• user warning: Table 'cache_filter' is marked as crashed and should be repaired query: SELECT data, created, headers, expire, serialized FROM cache_filter WHERE cid = '3:7204bb2ec1014af0f7f6693e07e2ac86' in /home/tgv/htdocs/includes/cache.inc on line 27.
  • user warning: Table 'cache_filter' is marked as crashed and should be repaired query: UPDATE cache_filter SET data = '<!--paging_filter--><p>\n<b>กำแพงเบอร์ลิน</b> (<span style=\"color: #0000ff\">เยอรมัน</span>: Berliner Mauer ; <span style=\"color: #0000ff\">อังกฤษ</span>: Berlin Wall) เป็นกำแพงที่กั้น<span style=\"color: #0000ff\">เบอร์ลินตะวันตก</span> ออกจาก<span style=\"color: #0000ff\">เยอรมนีตะวันออก</span>โดยรอบ เริ่มสร้างเพื่อจำกัดการเข้าออกระหว่างเขตเบอร์ลินตะวันออกและตะวันตก เมื่อวันที่ <span style=\"color: #0000ff\">13 สิงหาคม</span> <span style=\"color: #0000ff\">พ.ศ. 2504</span> (ค.ศ. 1961) และตั้งอยู่เป็นระยะเวลา 28 ปี ก่อนจะทลายลงในวันที่ <span style=\"color: #0000ff\">9 พฤศจิกายน</span> <span style=\"color: #0000ff\">พ.ศ. 2532</span> กำแพงเบอร์ลินเป็นสัญลักษณ์ของ<span style=\"color: #0000ff\">สงครามเย็น</span>\n</p>\n<div class=\"thumb tright\">\n<div style=\"width: 252px\" class=\"thumbinner\">\n<span style=\"display: inline-block; font-size: 0px; background-image: none; vertical-align: middle; cursor: hand; border: #888888 1px solid\" class=\"thumbimage\"><span style=\"display: inline-block; filter: progid:DXImageTransform.Microsoft.AlphaImageLoader(src=\'http://upload.wikimedia.org/wikipedia/commons/thumb/e/ea/Berlin-wall-map.png/250px-Berlin-wall-map.png\'); width: 1px; height: 1px\"><span style=\"color: #0000ff\"></span></span></span>\n<div class=\"thumbcaption\">\n<div class=\"magnify\">\n<span style=\"display: inline-block; font-size: 0px; background-image: none; vertical-align: middle; cursor: hand; border-width: 2px; border-color: #0000ff\"><span style=\"display: inline-block; filter: progid:DXImageTransform.Microsoft.AlphaImageLoader(src=\'http://th.wikipedia.org/skins-1.5/common/images/magnify-clip.png\'); width: 1px; height: 1px\"><span style=\"color: #0000ff\"></span></span></span>\n</div>\n<p>แผนที่แนวกำแพงและด่านตรวจ พื้นที่สีขาวคือ<span style=\"color: #0000ff\">เบอร์ลินตะวันตก</span> สีชมพูที่เหลือทั้งหมดคือ<span style=\"color: #0000ff\">เยอรมนีตะวันออก</span>\n</p></div>\n</div>\n</div>\n<p>\nในระหว่างที่กำแพงยังตั้งอยู่นั้น มีความพยายามหลบหนีข้ามเขตแดนราว 5,000 ครั้ง มี 192 คนถูกฆ่าระหว่างการหลบหนี และอีกประมาณ 200 คนบาดเจ็บสาหัส ในช่วงแรกนั้น การหลบหนีเป็นไปอย่างไม่ยากนัก เนื่องจากกำแพงในช่วงแรกเป็นเพียงรั้วลวดหนามเตี้ย ๆ และบางส่วนก็กระโดดออกมาทางหน้าต่างของตึกที่อยู่ติดกับกำแพง แต่ไม่นานนักกำแพงก็เปลี่ยนเป็นคอนกรีตที่แน่นหนา ส่วนหน้าต่างตึกต่าง ๆ ที่อยู่ใกล้กับกำแพงก็ถูกก่ออิฐปิดตาย\n</p>\n<p>\nการหลบหนีครั้งที่ไม่สำเร็จที่โด่งดังที่สุดก็คือ เมื่อครั้งที่นายปีเตอร์ เฟตช์เตอร์ (Peter Fechter) ถูกยิงและปล่อยให้เลือดไหลจนตายต่อหน้าสื่อมวลชนตะวันตก เมื่อวันที่ <span style=\"color: #0000ff\">17 สิงหาคม</span> <span style=\"color: #0000ff\">พ.ศ. 2505</span> (ค.ศ. 1962) ผู้หลบหนีรายสุดท้ายที่ถูกยิงตายคือนาย Chris Gueffroy เมื่อวันที่ <span style=\"color: #0000ff\">6 กุมภาพันธ์</span> <span style=\"color: #0000ff\">พ.ศ. 2532</span> (ค.ศ. 1989)\n</p>\n<p>\n<br />\nในวันที่ <span style=\"color: #0000ff\">9 พฤศจิกายน</span> <span style=\"color: #0000ff\">พ.ศ. 2532</span> นาย Günter Schabowski รัฐมนตรีว่าการกระทรวงโฆษณาการ (Minister of Propaganda) ของเยอรมนีตะวันออกได้แถลงข่าว (ซึ่งภายหลังพบว่าเป็นความเข้าใจที่คลาดเคลื่อนของเขาเอง) ว่าทางการจะอนุญาตให้ชาวเบอร์ลินตะวันออก ผ่านเข้าออกเขตแดนได้อย่างเสรีอีกครั้ง ทันใดนั้นเอง ผู้คนนับหมื่นที่ได้ทราบข่าวก็ได้หลั่งไหลไปยังด่านต่าง ๆ ของกำแพง. หลังจากความโกลาหลอยู่ช่วงหนึ่ง เนื่องจากทางเจ้าหน้าที่รักษาความปลอดภัยยังไม่ได้รับคำสั่งใด ๆ จากทางการ ในที่สุดเจ้าหน้าที่ก็ต้องยอมปล่อยให้ฝูงชนผ่านเขตแดนไปอย่างไม่มีทางเลือก ชาวเบอร์ลินตะวันตกออกมาต้อนรับชาวเบอร์ลินตะวันออก บรรยากาศในเช้ามืดวันนั้นเหมือนงานเฉลิมฉลอง ชาวเยอรมันจึงถือกันว่าวันนี้เป็นวันล่มสลายของกำแพงเบอร์ลิน\n</p>\n<p>\nสำหรับการทุบทำลายตัวกำแพงนั้น เริ่มเมื่อวันที่ <span style=\"color: #0000ff\">13 มิถุนายน</span> <span style=\"color: #0000ff\">พ.ศ. 2533</span> โดยคงเหลือกำแพงบางช่วงไว้เป็นอนุสรณ์ และในภายหลัง ซากกำแพงบางส่วนก็ถูกจำหน่ายเป็นของ<span style=\"color: #0000ff\">ที่ระลึก</span> ส่วนบางส่วนก็ถูกนำไปตั้งแสดงที่อื่นเพื่อเป็นอนุสรณ์ เช่นที่ด้านหน้าสภายุโรป ณ <span style=\"color: #0000ff\">กรุงบรัสเซล</span> <span style=\"color: #0000ff\">ประเทศเบลเยียม</span>\n</p>\n<p>\nการล่มสลายของกำแพงเบอร์ลินนั้น ได้เป็นขั้นตอนแรกของการรวมชาติเยอรมนีในที่สุด เมื่อวันที่ <span style=\"color: #0000ff\">3 ตุลาคม</span> <span style=\"color: #0000ff\">พ.ศ. 2533</span> และได้ถือเอาวันนี้เป็นวันชาติของประเทศเยอรมนีใหม่\n</p>\n', created = 1720420973, expire = 1720507373, headers = '', serialized = 0 WHERE cid = '3:7204bb2ec1014af0f7f6693e07e2ac86' in /home/tgv/htdocs/includes/cache.inc on line 112.

กำแพงเบอร์ลิน

กำแพงเบอร์ลิน (เยอรมัน: Berliner Mauer ; อังกฤษ: Berlin Wall) เป็นกำแพงที่กั้นเบอร์ลินตะวันตก ออกจากเยอรมนีตะวันออกโดยรอบ เริ่มสร้างเพื่อจำกัดการเข้าออกระหว่างเขตเบอร์ลินตะวันออกและตะวันตก เมื่อวันที่ 13 สิงหาคม พ.ศ. 2504 (ค.ศ. 1961) และตั้งอยู่เป็นระยะเวลา 28 ปี ก่อนจะทลายลงในวันที่ 9 พฤศจิกายน พ.ศ. 2532 กำแพงเบอร์ลินเป็นสัญลักษณ์ของสงครามเย็น

แผนที่แนวกำแพงและด่านตรวจ พื้นที่สีขาวคือเบอร์ลินตะวันตก สีชมพูที่เหลือทั้งหมดคือเยอรมนีตะวันออก

ในระหว่างที่กำแพงยังตั้งอยู่นั้น มีความพยายามหลบหนีข้ามเขตแดนราว 5,000 ครั้ง มี 192 คนถูกฆ่าระหว่างการหลบหนี และอีกประมาณ 200 คนบาดเจ็บสาหัส ในช่วงแรกนั้น การหลบหนีเป็นไปอย่างไม่ยากนัก เนื่องจากกำแพงในช่วงแรกเป็นเพียงรั้วลวดหนามเตี้ย ๆ และบางส่วนก็กระโดดออกมาทางหน้าต่างของตึกที่อยู่ติดกับกำแพง แต่ไม่นานนักกำแพงก็เปลี่ยนเป็นคอนกรีตที่แน่นหนา ส่วนหน้าต่างตึกต่าง ๆ ที่อยู่ใกล้กับกำแพงก็ถูกก่ออิฐปิดตาย

การหลบหนีครั้งที่ไม่สำเร็จที่โด่งดังที่สุดก็คือ เมื่อครั้งที่นายปีเตอร์ เฟตช์เตอร์ (Peter Fechter) ถูกยิงและปล่อยให้เลือดไหลจนตายต่อหน้าสื่อมวลชนตะวันตก เมื่อวันที่ 17 สิงหาคม พ.ศ. 2505 (ค.ศ. 1962) ผู้หลบหนีรายสุดท้ายที่ถูกยิงตายคือนาย Chris Gueffroy เมื่อวันที่ 6 กุมภาพันธ์ พ.ศ. 2532 (ค.ศ. 1989)


ในวันที่ 9 พฤศจิกายน พ.ศ. 2532 นาย Günter Schabowski รัฐมนตรีว่าการกระทรวงโฆษณาการ (Minister of Propaganda) ของเยอรมนีตะวันออกได้แถลงข่าว (ซึ่งภายหลังพบว่าเป็นความเข้าใจที่คลาดเคลื่อนของเขาเอง) ว่าทางการจะอนุญาตให้ชาวเบอร์ลินตะวันออก ผ่านเข้าออกเขตแดนได้อย่างเสรีอีกครั้ง ทันใดนั้นเอง ผู้คนนับหมื่นที่ได้ทราบข่าวก็ได้หลั่งไหลไปยังด่านต่าง ๆ ของกำแพง. หลังจากความโกลาหลอยู่ช่วงหนึ่ง เนื่องจากทางเจ้าหน้าที่รักษาความปลอดภัยยังไม่ได้รับคำสั่งใด ๆ จากทางการ ในที่สุดเจ้าหน้าที่ก็ต้องยอมปล่อยให้ฝูงชนผ่านเขตแดนไปอย่างไม่มีทางเลือก ชาวเบอร์ลินตะวันตกออกมาต้อนรับชาวเบอร์ลินตะวันออก บรรยากาศในเช้ามืดวันนั้นเหมือนงานเฉลิมฉลอง ชาวเยอรมันจึงถือกันว่าวันนี้เป็นวันล่มสลายของกำแพงเบอร์ลิน

สำหรับการทุบทำลายตัวกำแพงนั้น เริ่มเมื่อวันที่ 13 มิถุนายน พ.ศ. 2533 โดยคงเหลือกำแพงบางช่วงไว้เป็นอนุสรณ์ และในภายหลัง ซากกำแพงบางส่วนก็ถูกจำหน่ายเป็นของที่ระลึก ส่วนบางส่วนก็ถูกนำไปตั้งแสดงที่อื่นเพื่อเป็นอนุสรณ์ เช่นที่ด้านหน้าสภายุโรป ณ กรุงบรัสเซล ประเทศเบลเยียม

การล่มสลายของกำแพงเบอร์ลินนั้น ได้เป็นขั้นตอนแรกของการรวมชาติเยอรมนีในที่สุด เมื่อวันที่ 3 ตุลาคม พ.ศ. 2533 และได้ถือเอาวันนี้เป็นวันชาติของประเทศเยอรมนีใหม่

สร้างโดย: 
ณัฐกานต์ นิทะรัมย์ เลขที่ 11 , พรภิรมย์ รวยกร เลขที่ 12
รูปภาพของ silavacharee

 

ตรวจแล้ว

มหาวิทยาลัยศรีปทุม ผู้ใหญ่ใจดี
 

 ช่วยด้วยครับ
นักเรียนที่สร้างบล็อก กรุณาอย่า
คัดลอกข้อมูลจากเว็บอื่นทั้งหมด
ควรนำมาจากหลายๆ เว็บ แล้ววิเคราะห์ สังเคราะห์ และเขียนขึ้นใหม่
หากคัดลอกทั้งหมด จะถูกดำเนินคดี
ตามกฎหมายจากเจ้าของลิขสิทธิ์
มีโทษทั้งจำคุกและปรับในอัตราสูง

ช่วยกันนะครับ 
ไทยกู๊ดวิวจะได้อยู่นานๆ 
ไม่ถูกปิดเสียก่อน

ขอขอบคุณในความร่วมมือครับ

อ่านรายละเอียด

ด่วน...... ขณะนี้
พระราชบัญญัติลิขสิทธิ์ (ฉบับที่ 2) พ.ศ. 2558 
มีผลบังคับใช้แล้ว 
ขอให้นักเรียนและคุณครูที่ใช้งาน
เว็บ thaigoodview ในการส่งการบ้าน
ระมัดระวังการละเมิดลิขสิทธิ์ด้วย
อ่านรายละเอียดที่นี่ครับ

 

สมาชิกที่ออนไลน์

ขณะนี้มี สมาชิก 0 คน และ ผู้เยี่ยมชม 464 คน กำลังออนไลน์