรภาพ
  1. เงินตราสกุลสำคัญที่ไทยใช้เชื่อมโยงค่าเงินในปัจจุบัน ได้แก่ ดอลล่าร์สหรัฐ ปอนด์สเตอริง มาร์กเยอรมนี เยน ดอลลาร์ฮ่องกง ดอลล่าร์บรูไน ริงกิตมาเลเซีย เปโซฟิลลิปปินส์ และรูเปียอินโดนีเซีย
  1. ดุลการชำระเงินระหว่างประเทศ
    1. ดุลการชำระเงินประเทศ
  1. ดุลการชำระเงินเป็นบัญชีแสดงฐานะเศรษฐกิจของประเทศ โดยเปรียบเทียบระหว่างเงินเข้าประเทศ (รายรับ) และเงินออกจากประเทศ (รายจ่าย)
  2. เมื่อเงินเข้าประเทศมีมากกว่าเงินที่ออกนอกประเทศ = ดุลการชำระเงิน

- ทุน ของประเทศจะเพิ่มขึ้น ส่งผลให้

  1. ประเทศสามารถพิมพ์ธนบัตรออกใช้มากขึ้น
  2. ระดับอัตราแลกเปลี่ยนเงินตราระหว่างประเทศของประเทศมีเสถียรภาพ(ค่าของเงินประเทศ )
  3. เศรษฐกิจของประเทศมีเสถียรภาพในสายตาของต่างประเทศ
  1. เมื่อเงินออกนอกประเทศมากกว่าเงินที่เข้าประเทศ = ดุลการชำระเงิน
  • เศรษฐกิจของประเทศจะไม่ดี คือ มีภาวะเงินฝืด
  • ทุนสำรองระหว่างประเทศจะ ส่งผลให้
  1. ระดับอัตราแลกเปลี่ยนเงินตราระหว่างประเทศของประเทศไม่มีเสถียรภาพ (ค่าของเงินประเทศ )
  2. เศรษฐกิจของประเทศดูไม่มีเสถียรภาพในสายตาของต่างประเทศ
  1.  
    1. ส่วนประกอบของดุลการชำระเงิน
  1. บัญชีเดินสะพัด ประกอบด้วยบัญชีดุลการค้า บัญชีดุลบริการ และบัญชีดุลบริจาค (ดุลเงินโอน)
  • ดุลการค้า : แสดงมูลค่าสินค้าออกและสินค้าเข้า
  • ดุลบริการ : แสดงมูลค่าบริการระหว่างประเทศ
  • ดุลบริจาค : (ดุลเงินโอน) แสดงการรับและให้เงินช่วยเหลือจากต่างประเทศ
  1. บัญชีทุนเคลื่อนย้าย : รายการลงทุน หรือกู้เงินข้ามชาติ
  2. บัญชีทุนสำรองระหว่างประเทศ : เป็นยอดสรุปของดุลการชำระเงิน

** ทุนสำรองระหว่างประเทศประกอบด้วย เงินตราต่างประเทศ ทองคำ หลักทรัพย์ที่ธนาคารกลางถือไว้ และสิทธิถอนพิเศษ (SDR)

  1.  
    1. การแก้ไขปัญหาดุลการชำระเงินขาดดุล
  1. การเพิ่มรายได้
  • ส่งเสริมให้มีสินค้าขาออกมาก ๆ โดยลดภาษีขาออก หาตลาดนอกประเทศ , ปรับปรุงคุณภาพสินค้า , รัฐบาลยกเว้นภาษีวัตถุดิบสำหรับสินค้าอุตสาหกรรมในประเทศ
  • ชักจูงให้ชาวต่างประเทศเดินทางเข้ามาเที่ยวหรือลงทุนมากขึ้น
  1. การลดรายจ่าย
  • ส่งเสริมให้ประชาชนประหยัด
  • ลดการสั่งสินค้าเข้าโดยใช้มาตรการต่าง ๆ เช่น ตั้งกำแพงภาษี
  1. วิธีการอื่น ๆ
  • ลดค่าเงินประเทศของตน
  • กู้ยืมจากต่างประเทศ
  • ปรับอัตราดอกเบี้ยเงินกู้ภายในประเทศ เพื่อไม่ให้เงินกู้ต่างประเทศไหลเข้ามามาก
  1. การรวมกลุ่มทางเศรษฐกิจระหว่างประเทศ
  1.  
    1. ประเภทของการรวมกลุ่มทางเศรษฐกิจ

ประเภท

ลักษณะ

ตัวอย่าง

เขตการค้าเสรี

  1. ประเทศสมาชิกยอมเลิกภาษีศุลกากรและข้อจำกัดการค้าให้แก่กัน
  2. ประเทศที่ไม่ได้เป็นสมาชิกยังคงพบกับภาษีศุลกากรและข้อจำกัดทางการค้า (ซึ่งประเทศสมาชิกแต่ละประเทศกำหนดกันเอง)
  • สมาคมการค้าเสรีแห่งยุโรป (EFTA)
  • สมาคมการค้าเสรีแห่งละตินอเมริกา (LAFTA)

สหภาพศุลกากร

  1. ประเทศสมาชิกยอมเลิกภาษีศุลกากรและข้อจำกัดทางการค้าแก่กัน
  2. ประเทศที่ไม่ได้เป็นสมาชิกยังต้องพบกับภาษีศุลกากรและข้อจำกัดทางการค้าซึ่งประเทศสมาชิกจะร่วมกันกำหนดเป็นอัตราเดียวกัน

ประชาคมเศรษฐกิจยุโรป (EEC)

ตลาดร่วม

เปิดโอกาสให้มีการเคลื่อนย้ายสินค้าบริการและปัจจัยการผลิตเข้าออกระหว่างประเทศสมาชิกได้อย่างเสรี

ประชาคมยุโรป (EC)

สหภาพเศรษฐกิจ

เหมือนกับตลาดร่วม นอกจากนี้ ประเทศสมาชิกยังร่วมกันกำหนดนโยบายเศรษฐกิจส่วนรวม

สหภาพยุโรป (EU)

การรวมกลุ่มทางเศรษฐกิจอย่างเศรษฐกิจ

  1. นอกจากเคลื่อนย้ายปัจจัยการผลิตได้อย่างเสรีและกำหนดนโยบายเศรษฐกิจร่วมกันแล้วยังใช้เงินอัตราสกุลเดียวกันด้วย

มีสถาบันสูงสุดซึ่งทำหน้าที่สูงกว่าสถาบันระดับประเทศ (รัฐสภากลาง) การรวมกลุ่มแบบนี้จึงเป็น “ การรวมกลุ่มทางการเมืองอย่างสมบูรณ์”

 
  1.  
    1. ความเป็นมาของการรวมกลุ่มทางเศรษฐกิจ
  1. การรวมกลุ่มทางเศรษฐกิจเริ่มมีบทบาทสำคัญมากหลังสงครามโลกครั้งที่ 1 (ทศวรรษที่ 1980)

โดยที่ช่วงนี้การรวมกลุ่มทางเศรษฐกิจเกิดจาก

  1. ประเทศมหาอำนาจมุ่งมั่นจะเป็นผู้นำในยุคหลังสงครามโลกครั้งที่ 1
  2. ประเทศอังกฤษและประเทศมหาอำนาจในยุคก่อนพยายามรักษาอำนาจตนไว้
  • การรวมกลุ่มระยะนี้กลายมาเป็นสาเหตุสำคัญบางประการหนึ่งของสงครามโลกครั้งที่ 2
  1. หลังสงครามโลกครั้งที่ 2 มีการจัดตั้ง
  • ข้อตกลงทั่วไปว่าด้วยภาษีศุลกากรและการค้า (GATT) เพื่อปฏิรูปการค้าของโลกให้เป็นการค้าเสรี
  • กองทุนการเงินระหว่างประเทศ (IMF) เพื่อรักษาเสถียรภาพทางการเงินของโลก
  1. ทศวรรษที่ 1950-1960 มีการจัดตั้ง
  • “ประชาคมเศรษฐกิจยุโรป” (EEC)
  • “สมาคมการค้าเสรีแห่งยุโรป” (EFTA)
  • “สมาคมการค้าเสรีแห่งลาตินอเมริกา (LAFTA)
  • “กลุ่มประเทศผู้นำส่งน้ำมันออก” (OPEC)
  • “สมาคมประชาชาติแห่งเอเซียตะวันออกเฉียงใต้” (ASEAN)
  1. ทศวรรษที่ 1980 เป็นต้นมา มีการจัดตั้ง
  • “ ประชาคมยุโรป” (EC)
  • “ เขตการค้าเสรีแห่งอเมริกาเหนือ” (NAFTA)
  • “ เขตการค้าเสรีอาเซียน” (AFTA)
  1.  
    1. การรวมกลุ่มทางเศรษฐกิจทั่วไป
  1. ธนาคารโลก (WORLD BANK)
  • ธนาคารโลกมีหน้าที่ให้ความช่วยเหลือแก่ประเทศกำลังพัฒนาทางด้านการเงิน และวิทยาการโดยผ่านสถาบันในเครือ เช่น IDA, IFC
  • ด้านการเงิน : ธนาคารโลกจะทำให้เงินกู้ระยะยาว ที่มีดอกเบี้ย เพื่อให้ประเทศกำลังพัฒนานำไปใช้พัฒนาเศรษฐกิจ
  • ด้านวิทยาการ : ธนาคารโลกมีบทบาทต่อการกำหนดนโยบายและกลยุทธ์ในการพัฒนาเศรษฐกิจและสังคมของประเทศลูกหนี้ เช่น เสนอให้มีแผนพัฒนาเศรษฐกิจ และเสนอแนวนโยบายในแผนพัฒนาเศรษฐกิจ
  1. กองทุนการเงินระหว่างประเทศ (INTERNATIONAL MONETARY FUND-IMF)
  • ทำหน้าที่ดูแลด้านการค้าและการเงินระหว่างประเทศ โดยดูแลเสถียรภาพอัตราแลกเปลี่ยนเงินตราระหว่างประเทศ และดุลการชำระเงินให้ราบรื่น

** IMF จะให้เงินกู้ระยะสั้นแก่ประเทศสมาชิก เพื่อนำไปใช้แก้ปัญหาเกี่ยวกับดุลการชำระเงินและอัตราแลกเปลี่ยนเงินตราของประเทศ

  • วิวัฒนาการการรักษาอัตราแลกเปลี่ยน
  1. ระบบเบรตตันวูดส์ คือ ใช้ระบบอัตราแลกเปลี่ยนแบบคงที่และเทียบค่าเงินของประเทศต่าง ๆ กับค่าเงินดอลล่าร์สหรัฐอเมริกา
  2. ระบบอัตราแลกเปลี่ยนแบบลอยตัว และควบคุม โดยให้อัตราแลกเปลี่ยนขึ้นกับภาวการณ์ของประเทศสมาชิก โดยเทียบค่าเงินของประเทศกับเงินสกุลใดก็ได้
  1. องค์การการค้าโลก (GAFF, WTO)

    วัตถุประสงค์ ปฏิรูปการค้าของโลกให้เป็นเสรี

    - สินค้าที่อยู่ภายใต้ WTO ส่วนมากเป็นสินค้าหัตถอุตสาหกรรมจากประเทศพัฒนาแล้ว ไม่รวมสินค้าเกษตรกรรมและผลิตภัณฑ์สิ่งทอ ทำให้ประเทศที่ ได้เปรียบ

  2. การประชุมว่าด้วยการค้าและการพัฒนาของสหประชาชาติ (UNCTAD)
  1. เกิดจากการรวมกลุ่มของประเทศ กลุ่มไม่ฝักใฝ่ฝ่ายใด เพื่อช่วยเหลือด้านการค้า และการพัฒนาของประเทศกำลังพัฒนา
  2. นโยบาย
  • เน้นประเทศกำลังพัฒนา
  • ให้แต่ละประเทศจัดการด้านเศรษฐกิจของตนอย่างเสรี
  • ส่งเสริมให้ประเทศกำลังพัฒนามีการรวมกลุ่มทางเศรษฐกิจ
  1. มีกลุ่ม 2 กลุ่มใน UNCTAD ที่กำหนดแนวทางของกลุ่มก่อนการประชุม คือ “กลุ่มประเทศ 77” ซึ่งเป็นกลุ่มของประเทศกำลังพัฒนาและ “องค์การความร่วมมือทางเศรษฐกิจและการพัฒนา” (OECD) ซึ่งเป็นกลุ่มของประเทศพัฒนาแล้ว
  2. บทบาทและอิทธิพล
  • ผลักดันให้เกิดการให้สิทธิพิเศษทางภาษีศุลกากรเป็นการทั่วไป (GSP) ทำให้ประเทศกำลังพัฒนาส่งสินค้าเข้าไปขายยังประเทศพัฒนาแล้วได้ในต้นทุนที่ต่ำกว่า

*** สินค้าที่ระบุใน GSP ส่วนมากจะเป็นสินค้าหัตถกรรมและหัตถอุตสาหกรรม ***

  1.  
    1. การรวมกลุ่มทางเศรษฐกิจเฉพาะบางภูมิภาค
  1. สหภาพยุโรป (EUROPEAN UNITY : EU)
  • ประเทศสมาชิก 12 ประเทศ คือ ฝรั่งเศส เยอรมนี อิตาลี เบลเยียม เนเธอร์แลนด์ ลักเซมเบิรก์ อังกฤษ เดนมาร์ก ไอซ์แลนด์ กรีซ สเปน และโปรตุเกส
  • สำนักงานใหญ่ กรุงบรัสเซอส์ เบลเยียม
  • จุดประสงค์สำคัญ เป็น ตลาดร่วม และใช้นโยบายเศรษฐกิจร่วมกัน
  1. สมาคมการค้าเสรีแห่งยุโรป (EUROPEAN FREE TRADE ASSOCIATION : EFTA)
  • ประเทศสมาชิก 7 ประเทศ คือ สวีเดน นอร์เวย์ ฟินแลนด์ ไอซ์แลนด์ สวิตเซอร์แลนด์ ออสเตรีย และลิกเตนส์ไตน์
  • สำนักงานใหญ่ เมืองเจนีวา สวิตเซอร์แลนด์
  • จุดประสงค์สำคัญ เขตการค้าเสรี
  • เมื่อปี 2534 EFTA และ EC ได้ลงนามร่วมจัดตั้งเขตเศรษฐกิจแบบใหม่ (EUROPEAN ECONOMIC AREA : EEA) เพื่อให้การเคลื่อนปัจจัยการผลิตระหว่างประเทศสมาชิกทั้ง 2 กลุ่มเป็นไปอย่างเสรีทั้งนี้ไม่รวมภาคเกษตรกรรม *
  1. เขตการค้าเสรีอเมริกาเหนือ (NORTH AMERICA FREE TRADE AREA : NAFTA)
  • ประเทศสมาชิก 4 ประเทศ คือ สหรัฐอเมริกา แคนาดา และเม็กซิโก
  • จุดประสงค์สำคัญ ร่วมมือกันด้านภาษีนำเข้า การลงทุนและการเคลื่อนย้ายแรงงานระหว่างประเทศ ด้านพลังงานและการคุ้มครองสิทธิในทรัพย์สินทางปัญญา
  1. กลุ่มตลาดร่วมอเมริกากลาง (CAEI)
  • ประเทศสมาชิก คอสตาริกา เอลซัลวาดอร์ กัลเตมาลา ฮอนดูรัส นิการากัว
  • วัตถุประสงค์ เพื่อสร้างตลาดร่วมในกลุ่มสมาชิก
  1. สมาคมการค้าเสรีแห่งละตินอเมริกา (LAFTA)
  • ประเทศสมาชิก 11 ประเทศ คือ อาร์เจติน่า โบลิเวีย บราซิล ชิลี โคลัมเบีย เอกวาดอร์ เม็กซิโก้ ปารากวัย เปรู อุรุกวัย เวเนซูเอลา
  • วัตถุประสงค์สำคัญ สนับสนุนการค้าเสรีในกลุ่มประเทศ และสนับสนุนให้มีอุตสาหกรรมที่ผลิตสินค้าที่ใช้ร่วมกันในการพัฒนาด้านการเกษตร
  1. สมาคมอาเซียน (ASEAN)
  • ประเทศสมาชิก 10 ประเทศ คือ สิงค์โปร์ ไทย มาเลเซีย อินโดนีเซีย ฟิลิปปินส์ บรูไน เวียดนาม พม่า ลาว และกัมพูชา
  • สำนักงานใหญ่ เมืองจาการ์ตา อินโดนีเซีย
  • จุดประสงค์สำคัญ เป็น เขตการค้าเสรี และร่วมมือทางด้านเศรษฐกิจ (อุตสาหกรรม เกษตรคมนาคมขนส่ง) รวมทั้งร่วมมือกันด้านสังคมและการเมือง
  • อาเซียนมีนโยบายกำหนดให้เอเซียตะวันออกเฉียงใต้เป็นเขตสันติภาพ เสรีภาพและความเป็นกลาง

การร่วมมือกันทางอุตสาหกรรม ของ ASEAN

  1. ประเทศสมาชิกเลือกผลิตชิ้นส่วนหรืออุปกรณ์สินค้าอุตสาหกรรมที่ตนถนัดและส่งขายให้แก่กัน โดยยกเว้นภาษีขาเข้า
  2. คัดเลือกและส่งเสริมโครงการอุตสาหกรรมที่เหมาะสมที่จะจัดตั้งในประเทศสมาชิก
  • โครงการแอมโมเนีย-ยูเรียจัดตั้งที่ อินโดนีเซียและมาเลเซีย
  • โครงการปุ๋ยฟอสเฟตจัดตั้งที่ ฟิลิปปินส์
  • โครงการผลิตเครื่องยนต์ดีเซลจัดตั้งที่ สิงค์โปร์
  • โครงการหินเกลือโซดาแอซจัดตั้งที่ ไทย
  • ความมุ่งหมายต่อไป ค่อยๆ คิดภาษีศุลกากรสำหรับสินค้าส่วนใหญ่ที่ค้าขายกันได้เหลือร้อยละ 5 ภายใน 15 ปี ( จนกลายเป็นข้อตกลงการค้า เสรีอาเซียน : AFTA)
  1. เอเปค ( Asia – Pacific Economic Cooperation : APEC)
  • ประเทศสมาชิก 15 ประเทศ คือ ออสเตรเลีย บรูไน แคนนาดา อินโดนีเซีย ญี่ปุ่น มาเลซีย นิวซีแลนด์ ฟิลิปปินส์ สิงค์โปร เกาหลีใต้ สหรัฐอเมริกา ไทย สาธารณรัฐประชาชนจีน ไต้หวัน และฮ่องกง
  • จุดประสงค์สำคัญ ส่งเสริมความร่วมมือในการแก้ปัญหาเศรษฐกิจร่วมกัน ส่งเสริมการค้าเสรีและตั้งรับการรวมเป็นตลาดเดียวของประชาคมยุโรป
  1. กลุ่มประเทศผู้ส่งน้ำมันออก ( Organization of petroleum Exportiong Countries : OPEC )
  • ประเทศสมาชิก 13 ประเทศ คือ อิหร่าน อิรัก คูเวต ซาอุดิอาระเบีย กาตาร์ สหรัฐอาหรับเอมิเรดส์ ลิเบีย แอลจีเรีย กาบอง ไนจีเรีย เวเนซุเอลา เอกวาดอร์ อินโดนีเซีย
  • จุดประสงค์สำคัญ สร้างอำนาจต่อรองในเรื่องของราคาและเงื่อนไขการขายน้ำมัน
  1.  
    1. ผลจากการรวมกลุ่มเศรษฐกิจระหว่างประเทศ
  1. มีการเคลื่อนย้ายทุนเข้าไปในกลุ่มประเทศทีมีการรวมกลุ่มเศรษฐกิจมากขึ้น เพื่อลดการกีดันด้านภาษีจากการประเทศนอกกลุ่มประเทศ
  2. ประเทศที่มีการนำเข้าสินค้าบางประเภทที่ผลิตเองได้ เพราะไม่สามารถแข่งขันกับประเทศในกลุ่มเศรษฐกิจเดียวกัน
  3. สินค้าส่งออกถูกกีดกันจากกลุ่มประเทศที่ไม่ได้เป็นสมาชิก
  1. ปัญหาการค้าระหว่างประเทศของประเทศกำลังพัฒนา
  1.  
    1. สินค้าออกเป็นสินค้าเกษตรและวัตถุดิบที่มีราคาต่ำ สินค้าเข้าเป็นสินค้าอุตสาหกรรมที่มีราคาสูง ทำให้ขาดดุลการค้าอย่างมาก
    2. สินค้าออกเป็นสินค้าเกษตรที่ขึ้นกับฤดูกาล ทำให้ได้ผลผลิตน้อย และบางครั้งก็ได้ผลผลิตมากจนราคาตก
    3. สินค้าเกษตรถูกกีดกันจากประเทศพัฒนาแล้ว เช่น สหรัฐฯ ออกกฎหมาย Farm act ( ให้เงินอุดหนุนสินค้าเกษตรของตนให้ราคาต่ำกว่าตลาดโลก)
    4. องค์การระหว่างประเทศมีนโยบายที่เป็นผลดีต่อประเทศอุตสาหกรรมมากกว่าประเทศยากจน
  1. การลงทุนระหว่างประเทศ
  • ประเทศที่พัฒนาแล้วมักเข้ามาลงทุนในประเทศกำลังพัฒนา เพื่อลดต้นทุนด้านวัตถุดิบและค่าแรง

สร้างโดย: 
อโนมา 22 วรรณสิกา 26

มหาวิทยาลัยศรีปทุม ผู้ใหญ่ใจดี
 

 ช่วยด้วยครับ
นักเรียนที่สร้างบล็อก กรุณาอย่า
คัดลอกข้อมูลจากเว็บอื่นทั้งหมด
ควรนำมาจากหลายๆ เว็บ แล้ววิเคราะห์ สังเคราะห์ และเขียนขึ้นใหม่
หากคัดลอกทั้งหมด จะถูกดำเนินคดี
ตามกฎหมายจากเจ้าของลิขสิทธิ์
มีโทษทั้งจำคุกและปรับในอัตราสูง

ช่วยกันนะครับ 
ไทยกู๊ดวิวจะได้อยู่นานๆ 
ไม่ถูกปิดเสียก่อน

ขอขอบคุณในความร่วมมือครับ

อ่านรายละเอียด

ด่วน...... ขณะนี้
พระราชบัญญัติลิขสิทธิ์ (ฉบับที่ 2) พ.ศ. 2558 
มีผลบังคับใช้แล้ว 
ขอให้นักเรียนและคุณครูที่ใช้งาน
เว็บ thaigoodview ในการส่งการบ้าน
ระมัดระวังการละเมิดลิขสิทธิ์ด้วย
อ่านรายละเอียดที่นี่ครับ

 

สมาชิกที่ออนไลน์

ขณะนี้มี สมาชิก 0 คน และ ผู้เยี่ยมชม 454 คน กำลังออนไลน์