• user warning: Table 'cache_filter' is marked as crashed and should be repaired query: SELECT data, created, headers, expire, serialized FROM cache_filter WHERE cid = '3:25c415c5999748e786d4db1933ff6418' in /home/tgv/htdocs/includes/cache.inc on line 27.
  • user warning: Table 'cache_filter' is marked as crashed and should be repaired query: UPDATE cache_filter SET data = '<!--paging_filter--><p>\n<span style=\"font-size: small; font-family: comic sans ms,sans-serif\">วิทยพัฒน์ สำนักพิมพ์ผู้เชี่ยวชาญด้านการผลิตตำราในระดับอุดมศึกษาเปิดพื้นที่สื่อประชาสัมพันธ์ช่องทางใหม่ให้ใช้โดยไม่คิดมูลค่า เจาะเข้าถึงกลุ่มวัยรุ่นโดยตรง อายุของสื่อยาวนาน อีกทั้งมีการตอกย้ำสม่ำเสมอ นำร่องด้วยงานของมูลนิธิรณรงค์เพื่อการไม่สูบบุหรี่</span>\n</p>\n<p>\n<span style=\"font-size: small; font-family: comic sans ms,sans-serif\">นายสาธิต อุรุวงศ์วณิช กรรมการผู้จัดการบริษัท วิทยพัฒน์ จำกัด สำนักพิมพ์ผู้เชี่ยวชาญด้านการผลิตตำราในระดับอุดมศึกษาและหนังสือวิชาการเปิดเผยว่า ตำราเรียนนับเป็นสื่อประชาสัมพันธ์ที่ได้ผลตรงกลุ่มเป้าหมายและมีอายุยาวนาน แต่ตำราเรียนถูกมองข้าม มิได้นำมาใช้เพื่อผลด้านการรณรงค์ประชาสัมพันธ์ในหัวข้อที่เหมาะสม</span>\n</p>\n<p>\n<span style=\"font-size: small; font-family: comic sans ms,sans-serif\"> “นอกจากนี้ อายุการใช้งานปกติของตำราเรียนก็คือหนึ่งภาคการศึกษา ซึ่งกินเวลานานประมาณ ๓ เดือน สัปดาห์หนึ่งต้องเปิดใช้หลายครั้ง ดังนั้นหากมีสื่อประชาสัมพันธ์อยู่ในตำราเรียน ก็เท่ากับว่าสื่อนั้นจะมีอายุการใช้งานนานหลายเดือน อีกทั้งยังมีการตอกย้ำแก่ผู้อ่านอย่างสม่ำเสมอ เพราะมีการเปิดอ่านบ่อย ๆ</span>\n</p>\n<p>\n<span style=\"font-size: small; font-family: comic sans ms,sans-serif\"> “แต่เนื้อที่ประชาสัมพันธ์นี้เราไม่ได้ขาย เราให้ใช้โดยไม่คิดมูลค่า เราเปิดกว้างสำหรับองค์กรที่ไม่แสวงหาผลกำไร เพื่อใช้ประโยชน์ในการรณรงค์เพื่อประโยชน์แก่สังคมเท่านั้น โดยโครงการนำร่องของเราเป็นการร่วมมือกับมูลนิธิรณรงค์เพื่อการไม่สูบบุหรี่ ซึ่งหัวข้อที่ใช้พื้นที่ตำราของวิทยพัฒน์ในการรณรงค์ก็คือ สถานศึกษาปลอดบุหรี่</span>\n</p>\n<p>\n<br />\n<span style=\"font-size: small; font-family: comic sans ms,sans-serif\">ศาสตราจารย์  นายแพทย์ประกิต วาทีสาธกกิจ เลขาธิการมูลนิธิรณรงค์เพื่อการไม่สูบบุหรี่ กล่าวว่าความร่วมมือครั้งนี้ ถือเป็นการคิดนอกกรอบ ซึ่งได้ประโยชน์กันทุกฝ่าย ไม่ว่าจะเป็นมูลนิธิฯ ที่สามารถรณรงค์ได้ถึงกลุ่มเป้าหมายโดยตรง ขณะที่นิสิตนักศึกษาจะได้รับข้อมูลอันเป็นประโยชน์แก่ตนเองและผู้ใกล้ชิด ส่วนอาจารย์ผู้สอนในชั้นเรียน จะได้รับประโยชน์จากการนำข้อมูลไปใช้ประกอบการร่วมรณรงค์หรือเผยแพร่แก่นิสิตนักศึกษา และวิทยพัฒน์ก็ได้ใช้โอกาสนี้แสดงจุดยืนในการทำประโยชน์แก่สังคม</span>\n</p>\n<p>\n<span style=\"font-size: small; font-family: comic sans ms,sans-serif\">“เมื่อมูลนิธิฯและวิทยพัฒน์หารือโครงการนี้ร่วมกัน มูลนิธิเองก็ให้ความสำคัญเกี่ยวกับผู้ที่จะมาร่วมงานกับเรา เราต้องพิจารณาด้วยว่าปรัชญาการทำงานสอดคล้องกับเราหรือไม่ หลังจากที่ได้พูดคุยกันแล้ว เราก็สบายใจ และน่าจะร่วมงานกันได้เพราะมีปรัชญาในการทำงานในทิศทางเดียวกัน”   ศาสตราจารย์ นายแพทย์ประกิตกล่าว</span>\n</p>\n<p>\n<span style=\"font-size: small; font-family: comic sans ms,sans-serif\">ด้าน นพ.ประพนธ์  ตั้งศรีเกียรติกุล  รองอธิบดีกรมควบคุมโรค  กระทรวงสาธารณสุข กล่าวถึงกฎหมายการห้ามสูบบุหรี่ในมหาวิทยาลัยว่า “ประกาศกระทรวงสาธารณสุขฉบับที่ 18  กำหนดให้มหาวิทยาลัยเป็นเขตปลอดบุหรี่  ยกเว้นที่ที่จัดไว้ให้เป็นที่สูบบุหรี่  หรืออาจห้ามสูบบุหรี่ในมหาวิทยาลัยทั้งหมดเลยก็ได้  เพื่อคุ้มครองสุขภาพของผู้ไม่สูบบุหรี่ กรมควบคุมโรคจึงสนับสนุนการรณรงค์ให้มีการปฏิบัติตามกฎหมายเขตปลอดบุหรี่  โดยกรมควบคุมโรคจะเริ่มติดตามการบังคับใช้กฎหมายในส่วนที่เกี่ยวกับมหาวิทยาลัยที่ได้ปล่อยปละละเลยมานาน”</span>\n</p>\n<p>\n<span style=\"font-size: small; font-family: comic sans ms,sans-serif\">ด้านนายสุเมธ แย้มนุ่น เลขาธิการคณะกรรมการการอุดมศึกษา กระทรวงศึกษาธิการ  กล่าวถึงนโยบายการดำเนินการให้มหาวิทยาลัยปลอดบุหรี่ตามกฎหมายว่า “สำนักงานคณะกรรมการการอุดมศึกษาพร้อมที่จะให้ความร่วมมือกับกรมควบคุมโรคกระทรวงสาธารณสุข โดยการขอความร่วมมือผู้บริหารมหาวิทยาลัยทั่วประเทศให้ดำเนินการตามประกาศกระทรวงสาธารณสุข ในการติดป้ายสัญลักษณ์เขตปลอดบุหรี่ และจัดที่สูบบุหรี่ตามที่กฎหมายกำหนด ทั้งนี้ข้อมูลการวิจัยพบว่ามหาวิทยาลัยหรือสถานศึกษาปลอดบุหรี่ลดโอกาสการติดบุหรี่ของนิสิตนักศึกษา”</span>\n</p>\n<p>\n<span style=\"font-size: small; font-family: comic sans ms,sans-serif\">ทางด้านนายสาธิต  กล่าวถึงการร่วมกิจกรรมกับมูลนิธิฯ ครั้งนี้ว่าเป็นเป้าหมายร่วมกันในสร้างประโยชน์ให้แก่สังคม “นอกจากเป้าหมายในการมุ่งทำประโยชน์แก่สังคมแล้ว เรายังอยากจะแสดงให้ทุกคนได้เห็นว่าองค์กรที่มีขนาดเล็กก็สามารถทำกิจกรรมเพื่อสังคมหรือ CSR ได้โดยใช้งบประมาณไม่มาก” นายสาธิตกล่าว</span>\n</p>\n<p>\n<span style=\"font-size: small; font-family: comic sans ms,sans-serif\">นายสาธิตกล่าวเพิ่มเติมอีกว่าความร่วมมือกับมูลนิธิรณรงค์เพื่อการไม่สูบบุหรี่นี้ ถือเป็นความร่วมมือที่เป็นโครงการนำร่องให้แก่องค์กรสาธารณะที่ไม่หวังผลกำไรที่ต้องการใช้พื้นที่ประชาสัมพันธ์ดังกล่าวได้นำไปพิจารณา หากหลักการไปด้วยกันได้ ทางวิทยพัฒน์ยินดีที่จะให้ความร่วมมือดังเช่นที่ให้กับมูลนิธิรณรงค์เพื่อการไม่สูบบุหรี่ </span>\n</p>\n<p>\n<span style=\"font-size: small; font-family: comic sans ms,sans-serif\"> “หลักเกณฑ์เบื้องต้นก็คือ กลุ่มเป้าหมายเป็นกลุ่มวัยเรียนในระดับอุดมศึกษา และเนื้อหาในการประชาสัมพันธ์ไม่เป็นการหาทุนหรือขอรับบริจาค” นายสาธิตกล่าว</span>\n</p>\n<p>\n<span style=\"font-size: small; font-family: comic sans ms,sans-serif\">ศาสตราจารย์นายแพทย์ประกิตกล่าวถึงสถานการณ์ผู้สูบบุหรี่ในประเทศไทยว่าปัจจุบันมีผู้สูบบุหรี่ทั้งสิ้น 9.5 ล้านคน คิดเป็นร้อยละ  18.5  แบ่งเป็นชายร้อยละ  36.5 และหญิงร้อยละ 1.6 สำหรับ สถานการณ์ผู้สูบบุหรี่ในอายุ 19-24 ปี ปัจจุบันมีผู้สูบบุหรี่ทั้งสิ้นประมาณ 2.1 ล้านคน แบ่งเป็นชาย 2.0 ล้านคน และหญิง 56,119 คน</span>\n</p>\n<p>\n<span style=\"font-size: small; font-family: comic sans ms,sans-serif\">“เรามีเป้าหมายที่จะรณรงค์ให้มหาวิทยาลัยทั่วประเทศเป็นมหาวิทยาลัยสีขาวคือเป็นเขตปลอดบุหรี่ตามกฎหมาย ซึ่งขณะนี้เราสามารถเริ่มต้นร่วมรณรงค์แล้วที่ มหาวิทยาลัยศรีนครินทรวิโรฒ ประสานมิตร จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย มหาวิทยาลัยธรรมศาสตร์ ศูนย์รังสิต มหาวิทยาลัยเซ็นจอห์น และ มหาวิทยาลัยศิลปากร โดยเรามีเป้าหมายภายในปีหน้า เราจะเพิ่มจำนวนมหาวิทยาลัยสีขาวอีกหลายแห่ง และ คาดว่าในอนาคตมหาวิทยาลัยทั่วประเทศน่าจะเป็นมหาวิทยาลัยสีขาวที่ปลอดบุหรี่ได้สำเร็จ การที่วิทยพัฒน์เข้าร่วมรณรงค์โดยใช้พื้นที่ในตำราเป็นสื่อประชาสัมพันธ์น่าจะช่วยให้การรณรงค์บรรลุเป้าหมายได้เร็วยิ่งขึ้น” ศาสตราจารย์ นายแพทย์ประกิตกล่าว</span>\n</p>\n<p>\n<span style=\"font-size: small; font-family: comic sans ms,sans-serif\"></span>\n</p>\n', created = 1719968610, expire = 1720055010, headers = '', serialized = 0 WHERE cid = '3:25c415c5999748e786d4db1933ff6418' in /home/tgv/htdocs/includes/cache.inc on line 112.

วิทยพัฒน์รณรงค์มหาวิทยาลัยปลอดบุหรี่

วิทยพัฒน์ สำนักพิมพ์ผู้เชี่ยวชาญด้านการผลิตตำราในระดับอุดมศึกษาเปิดพื้นที่สื่อประชาสัมพันธ์ช่องทางใหม่ให้ใช้โดยไม่คิดมูลค่า เจาะเข้าถึงกลุ่มวัยรุ่นโดยตรง อายุของสื่อยาวนาน อีกทั้งมีการตอกย้ำสม่ำเสมอ นำร่องด้วยงานของมูลนิธิรณรงค์เพื่อการไม่สูบบุหรี่

นายสาธิต อุรุวงศ์วณิช กรรมการผู้จัดการบริษัท วิทยพัฒน์ จำกัด สำนักพิมพ์ผู้เชี่ยวชาญด้านการผลิตตำราในระดับอุดมศึกษาและหนังสือวิชาการเปิดเผยว่า ตำราเรียนนับเป็นสื่อประชาสัมพันธ์ที่ได้ผลตรงกลุ่มเป้าหมายและมีอายุยาวนาน แต่ตำราเรียนถูกมองข้าม มิได้นำมาใช้เพื่อผลด้านการรณรงค์ประชาสัมพันธ์ในหัวข้อที่เหมาะสม

 “นอกจากนี้ อายุการใช้งานปกติของตำราเรียนก็คือหนึ่งภาคการศึกษา ซึ่งกินเวลานานประมาณ ๓ เดือน สัปดาห์หนึ่งต้องเปิดใช้หลายครั้ง ดังนั้นหากมีสื่อประชาสัมพันธ์อยู่ในตำราเรียน ก็เท่ากับว่าสื่อนั้นจะมีอายุการใช้งานนานหลายเดือน อีกทั้งยังมีการตอกย้ำแก่ผู้อ่านอย่างสม่ำเสมอ เพราะมีการเปิดอ่านบ่อย ๆ

 “แต่เนื้อที่ประชาสัมพันธ์นี้เราไม่ได้ขาย เราให้ใช้โดยไม่คิดมูลค่า เราเปิดกว้างสำหรับองค์กรที่ไม่แสวงหาผลกำไร เพื่อใช้ประโยชน์ในการรณรงค์เพื่อประโยชน์แก่สังคมเท่านั้น โดยโครงการนำร่องของเราเป็นการร่วมมือกับมูลนิธิรณรงค์เพื่อการไม่สูบบุหรี่ ซึ่งหัวข้อที่ใช้พื้นที่ตำราของวิทยพัฒน์ในการรณรงค์ก็คือ สถานศึกษาปลอดบุหรี่


ศาสตราจารย์  นายแพทย์ประกิต วาทีสาธกกิจ เลขาธิการมูลนิธิรณรงค์เพื่อการไม่สูบบุหรี่ กล่าวว่าความร่วมมือครั้งนี้ ถือเป็นการคิดนอกกรอบ ซึ่งได้ประโยชน์กันทุกฝ่าย ไม่ว่าจะเป็นมูลนิธิฯ ที่สามารถรณรงค์ได้ถึงกลุ่มเป้าหมายโดยตรง ขณะที่นิสิตนักศึกษาจะได้รับข้อมูลอันเป็นประโยชน์แก่ตนเองและผู้ใกล้ชิด ส่วนอาจารย์ผู้สอนในชั้นเรียน จะได้รับประโยชน์จากการนำข้อมูลไปใช้ประกอบการร่วมรณรงค์หรือเผยแพร่แก่นิสิตนักศึกษา และวิทยพัฒน์ก็ได้ใช้โอกาสนี้แสดงจุดยืนในการทำประโยชน์แก่สังคม

“เมื่อมูลนิธิฯและวิทยพัฒน์หารือโครงการนี้ร่วมกัน มูลนิธิเองก็ให้ความสำคัญเกี่ยวกับผู้ที่จะมาร่วมงานกับเรา เราต้องพิจารณาด้วยว่าปรัชญาการทำงานสอดคล้องกับเราหรือไม่ หลังจากที่ได้พูดคุยกันแล้ว เราก็สบายใจ และน่าจะร่วมงานกันได้เพราะมีปรัชญาในการทำงานในทิศทางเดียวกัน”   ศาสตราจารย์ นายแพทย์ประกิตกล่าว

ด้าน นพ.ประพนธ์  ตั้งศรีเกียรติกุล  รองอธิบดีกรมควบคุมโรค  กระทรวงสาธารณสุข กล่าวถึงกฎหมายการห้ามสูบบุหรี่ในมหาวิทยาลัยว่า “ประกาศกระทรวงสาธารณสุขฉบับที่ 18  กำหนดให้มหาวิทยาลัยเป็นเขตปลอดบุหรี่  ยกเว้นที่ที่จัดไว้ให้เป็นที่สูบบุหรี่  หรืออาจห้ามสูบบุหรี่ในมหาวิทยาลัยทั้งหมดเลยก็ได้  เพื่อคุ้มครองสุขภาพของผู้ไม่สูบบุหรี่ กรมควบคุมโรคจึงสนับสนุนการรณรงค์ให้มีการปฏิบัติตามกฎหมายเขตปลอดบุหรี่  โดยกรมควบคุมโรคจะเริ่มติดตามการบังคับใช้กฎหมายในส่วนที่เกี่ยวกับมหาวิทยาลัยที่ได้ปล่อยปละละเลยมานาน”

ด้านนายสุเมธ แย้มนุ่น เลขาธิการคณะกรรมการการอุดมศึกษา กระทรวงศึกษาธิการ  กล่าวถึงนโยบายการดำเนินการให้มหาวิทยาลัยปลอดบุหรี่ตามกฎหมายว่า “สำนักงานคณะกรรมการการอุดมศึกษาพร้อมที่จะให้ความร่วมมือกับกรมควบคุมโรคกระทรวงสาธารณสุข โดยการขอความร่วมมือผู้บริหารมหาวิทยาลัยทั่วประเทศให้ดำเนินการตามประกาศกระทรวงสาธารณสุข ในการติดป้ายสัญลักษณ์เขตปลอดบุหรี่ และจัดที่สูบบุหรี่ตามที่กฎหมายกำหนด ทั้งนี้ข้อมูลการวิจัยพบว่ามหาวิทยาลัยหรือสถานศึกษาปลอดบุหรี่ลดโอกาสการติดบุหรี่ของนิสิตนักศึกษา”

ทางด้านนายสาธิต  กล่าวถึงการร่วมกิจกรรมกับมูลนิธิฯ ครั้งนี้ว่าเป็นเป้าหมายร่วมกันในสร้างประโยชน์ให้แก่สังคม “นอกจากเป้าหมายในการมุ่งทำประโยชน์แก่สังคมแล้ว เรายังอยากจะแสดงให้ทุกคนได้เห็นว่าองค์กรที่มีขนาดเล็กก็สามารถทำกิจกรรมเพื่อสังคมหรือ CSR ได้โดยใช้งบประมาณไม่มาก” นายสาธิตกล่าว

นายสาธิตกล่าวเพิ่มเติมอีกว่าความร่วมมือกับมูลนิธิรณรงค์เพื่อการไม่สูบบุหรี่นี้ ถือเป็นความร่วมมือที่เป็นโครงการนำร่องให้แก่องค์กรสาธารณะที่ไม่หวังผลกำไรที่ต้องการใช้พื้นที่ประชาสัมพันธ์ดังกล่าวได้นำไปพิจารณา หากหลักการไปด้วยกันได้ ทางวิทยพัฒน์ยินดีที่จะให้ความร่วมมือดังเช่นที่ให้กับมูลนิธิรณรงค์เพื่อการไม่สูบบุหรี่

 “หลักเกณฑ์เบื้องต้นก็คือ กลุ่มเป้าหมายเป็นกลุ่มวัยเรียนในระดับอุดมศึกษา และเนื้อหาในการประชาสัมพันธ์ไม่เป็นการหาทุนหรือขอรับบริจาค” นายสาธิตกล่าว

ศาสตราจารย์นายแพทย์ประกิตกล่าวถึงสถานการณ์ผู้สูบบุหรี่ในประเทศไทยว่าปัจจุบันมีผู้สูบบุหรี่ทั้งสิ้น 9.5 ล้านคน คิดเป็นร้อยละ  18.5  แบ่งเป็นชายร้อยละ  36.5 และหญิงร้อยละ 1.6 สำหรับ สถานการณ์ผู้สูบบุหรี่ในอายุ 19-24 ปี ปัจจุบันมีผู้สูบบุหรี่ทั้งสิ้นประมาณ 2.1 ล้านคน แบ่งเป็นชาย 2.0 ล้านคน และหญิง 56,119 คน

“เรามีเป้าหมายที่จะรณรงค์ให้มหาวิทยาลัยทั่วประเทศเป็นมหาวิทยาลัยสีขาวคือเป็นเขตปลอดบุหรี่ตามกฎหมาย ซึ่งขณะนี้เราสามารถเริ่มต้นร่วมรณรงค์แล้วที่ มหาวิทยาลัยศรีนครินทรวิโรฒ ประสานมิตร จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย มหาวิทยาลัยธรรมศาสตร์ ศูนย์รังสิต มหาวิทยาลัยเซ็นจอห์น และ มหาวิทยาลัยศิลปากร โดยเรามีเป้าหมายภายในปีหน้า เราจะเพิ่มจำนวนมหาวิทยาลัยสีขาวอีกหลายแห่ง และ คาดว่าในอนาคตมหาวิทยาลัยทั่วประเทศน่าจะเป็นมหาวิทยาลัยสีขาวที่ปลอดบุหรี่ได้สำเร็จ การที่วิทยพัฒน์เข้าร่วมรณรงค์โดยใช้พื้นที่ในตำราเป็นสื่อประชาสัมพันธ์น่าจะช่วยให้การรณรงค์บรรลุเป้าหมายได้เร็วยิ่งขึ้น” ศาสตราจารย์ นายแพทย์ประกิตกล่าว

มหาวิทยาลัยศรีปทุม ผู้ใหญ่ใจดี
 

 ช่วยด้วยครับ
นักเรียนที่สร้างบล็อก กรุณาอย่า
คัดลอกข้อมูลจากเว็บอื่นทั้งหมด
ควรนำมาจากหลายๆ เว็บ แล้ววิเคราะห์ สังเคราะห์ และเขียนขึ้นใหม่
หากคัดลอกทั้งหมด จะถูกดำเนินคดี
ตามกฎหมายจากเจ้าของลิขสิทธิ์
มีโทษทั้งจำคุกและปรับในอัตราสูง

ช่วยกันนะครับ 
ไทยกู๊ดวิวจะได้อยู่นานๆ 
ไม่ถูกปิดเสียก่อน

ขอขอบคุณในความร่วมมือครับ

อ่านรายละเอียด

ด่วน...... ขณะนี้
พระราชบัญญัติลิขสิทธิ์ (ฉบับที่ 2) พ.ศ. 2558 
มีผลบังคับใช้แล้ว 
ขอให้นักเรียนและคุณครูที่ใช้งาน
เว็บ thaigoodview ในการส่งการบ้าน
ระมัดระวังการละเมิดลิขสิทธิ์ด้วย
อ่านรายละเอียดที่นี่ครับ

 

สมาชิกที่ออนไลน์

ขณะนี้มี สมาชิก 0 คน และ ผู้เยี่ยมชม 448 คน กำลังออนไลน์