• user warning: Table 'cache_filter' is marked as crashed and should be repaired query: SELECT data, created, headers, expire, serialized FROM cache_filter WHERE cid = '3:4761b6ad8cc8e69e0b744c4e23d02fb8' in /home/tgv/htdocs/includes/cache.inc on line 27.
  • user warning: Table 'cache_filter' is marked as crashed and should be repaired query: UPDATE cache_filter SET data = '<!--paging_filter--><p>\n<span style=\"font-size: small; font-family: comic sans ms,sans-serif\"></span>\n</p>\n<p align=\"center\">\n<span style=\"font-size: small; font-family: comic sans ms,sans-serif\"><img border=\"0\" width=\"200\" src=\"/files/u20/inno-too.jpg\" height=\"150\" /> </span>\n</p>\n<p>\n<span style=\"font-size: small; font-family: comic sans ms,sans-serif\">ปัจจุบัน ผัก ผลไม้ และดอกไม้ เริ่มมีความสำคัญในด้านเศรษฐกิจของไทย  ซึ่งนอกจากจะเป็นที่นิยม ในการบริโภคในประเทศแล้ว ยังมีการส่งออกไปจำหน่ายยังต่างประเทศด้วย ไม่ว่าจะเป็นที่สิงคโปร์ ฮ่องกง ญี่ปุ่น รวมทั้งประเทศแถบยุโรปและอเมริกาด้วย แต่ปัญหาเรื่องของคุณภาพผลผลิตที่ลดลง จากการขนส่ง เพราะต้องใช้เวลาพอสมควรกว่าสินค้าจะไปถึงมือผู้บริโภค </span>\n</p>\n<p>\n<span style=\"font-size: small; font-family: comic sans ms,sans-serif\">ปัญหาหลังการเก็บเกี่ยวผลผลิต การเก็บรักษา อายุการวางจำหน่ายจะสั้น ทำให้เกิดความสูญเสียทั้งในด้านคุณภาพและด้านปริมาณ เกิดความเสียหายทางเศรษฐกิจอย่างมาก จากปัญหาดังกล่าว อาจารย์วรินธร ยิ้มย่อง และ อาจารย์ชูชีพ ผ่องพันธุ์ อาจารย์ประจำสาขาวิชาเทคโนโลยีหลังการเก็บเกี่ยวและแปรสภาพ คณะเทคโนโลยีการเกษตร มหาวิทยาลัยเทคโนโลยีราชมงคล (มทร.) ธัญบุรี จึงคิดค้น งานวิจัย “การออกแบบและสร้างการเก็บรักษาแบบควบคุมสภาพอากาศ”   </span>\n</p>\n<p>\n<span style=\"font-size: small; font-family: comic sans ms,sans-serif\">อาจารย์วรินธร เล่าว่า ในปัจจุบัน มีการนำวิธีการหลายอย่าง มาใช้ลดความเสียหายดังกล่าว เพื่อยื้ดอายุการเก็บรักษา และอายุการวางจำหน่าย เช่น การใช้สารเคมี การเคลือบผิว การเก็บรักษาในสภาพดัดแปลงบรรยากาศ   ซึ่ง การออกแบบและสร้างเครื่องเก็บรักษาแบบควบคุมสภาพบรรยากาศ เพื่อลดต้นทุน การนำเข้าจากต่างประเทศ โดยศึกษาระดับความเข้มข้นของก๊าซออกซิเจน และก๊าซคาร์บอนไดออกไซด์ ที่เหมาะสมต่อการเก็บรักษาผลิตผลในสภาพควบคุมบรรยากาศ  หลักการทำงาน คือ การเปลี่ยนแปลงส่วนประกอบของบรรยากาศที่อยู่รอบๆ ผลิตผลด้วยการลดระดับความเข้มข้นของก๊าซออกซิเจน และ  / หรือ  เพิ่ม ระดับความเข้มข้นของก๊าซคาร์บอนไดออกไซด์ให้สูงขึ้น แล้วควบคุมสัดส่วนของปริมาณก๊าซดังกล่าว  ให้คงที่ตลอดระยะเวลาของการเก็บรักษา   <br />\n</span>\n</p>\n<p>\n<span style=\"font-size: small; font-family: comic sans ms,sans-serif\">การออกแบบระบบควบคุมสภาพบรรยากาศมีระบบการทำงานของเครื่อง 3 ส่วนหลักคือ  ส่วนแรก ทำหน้าที่ตรวจวัดระดับความเข้มข้นของก๊าซออกซิเจน และก๊าซคาร์บอนไดออกไซด์  รวมทั้งควบคุมการปิดเปิดวาล์วไฟฟ้า ให้จ่ายก๊าซออกซิเจน ก๊าซคาร์บอนไดออกไซด์ และก๊าซไนโตรเจน จากถังพักให้กับห้องเก็บรักษา<br />\n</span>\n</p>\n<p>\n<span style=\"font-size: small; font-family: comic sans ms,sans-serif\">ส่วนที่สอง ทำหน้าที่ควบคุมและประมาณผลการทำงานของส่วนแรก ให้ทำงานตามคำสั่งข้อมูลของการปรับสภาพบรรยากาศ และยังทำหน้าที่แจ้งเตือนเมื่อมีระดับก๊าซบางชนิดสูงเกินไป สำหรับส่วนสุดท้ายเป็น แหล่งของก๊าซที่ใช้ในการปรับสภาพอากาศ อันประกอบด้วยก๊าซออกซิเจนจากอากาศปกติ ซึ่งมีระดับความเข้มข้นประมาณ 21 เปอร์เซ็นต์, ก๊าซคาร์บอนไดออกไซด์ จากถังบรรจุ ซึ่งมีความบริสุทธิ์ประมาณ 98 เปอร์เซ็นต์, ก๊าซไนโตรเจน จากถังบรรจุ ซึ่งมีความบริสุทธิ์ประมาณ 99 เปอร์เซ็นต์  </span>\n</p>\n<p>\n<span style=\"font-size: small; font-family: comic sans ms,sans-serif\">ลักษณะของตู้ที่ใช้ในการเก็บรักษาผลิตผล ลักษณะเหมือนตู้แช่ของทั่วไป ตัวตู้ทำจากแผ่นพลาสติก อคริลิกมีความหนาประมาณ 10 มม.  ประกอบยึดติดด้วยกาว epoxy แล้วอุดรอยประกบระหว่างแผ่นพลาสติกเพื่อป้องกันการรั่วซึมของก๊าซด้วยกาวซิลิโคนและเทปพลาสติก ประตูด้านหน้าของตู้สำหรับนำผลผลิตเข้า - ออก ซึ่งจะปิดไว้ด้วยการขันน๊อตให้ยึดติดกับตัวตู้ และใช้แถบยางรองรอบฝาปิด เพื่อป้องกันการรั่วซึมของก๊าซ ด้านหลังของตู้เจาะช่องใส่ข้อต่อทองเหลืองที่มีรูขนาดเส้นผ่านศูนย์กลาง 5 มม. จำนวน 4 ช่อง เพื่อใช้เป็นช่องนำก๊าซออกซิเจน คาร์บอนไดออกไซด์ และไนโตรเจน 1 ช่อง ช่องสุ่มก๊าซเพื่อตรวจสภาพบรรยากาศในตู้ 1 ช่อง ช่องส่งคืนก๊าซที่ผ่านการตรวจสอบ 1 ช่อง  และช่องสำหรับถ่ายเทก๊าซออกจากตู้ 1 ช่อง  </span>\n</p>\n<p>\n<span style=\"font-size: small; font-family: comic sans ms,sans-serif\">เมื่อประกอบเสร็จก็นำไปไว้ในห้องเย็น ที่สามารถปรับอุณหภูมิและความชื้นสัมพัทธ์ได้    จากนั้นนำผลผลิตทางการเกษตร พวกผัก ผลไม้ และดอกไม้ ที่คัดเลือกตามความสำคัญทางเศรษฐกิจ ที่ได้หลังจากการเก็บเกี่ยว บรรจุลงในตู้ควบคุมบรรยากาศที่ติดตั้งในห้องเย็น ปรับอุณหภูมิตามชนิดของผลิตผล จากนั้นเดินเครื่องควบคุมสภาพบรรยากาศตามค่าที่ตั้งไว้ แล้วจึงตรวจสอบคุณภาพทางกายภาพ ในทุกๆ 10 วัน  จากงานวิจัยนี้ สามารถช่วยลดต้นทุน การนำเข้าระบบการเก็บผลิตผลจากต่างประเทศกว่าล้านบาท  และยังช่วยชะลอการเสื่อมสลาย และยื้ดอายุของผลิตผลต่างๆให้นานขึ้น ทำให้สินค้าทางการเกษตรอันเป็นเศรษฐกิจหลักของไทย ได้ไปถึงมือผู้บริโภคต่างชาติในสภาพสด ใหม่  เหมือนเพิ่งเก็บเกี่ยวมาเลยทีเดียว     </span>\n</p>\n<p>\n<span style=\"font-size: small; font-family: comic sans ms,sans-serif\">ผู้สนใจติดต่อ อาจารย์วรินธร ยิ้มย่อง ภาควิชาเทคโนโลยีหลังการเก็บเกี่ยวและแปรสภาพ คณะเทคโนโลยีการเกษตร มหาวิทยาลัยเทคโนโลยีราชมงคลธัญบุรี 081-8513382 , 02-549-3326  หรือ </span><a href=\"http://www.rmutt.ac.th/\"><span style=\"font-size: small; font-family: comic sans ms,sans-serif\">www.rmutt.ac.th</span></a><span style=\"font-size: small; font-family: comic sans ms,sans-serif\"> </span></p>\n<hr id=\"null\" />\n\n\n<p align=\"right\">\n<span style=\"font-size: small; font-family: comic sans ms,sans-serif\">ข้อมูลจาก มหาวิทยาลัยเทคโนโลยีราชมงคล(มทร.) ธัญบุรี<br />\n</span>\n</p>\n', created = 1719965645, expire = 1720052045, headers = '', serialized = 0 WHERE cid = '3:4761b6ad8cc8e69e0b744c4e23d02fb8' in /home/tgv/htdocs/includes/cache.inc on line 112.

ตู้ควบคุมสภาพอากาศ ชะลอความเหี่ยว

 

ปัจจุบัน ผัก ผลไม้ และดอกไม้ เริ่มมีความสำคัญในด้านเศรษฐกิจของไทย  ซึ่งนอกจากจะเป็นที่นิยม ในการบริโภคในประเทศแล้ว ยังมีการส่งออกไปจำหน่ายยังต่างประเทศด้วย ไม่ว่าจะเป็นที่สิงคโปร์ ฮ่องกง ญี่ปุ่น รวมทั้งประเทศแถบยุโรปและอเมริกาด้วย แต่ปัญหาเรื่องของคุณภาพผลผลิตที่ลดลง จากการขนส่ง เพราะต้องใช้เวลาพอสมควรกว่าสินค้าจะไปถึงมือผู้บริโภค

ปัญหาหลังการเก็บเกี่ยวผลผลิต การเก็บรักษา อายุการวางจำหน่ายจะสั้น ทำให้เกิดความสูญเสียทั้งในด้านคุณภาพและด้านปริมาณ เกิดความเสียหายทางเศรษฐกิจอย่างมาก จากปัญหาดังกล่าว อาจารย์วรินธร ยิ้มย่อง และ อาจารย์ชูชีพ ผ่องพันธุ์ อาจารย์ประจำสาขาวิชาเทคโนโลยีหลังการเก็บเกี่ยวและแปรสภาพ คณะเทคโนโลยีการเกษตร มหาวิทยาลัยเทคโนโลยีราชมงคล (มทร.) ธัญบุรี จึงคิดค้น งานวิจัย “การออกแบบและสร้างการเก็บรักษาแบบควบคุมสภาพอากาศ”   

อาจารย์วรินธร เล่าว่า ในปัจจุบัน มีการนำวิธีการหลายอย่าง มาใช้ลดความเสียหายดังกล่าว เพื่อยื้ดอายุการเก็บรักษา และอายุการวางจำหน่าย เช่น การใช้สารเคมี การเคลือบผิว การเก็บรักษาในสภาพดัดแปลงบรรยากาศ   ซึ่ง การออกแบบและสร้างเครื่องเก็บรักษาแบบควบคุมสภาพบรรยากาศ เพื่อลดต้นทุน การนำเข้าจากต่างประเทศ โดยศึกษาระดับความเข้มข้นของก๊าซออกซิเจน และก๊าซคาร์บอนไดออกไซด์ ที่เหมาะสมต่อการเก็บรักษาผลิตผลในสภาพควบคุมบรรยากาศ  หลักการทำงาน คือ การเปลี่ยนแปลงส่วนประกอบของบรรยากาศที่อยู่รอบๆ ผลิตผลด้วยการลดระดับความเข้มข้นของก๊าซออกซิเจน และ  / หรือ  เพิ่ม ระดับความเข้มข้นของก๊าซคาร์บอนไดออกไซด์ให้สูงขึ้น แล้วควบคุมสัดส่วนของปริมาณก๊าซดังกล่าว  ให้คงที่ตลอดระยะเวลาของการเก็บรักษา   

การออกแบบระบบควบคุมสภาพบรรยากาศมีระบบการทำงานของเครื่อง 3 ส่วนหลักคือ  ส่วนแรก ทำหน้าที่ตรวจวัดระดับความเข้มข้นของก๊าซออกซิเจน และก๊าซคาร์บอนไดออกไซด์  รวมทั้งควบคุมการปิดเปิดวาล์วไฟฟ้า ให้จ่ายก๊าซออกซิเจน ก๊าซคาร์บอนไดออกไซด์ และก๊าซไนโตรเจน จากถังพักให้กับห้องเก็บรักษา

ส่วนที่สอง ทำหน้าที่ควบคุมและประมาณผลการทำงานของส่วนแรก ให้ทำงานตามคำสั่งข้อมูลของการปรับสภาพบรรยากาศ และยังทำหน้าที่แจ้งเตือนเมื่อมีระดับก๊าซบางชนิดสูงเกินไป สำหรับส่วนสุดท้ายเป็น แหล่งของก๊าซที่ใช้ในการปรับสภาพอากาศ อันประกอบด้วยก๊าซออกซิเจนจากอากาศปกติ ซึ่งมีระดับความเข้มข้นประมาณ 21 เปอร์เซ็นต์, ก๊าซคาร์บอนไดออกไซด์ จากถังบรรจุ ซึ่งมีความบริสุทธิ์ประมาณ 98 เปอร์เซ็นต์, ก๊าซไนโตรเจน จากถังบรรจุ ซึ่งมีความบริสุทธิ์ประมาณ 99 เปอร์เซ็นต์ 

ลักษณะของตู้ที่ใช้ในการเก็บรักษาผลิตผล ลักษณะเหมือนตู้แช่ของทั่วไป ตัวตู้ทำจากแผ่นพลาสติก อคริลิกมีความหนาประมาณ 10 มม.  ประกอบยึดติดด้วยกาว epoxy แล้วอุดรอยประกบระหว่างแผ่นพลาสติกเพื่อป้องกันการรั่วซึมของก๊าซด้วยกาวซิลิโคนและเทปพลาสติก ประตูด้านหน้าของตู้สำหรับนำผลผลิตเข้า - ออก ซึ่งจะปิดไว้ด้วยการขันน๊อตให้ยึดติดกับตัวตู้ และใช้แถบยางรองรอบฝาปิด เพื่อป้องกันการรั่วซึมของก๊าซ ด้านหลังของตู้เจาะช่องใส่ข้อต่อทองเหลืองที่มีรูขนาดเส้นผ่านศูนย์กลาง 5 มม. จำนวน 4 ช่อง เพื่อใช้เป็นช่องนำก๊าซออกซิเจน คาร์บอนไดออกไซด์ และไนโตรเจน 1 ช่อง ช่องสุ่มก๊าซเพื่อตรวจสภาพบรรยากาศในตู้ 1 ช่อง ช่องส่งคืนก๊าซที่ผ่านการตรวจสอบ 1 ช่อง  และช่องสำหรับถ่ายเทก๊าซออกจากตู้ 1 ช่อง 

เมื่อประกอบเสร็จก็นำไปไว้ในห้องเย็น ที่สามารถปรับอุณหภูมิและความชื้นสัมพัทธ์ได้    จากนั้นนำผลผลิตทางการเกษตร พวกผัก ผลไม้ และดอกไม้ ที่คัดเลือกตามความสำคัญทางเศรษฐกิจ ที่ได้หลังจากการเก็บเกี่ยว บรรจุลงในตู้ควบคุมบรรยากาศที่ติดตั้งในห้องเย็น ปรับอุณหภูมิตามชนิดของผลิตผล จากนั้นเดินเครื่องควบคุมสภาพบรรยากาศตามค่าที่ตั้งไว้ แล้วจึงตรวจสอบคุณภาพทางกายภาพ ในทุกๆ 10 วัน  จากงานวิจัยนี้ สามารถช่วยลดต้นทุน การนำเข้าระบบการเก็บผลิตผลจากต่างประเทศกว่าล้านบาท  และยังช่วยชะลอการเสื่อมสลาย และยื้ดอายุของผลิตผลต่างๆให้นานขึ้น ทำให้สินค้าทางการเกษตรอันเป็นเศรษฐกิจหลักของไทย ได้ไปถึงมือผู้บริโภคต่างชาติในสภาพสด ใหม่  เหมือนเพิ่งเก็บเกี่ยวมาเลยทีเดียว    

ผู้สนใจติดต่อ อาจารย์วรินธร ยิ้มย่อง ภาควิชาเทคโนโลยีหลังการเก็บเกี่ยวและแปรสภาพ คณะเทคโนโลยีการเกษตร มหาวิทยาลัยเทคโนโลยีราชมงคลธัญบุรี 081-8513382 , 02-549-3326  หรือ www.rmutt.ac.th


ข้อมูลจาก มหาวิทยาลัยเทคโนโลยีราชมงคล(มทร.) ธัญบุรี

มหาวิทยาลัยศรีปทุม ผู้ใหญ่ใจดี
 

 ช่วยด้วยครับ
นักเรียนที่สร้างบล็อก กรุณาอย่า
คัดลอกข้อมูลจากเว็บอื่นทั้งหมด
ควรนำมาจากหลายๆ เว็บ แล้ววิเคราะห์ สังเคราะห์ และเขียนขึ้นใหม่
หากคัดลอกทั้งหมด จะถูกดำเนินคดี
ตามกฎหมายจากเจ้าของลิขสิทธิ์
มีโทษทั้งจำคุกและปรับในอัตราสูง

ช่วยกันนะครับ 
ไทยกู๊ดวิวจะได้อยู่นานๆ 
ไม่ถูกปิดเสียก่อน

ขอขอบคุณในความร่วมมือครับ

อ่านรายละเอียด

ด่วน...... ขณะนี้
พระราชบัญญัติลิขสิทธิ์ (ฉบับที่ 2) พ.ศ. 2558 
มีผลบังคับใช้แล้ว 
ขอให้นักเรียนและคุณครูที่ใช้งาน
เว็บ thaigoodview ในการส่งการบ้าน
ระมัดระวังการละเมิดลิขสิทธิ์ด้วย
อ่านรายละเอียดที่นี่ครับ

 

สมาชิกที่ออนไลน์

ขณะนี้มี สมาชิก 0 คน และ ผู้เยี่ยมชม 409 คน กำลังออนไลน์