• user warning: Table 'cache_filter' is marked as crashed and should be repaired query: SELECT data, created, headers, expire, serialized FROM cache_filter WHERE cid = '3:49f495031ae6b13fe3e94d83cb19a7f9' in /home/tgv/htdocs/includes/cache.inc on line 27.
  • user warning: Table 'cache_filter' is marked as crashed and should be repaired query: UPDATE cache_filter SET data = '<!--paging_filter--><p>\n<span style=\"font-size: x-small; font-family: Tahoma\"><b><u>องค์การสหประชาชาต</u></b>ิ ( The United Nations )  </span>\n</p>\n<p>\n<span style=\"font-size: x-small; font-family: Tahoma\"><b>การก่อตั้ง<br />\n</b>        1.  ก่อนสงครามโลกครั้งที่ 2 สิ้นสุด  มหาอำนาจประชุมกันหลายครั้งเพื่อสร้างสันติภาพ  ผู้ที่มีบทบาทสำคัญ  คือ  ประธานาธิบดีแฟรงคลิน ดี รุสเวลต์  แห่ง<br />\nสหรัฐอเมริกา  เซอร์วินสตัน เชอร์ชลส์  นายกรัฐมนตรีอังกฤษ<br />\n        2.  ได้กำหนดกฎบัตรแอตแลนติก  วันที่ 19 สิงหาคม ค.ศ.1941  เพื่อจัดตั้งองค์การเพื่อทำหน้าที่รักษาสันติภาพของโลก  ต่อมาได้ร่วมมือกับประเทศผู้แพ้<br />\nสงคราม  ลงนามในปริญญาสหประชาชาติ  วันที่ 1 มกราคม ค.ศ.1942  เป็นจุดเริ่มต้นของคำว่า  สหประชาชาติ  โดยมีจุดมุ่งหมายเพื่อดำรงไว้ซึ่งสันติภาพและ<br />\nความมั่นคงระหว่างประเทศ<br />\n        3.  ระหว่างวันที่ 21 สิงหาคม , 28 กันยายน ค.ศ.1944  ฝ่ายสัมพันธมิตร  ได้จัดให้มีการประชุมที่กรุงวอชิงตัน  ที่ประชุมเสนอให้มีการจัดตั้ง  องค์การสห<br />\nประชาชาติ  และประชุมอีกครั้งที่สหภาพโซเวียต  เพื่อแก้ความขัดแย้งเรื่องคณะมนตรีความมั่นคง<br />\n        4.  ประเทศต่างๆ 51 ประเทศ  ได้ลงนามรับรองกฎบัตรสหประชาชาติ  ซึ่งมีผลบังคับใช้วันที่ 24 ตุลาคม ค.ศ.1945</span>\n</p>\n<p>\n<span style=\"font-size: x-small; font-family: Tahoma\"><b>วัตถุประสงค์<br />\n</b>        1.  ธำรงไว้ซึ่งสันติภาพและความมั่นคงระหว่างประเทศ  ระงับกรณีพิพาทโดยสันติวิธี<br />\n        2.  พัฒนาสัมพันธ์ไมตรีระหว่างประเทศ<br />\n        3.  แก้ปัญหาเศรษฐกิจ  สังคม  วัฒนธรรม  มนุษยะรรมและสนับสนุนการเคารพสิทธิมนุษยชน<br />\n        4.  เป็นศูนย์กลางความร่วมมือและประสานงานของชาติต่างๆ</span>\n</p>\n<p>\n<span style=\"font-size: x-small; font-family: Tahoma\"><b>โครงสร้างอำนาจและหน้าท</b>ี่<br />\n        <u>สมัชชาใหญ</u>่     เป็นที่ประชุมใหญ่ของประเทศสมาชิก  กำหนดกิจกรรมขององค์การ  รับรายงานเรื่องต่างๆ  ควบคุมงบประมาณ  เลิอกบุคคากรในองค์กรต่างๆ<br />\n        <u>คณะมนตรีความมั่นค</u>ง  มีหน้าที่การรักษาสันติภาพและความมั่นคงระหว่างประเทศ  มีอำนาจในการเข้าไปตรวจสอบข้อขัดแย้งใดๆที่อาจจะกระทบต่อความมั่น<br />\nคงและสันติภาพ  ประกอบด้วยประเทศสมาชิก 15 ชาติ  แบ่งเป็น 2 ประเภท  คือ<br />\n                          -  สมาชิกถาวร  ได้แก่  สหรัฐอเมริกา  โซเวียต  อังกฤษ  ฝรั่งเศส  และจีน<br />\n                          -  สมาชิกไม่ถาวร  ได้แก่  สมาชิกที่ได้รับคะแนนเสียงเลือกตั้ง 10 ประเทศ  ในการลงมติต้องได้รับเสียงไม่ต่ำกว่า 9 เสียงและสมาชิกถาวรต้องไม่ออก<br />\n                            เสียงคัดค้าน  มตินั้นจึงจะถือว่าผ่าน<br />\n        <u>คณะมนตรีเศรษฐกิจและสังคม</u>  :  ประสานงานให้เกิดความร่วมมือทางเศรษฐกิจ  สังคม  และวัฒนธรรม<br />\n        <u>คณะมนตรีภาวะทรัสด</u>ี  :  ให้คำปรึกษาการบริหารดินแดนในภาวะทรัสดี<br />\n        <u>ศาลยุติธรรมระหว่างประเทศ</u>  :  พิพากษาคดีข้อขัดแย้งทางกฎหมายของประเทศต่างๆ หรือหน่วยงานอื่น</span>\n</p>\n<p>\n<span style=\"font-size: x-small; font-family: Tahoma\"><b>องค์การพิเศษอื่นๆ<br />\n</b>        1.  สหประชาชาติจัดตั้งขึ้นเพื่อปฏิบัติหน้าที่ตามความจำเป็นกรณี  เช่น  สำนักงานใหญ่ข้าหลวง  ดำเนินงานช่วยเหลือผู้ลี้ภัย ( United Nations<br />\nCommisiener for Refogees : UNHCR )  โครงการพัฒนาสหประชาชาติ  ( United Nations Development Project : UNDP )<br />\n        2.  คณะมนตรีเศรษฐกิจและสังคม  ประสานงานกับทบวงชำนัญพิเศษ  เพื่อร่วมมือดำเนินกิจกกรมระหว่างประเทศ  ปฏิบัติงานเพื่อยกระดับความเป็นอยู่และ<br />\nสวัสดิภาพของประชาชนในประเทศต่างๆ  เช่น  องค์การอนามัยโลก ( World Health Organixation : WHO )  องค์การวิทยาศาสตร์และวัฒนธรรมแห่งสห<br />\nประชาชาติ ( United Nations Education , Scientific and Cutural Organization : UNESCO )  กองทุนเงินระหว่างประเทศ ( International<br />\nMonelary Fond : IMF )</span>\n</p>\n<p>\n<span style=\"font-size: x-small; font-family: Tahoma\"><b>ข้อจำกัดบทบาทของสหประชาชาติ<br />\n</b>        1.  ปัญหาการใช้สิทธิยับยั้ง<br />\n        2.  ปัญหาค่าใช้จ่ายขององค์การ<br />\n        3.  ปัญหาการขาดอำนาจบังคับอย่างเด็ดขาด<br />\n        4.  ความจำกัดในขอบเขตแห่งการดำเนินงาน<br />\n        5.  การขยายอำนาจและแทรกแซงอำนาจของประเทศมหาอำนาจ    </span>\n</p>\n<p>\n<span style=\"font-size: x-small; font-family: Tahoma\"></span>\n</p>\n', created = 1720421308, expire = 1720507708, headers = '', serialized = 0 WHERE cid = '3:49f495031ae6b13fe3e94d83cb19a7f9' in /home/tgv/htdocs/includes/cache.inc on line 112.
  • user warning: Table 'cache_filter' is marked as crashed and should be repaired query: SELECT data, created, headers, expire, serialized FROM cache_filter WHERE cid = '3:41e7f4f4dd5604edd9c98cfd43ee8089' in /home/tgv/htdocs/includes/cache.inc on line 27.
  • user warning: Table 'cache_filter' is marked as crashed and should be repaired query: UPDATE cache_filter SET data = '<!--paging_filter--><p>\n&nbsp;\n</p>\n<p>\nตรวจแล้ว แก้ไขตัวหนังสือ และรายละเอียดมากกว่านี้\n</p>\n', created = 1720421308, expire = 1720507708, headers = '', serialized = 0 WHERE cid = '3:41e7f4f4dd5604edd9c98cfd43ee8089' in /home/tgv/htdocs/includes/cache.inc on line 112.

องค์การสหประชาชาติ

องค์การสหประชาชาติ ( The United Nations )  

การก่อตั้ง
        1.  ก่อนสงครามโลกครั้งที่ 2 สิ้นสุด  มหาอำนาจประชุมกันหลายครั้งเพื่อสร้างสันติภาพ  ผู้ที่มีบทบาทสำคัญ  คือ  ประธานาธิบดีแฟรงคลิน ดี รุสเวลต์  แห่ง
สหรัฐอเมริกา  เซอร์วินสตัน เชอร์ชลส์  นายกรัฐมนตรีอังกฤษ
        2.  ได้กำหนดกฎบัตรแอตแลนติก  วันที่ 19 สิงหาคม ค.ศ.1941  เพื่อจัดตั้งองค์การเพื่อทำหน้าที่รักษาสันติภาพของโลก  ต่อมาได้ร่วมมือกับประเทศผู้แพ้
สงคราม  ลงนามในปริญญาสหประชาชาติ  วันที่ 1 มกราคม ค.ศ.1942  เป็นจุดเริ่มต้นของคำว่า  สหประชาชาติ  โดยมีจุดมุ่งหมายเพื่อดำรงไว้ซึ่งสันติภาพและ
ความมั่นคงระหว่างประเทศ
        3.  ระหว่างวันที่ 21 สิงหาคม , 28 กันยายน ค.ศ.1944  ฝ่ายสัมพันธมิตร  ได้จัดให้มีการประชุมที่กรุงวอชิงตัน  ที่ประชุมเสนอให้มีการจัดตั้ง  องค์การสห
ประชาชาติ  และประชุมอีกครั้งที่สหภาพโซเวียต  เพื่อแก้ความขัดแย้งเรื่องคณะมนตรีความมั่นคง
        4.  ประเทศต่างๆ 51 ประเทศ  ได้ลงนามรับรองกฎบัตรสหประชาชาติ  ซึ่งมีผลบังคับใช้วันที่ 24 ตุลาคม ค.ศ.1945

วัตถุประสงค์
        1.  ธำรงไว้ซึ่งสันติภาพและความมั่นคงระหว่างประเทศ  ระงับกรณีพิพาทโดยสันติวิธี
        2.  พัฒนาสัมพันธ์ไมตรีระหว่างประเทศ
        3.  แก้ปัญหาเศรษฐกิจ  สังคม  วัฒนธรรม  มนุษยะรรมและสนับสนุนการเคารพสิทธิมนุษยชน
        4.  เป็นศูนย์กลางความร่วมมือและประสานงานของชาติต่างๆ

โครงสร้างอำนาจและหน้าที่
        สมัชชาใหญ่     เป็นที่ประชุมใหญ่ของประเทศสมาชิก  กำหนดกิจกรรมขององค์การ  รับรายงานเรื่องต่างๆ  ควบคุมงบประมาณ  เลิอกบุคคากรในองค์กรต่างๆ
        คณะมนตรีความมั่นคง  มีหน้าที่การรักษาสันติภาพและความมั่นคงระหว่างประเทศ  มีอำนาจในการเข้าไปตรวจสอบข้อขัดแย้งใดๆที่อาจจะกระทบต่อความมั่น
คงและสันติภาพ  ประกอบด้วยประเทศสมาชิก 15 ชาติ  แบ่งเป็น 2 ประเภท  คือ
                          -  สมาชิกถาวร  ได้แก่  สหรัฐอเมริกา  โซเวียต  อังกฤษ  ฝรั่งเศส  และจีน
                          -  สมาชิกไม่ถาวร  ได้แก่  สมาชิกที่ได้รับคะแนนเสียงเลือกตั้ง 10 ประเทศ  ในการลงมติต้องได้รับเสียงไม่ต่ำกว่า 9 เสียงและสมาชิกถาวรต้องไม่ออก
                            เสียงคัดค้าน  มตินั้นจึงจะถือว่าผ่าน
        คณะมนตรีเศรษฐกิจและสังคม  :  ประสานงานให้เกิดความร่วมมือทางเศรษฐกิจ  สังคม  และวัฒนธรรม
        คณะมนตรีภาวะทรัสดี  :  ให้คำปรึกษาการบริหารดินแดนในภาวะทรัสดี
        ศาลยุติธรรมระหว่างประเทศ  :  พิพากษาคดีข้อขัดแย้งทางกฎหมายของประเทศต่างๆ หรือหน่วยงานอื่น

องค์การพิเศษอื่นๆ
        1.  สหประชาชาติจัดตั้งขึ้นเพื่อปฏิบัติหน้าที่ตามความจำเป็นกรณี  เช่น  สำนักงานใหญ่ข้าหลวง  ดำเนินงานช่วยเหลือผู้ลี้ภัย ( United Nations
Commisiener for Refogees : UNHCR )  โครงการพัฒนาสหประชาชาติ  ( United Nations Development Project : UNDP )
        2.  คณะมนตรีเศรษฐกิจและสังคม  ประสานงานกับทบวงชำนัญพิเศษ  เพื่อร่วมมือดำเนินกิจกกรมระหว่างประเทศ  ปฏิบัติงานเพื่อยกระดับความเป็นอยู่และ
สวัสดิภาพของประชาชนในประเทศต่างๆ  เช่น  องค์การอนามัยโลก ( World Health Organixation : WHO )  องค์การวิทยาศาสตร์และวัฒนธรรมแห่งสห
ประชาชาติ ( United Nations Education , Scientific and Cutural Organization : UNESCO )  กองทุนเงินระหว่างประเทศ ( International
Monelary Fond : IMF )

ข้อจำกัดบทบาทของสหประชาชาติ
        1.  ปัญหาการใช้สิทธิยับยั้ง
        2.  ปัญหาค่าใช้จ่ายขององค์การ
        3.  ปัญหาการขาดอำนาจบังคับอย่างเด็ดขาด
        4.  ความจำกัดในขอบเขตแห่งการดำเนินงาน
        5.  การขยายอำนาจและแทรกแซงอำนาจของประเทศมหาอำนาจ    

สร้างโดย: 
น.ส.ภัทรพร บุญสืบมา ม.4/4 เลขที่ 5
รูปภาพของ silavacharee

 

ตรวจแล้ว แก้ไขตัวหนังสือ และรายละเอียดมากกว่านี้

มหาวิทยาลัยศรีปทุม ผู้ใหญ่ใจดี
 

 ช่วยด้วยครับ
นักเรียนที่สร้างบล็อก กรุณาอย่า
คัดลอกข้อมูลจากเว็บอื่นทั้งหมด
ควรนำมาจากหลายๆ เว็บ แล้ววิเคราะห์ สังเคราะห์ และเขียนขึ้นใหม่
หากคัดลอกทั้งหมด จะถูกดำเนินคดี
ตามกฎหมายจากเจ้าของลิขสิทธิ์
มีโทษทั้งจำคุกและปรับในอัตราสูง

ช่วยกันนะครับ 
ไทยกู๊ดวิวจะได้อยู่นานๆ 
ไม่ถูกปิดเสียก่อน

ขอขอบคุณในความร่วมมือครับ

อ่านรายละเอียด

ด่วน...... ขณะนี้
พระราชบัญญัติลิขสิทธิ์ (ฉบับที่ 2) พ.ศ. 2558 
มีผลบังคับใช้แล้ว 
ขอให้นักเรียนและคุณครูที่ใช้งาน
เว็บ thaigoodview ในการส่งการบ้าน
ระมัดระวังการละเมิดลิขสิทธิ์ด้วย
อ่านรายละเอียดที่นี่ครับ

 

สมาชิกที่ออนไลน์

ขณะนี้มี สมาชิก 0 คน และ ผู้เยี่ยมชม 465 คน กำลังออนไลน์