• user warning: Table 'cache_filter' is marked as crashed and should be repaired query: SELECT data, created, headers, expire, serialized FROM cache_filter WHERE cid = '3:cd52c6e3614a841a486af92c1e6e70fb' in /home/tgv/htdocs/includes/cache.inc on line 27.
  • user warning: Table 'cache_filter' is marked as crashed and should be repaired query: UPDATE cache_filter SET data = '<!--paging_filter--><style type=\"text/css\">\n<!--\n.style1 {color: #FF3399}\n.style2 {color: #FF6666}\n.style3 {color: #FF6699}\n.style4 {color: #FF6633}\n.style5 {color: #FF9933}\n.style6 {color: #FF3366}\n.style7 {color: #99CC33}\n.style8 {color: #99CC00}\n.style9 {color: #9900CC}\n.style10 {color: #9933CC}\n.style14 {color: #FF0066}\n.style15 {color: #0099CC}\n.style16 {color: #00CCCC}\n.style17 {color: #FF6600}\n--><!--\n.style1 {color: #FF3399}\n.style2 {color: #FF6666}\n.style3 {color: #FF6699}\n.style4 {color: #FF6633}\n.style5 {color: #FF9933}\n.style6 {color: #FF3366}\n.style7 {color: #99CC33}\n.style8 {color: #99CC00}\n.style9 {color: #9900CC}\n.style10 {color: #9933CC}\n.style14 {color: #FF0066}\n.style15 {color: #0099CC}\n.style16 {color: #00CCCC}\n.style17 {color: #FF6600}\n--></style><p align=\"center\">\n              <img border=\"0\" width=\"417\" src=\"/files/u4922/kapook_39083.gif\" height=\"130\" />\n</p>\n<p>\n&nbsp;\n</p>\n<p align=\"center\" class=\"style1\">\n-*- สวัสดีค่ะทุกๆคน วันนี้เรามาทำความเข้าใจเกี่ยวกับกฎหมายเบื้องต้นกันนะคะ -*-\n</p>\n<p>\n<span class=\"style2\">*-* กฎหมาย (law) คือ</span> <span class=\"style15\">กฎหมายข้อบังคับ </span><br />\n<span class=\"style2\">*-* ปทัสถานทางสังคม หรือ บรรทัดฐานทางสังคม<span class=\"style15\"> </span></span><span class=\"style15\">เป็นที่ยอมรับกันในทางสังคมวิทยาว่า มนุษย์เป็นสัตว์สังคม จึงไม่สามารถอยู่เองอย่างโดดเดี่ยวได้และเมื่อสังคมเกิดขึ้น&quot;ที่ใดมีมนุษย์ ที่นั้นมีสังคม ที่ใดมีสังคม ที่นั้นมีกฎหมาย ด้วยเหตุนั้น ที่ใดมีมนุษย์ ที่นั้นจึงมีกฎหมาย&quot;ดังนั้น แต่ละสังคมจึงจำเป็นต้องมีกฎเกณฑ์ต่าง ๆ เพื่อควบคุมความประพฤติของสมาชิกให้เป็นไปในทำนองเดียวกัน และเพื่อรักษาความสงบเรียบร้อยของส่วนรวม </span>\n</p>\n<p align=\"center\">\n<img border=\"0\" width=\"119\" src=\"/files/u4922/3_33.jpg\" height=\"119\" /><img border=\"0\" width=\"119\" src=\"/files/u4922/3_33.jpg\" height=\"119\" /><img border=\"0\" width=\"119\" src=\"/files/u4922/3_33.jpg\" height=\"119\" /><img border=\"0\" width=\"119\" src=\"/files/u4922/3_33.jpg\" height=\"119\" />\n</p>\n<p align=\"center\" class=\"style3\">\n-*- นักสังคมวิทยาแบ่งปทัสถานทางสังคมเป็นสามประเภทใหญ่ ๆดังนี้ค่ะ -*-\n</p>\n<p>\n<span class=\"style4\">*-* วิถีประชา หรือวิถีชาวบ้าน ( folkways) </span><span class=\"style16\">เป็นปทัสถานทางสังคมที่คนยอมรับนับถือจนเกิดความเคยชิน<br />\nไม่รู้สึกว่าเป็นภาระหน้าที่ และไม่มีกฎหมายข้อบังคับใด ๆ สั่งให้ปฏิบัติ เช่น การพูดคำ &quot;สวัสดี&quot; การยกมือไหว้ การสวมชุดดำในงานศพ เป็นต้นโดยส่วนใหญ่เป็นมาตรฐานทางพฤติกรรม ไม่มีการบังคับควบคุมอย่างเข้มงวด เมื่อมีการละเมิดผู้ละเมิดก็เพียงได้รับคำติฉินนินทา</span>\n</p>\n<p>\n<span class=\"style5\">*-* จารีตประเพณี หรือกฎศีลธรรม ( mores)</span> <span class=\"style16\">เป็นปทัสถานที่กำหนดให้คนในสังคมประพฤติปฏิบัติอย่างเข้มงวด<br />\nมีการควบคุมที่รุนแรงเพื่อป้องกันการฝ่าฝืน จารีตประเพณีจึงมีลักษณะเป็นข้อห้าม ( taboo) เช่น การห้ามสมรสกันระหว่างญาติสืบสายโลหิตเป็นต้น ต้องเป็นแนวประพฤติปฏิบัติที่ดำเนินสืบ ๆ ต่อกันมาเป็นเวลาช้านาน โดยผู้ปฏิบัตินั้นรู้สึกร่วมกันว่าจะต้องปฏิบัติตามเป็นกฎเกณฑ์ควบคุมความประพฤติเช่นเดียวกับกฎหมาย</span>\n</p>\n<p>\n<span class=\"style4\">*-*กฎหมาย</span> <span class=\"style16\">เป็นกฎเกณฑ์ความประพฤติที่กำหนดให้คนในสังคมปฏิบัติตามส่วนใหญ่ปรากฏในสังคมที่มีระบบ ความสัมพันธ์สลับซับซ้อนมากและมีองค์กรหรือสถาบันคอยกำกับดูแลการประพฤติปฏิบัติตามอย่างเป็นกิจจะลักษณะ</span>\n</p>\n<p align=\"center\">\n<img border=\"0\" width=\"337\" src=\"/files/u4922/kapook_27795.gif\" height=\"62\" /> \n</p>\n<p align=\"center\" class=\"style3\">\n<br />\n-*-เรารู้จักกับคำนิยามของจารีตประเพณีกับกฎหมายไปแล้วทีนี้เรามาดูความแตกต่างกันนะคะว่าเป็นอย่างไร-*-\n</p>\n<p class=\"style4\">\n*-* นักสังคมวิทยาจำแนกความแตกต่างระหว่างกฎหมายกับจารีตประเพณีไว้ดังนี้*-*\n</p>\n<p class=\"style16\">\n1. กฎหมายกำหนดระดับต่าง ๆ ของการกระทำความผิด และกำหนดบทลงโทษ เช่น ผิดน้อยก็โทษน้อยผิดมากก็โทษมากแต่จารีตประเพณีเป็นเรื่องของความรู้สึกว่ารับได้หรือไม่ได้ของสังคมมากกว่า<br />\n2. การลงโทษผู้กระทำตามกฎหมายมีองค์กรคอยเป็นธุระจัดการอย่างเป็นกิจจะลักษณะ แต่สำหรับจารีตประเพณีแล้ว ไม่มีองค์กรรับผิดชอบ<br />\n3.จารีตประเพณีมีความเป็นมายาวนานและเปลี่ยนแปลงยากในขณะที่กฎหมายแม้อาจมีความเป็นมายาวนานแต่ก็สามารถ เปลี่ยนแปลงปรับปรุงให้เข้ากับสถานการณ์เฉพาะหน้าได้ทันที<br />\n4.จารีตบางอย่างถูกละเลยโดยคนในสังคมกฎหมายจึงมีประโยชน์กว่าเพราะมีอำนาจบังคับใช้แก่ทุกคนเป็นการทั่วไปอย่าง ไม่มีการยกเว้น<br />\n5. จารีตประเพณีบางทีก็ไม่ชัดเจน ทำให้เกิดปัญหาได้ ขณะที่กฎหมายมีความแน่นอนกว่า\n</p>\n<p align=\"center\" class=\"style6\">\n-*- เรามาทำความเข้าใจเกี่ยวกับ วิวัฒนาการของกฎหมายกันต่อเลยนะคะทุกคน-*-\n</p>\n<p class=\"style16\">\n*-* ประวัติศาสตร์กฎหมายในการที่มนุษย์มาอยู่ร่วมกันจำเป็นต้องมีกฎเกณฑ์เพื่อรักษาความสงบเรียบร้อยในสังคม กฎเกณฑ์นี้เรียกว่า&quot;กฎหมาย&quot;ซึ่งมีความแตกต่างกันไปตามวิวัฒนาการของแต่ละสังคมการพิจารณาถึงวิวัฒนาการของ กฎหมายจึงจำต้องกระทำควบคู่ไปกับการพิจารณาถึงวิวัฒนาการของสังคมศาสตราจารย์ปรีดี เกษมทรัพย์ คณะนิติศาสตร์ มหาวิทยาลัยธรรมศาสตร์ ได้สร้างทฤษฎีกฎหมายสามชั้น หรือกฎหมายสามยุคขึ้นเพื่ออธิบายวิวัฒนาการของกฎหมาย กฎหมายสามชั้นก็คือชั้นของการกำเนิดขึ้นของกฎหมายตามลำดับ ดังต่อไปนี้นะคะ\n</p>\n<p>\n<span class=\"style7\">*-* ยุคกฎหมายจารีตประเพณี *-* </span><br />\n<span class=\"style9\">1. ยุคกฎหมายจารีตประเพณี หรือยุคกฎหมายชาวบ้าน ( folk law) : </span><span class=\"style16\">ในบุรพกาลอันมนุษย์เริ่มมารวมตัวกันเป็นสังคม ได้เกิดกฎเกณฑ์เพื่อควบคุมประพฤติการณ์ของสมาชิกในสังคมนั้นโดยปรากฏตัวอยู่ในรูป &quot;จารีตประเพณี&quot; จารีตประเพณี คือ ประเพณีที่นิยมและประพฤติกันสืบมา ถ้าฝ่าฝืนถือว่าเป็นผิดเป็นชั่ว บางทีก็เรียกว่า &quot;กฎหมายที่ดีของบรรพบุรุษ&quot; ( The Good Old Law) มีที่มาจากสามัญสำนึกและความสามารถใน การจำแนกดีจำแนกชั่วของมนุษย์จารีตประเพณีเช่นว่านี้เป็นสิ่งที่ใช้ความรู้สึกหรือเหตุผลธรรมดาสามัญสัมผัสก็เข้าใจได</span>้\n</p>\n<p>\n<span class=\"style8\">*-* ยุคกฎหมายของนักกฎหมาย *-* </span><br />\n<span class=\"style9\">2. ยุคกฎหมายของนักกฎหมาย ( jurist law) :</span> <span class=\"style16\">ในยุคต่อ ๆ มา สังคมมีความเจริญขึ้น ขยายใหญ่ขึ้นและมีความซับซ้อนขึ้นตามลำดับเมื่อผู้ใดมาละเมิดกฎหมายที่ปรากฏตัวอยู่ในรูปจารีตประเพณีนั้น สมาชิกคนอื่น ๆ ของสังคมย่อมมองว่าเป็นผิดเป็นชั่ว ต้องพิจารณาโทษสำหรับผู้ละเมิดนั้นเพื่อมิให้เกิดการกระทำเช่นนั้นอีก ความรู้สึกร่วมเช่นนี้ค่อย ๆ พัฒนามาเป็น &quot;กระบวนการยุติธรรม&quot;<br />\n*-* กระบวนการยุติธรรมนั้นประกอบด้วยขั้นตอนสองขั้นตอน คือ*-* <br />\n1) กระบวนพิจารณา (proceedings) เป็นขั้นพิจารณาและตัดสินชึ้ขาดว่าใครผิดใครถูก <br />\n2) การบังคับคดี (execution) เป็นขั้นดำเนินการตามคำตัดสินชี้ขาดนั้น เช่น การลงโทษคนผิด การชดเชยความเสียหายที่เกิดขึ้น เป็นต้น </span>\n</p>\n<p>\n<span class=\"style8\">*-* ยุคกฎหมายบัญญัติ *-* </span><br />\n<span class=\"style10\">3. ยุคกฎหมายบัญญัติ, ยุคกฎหมายนิติบัญญัติ หรือยุคกฎหมายเทคนิค (technical law) : </span><span class=\"style16\">ยุคถัดมา สังคมมีความเจริญและเปลี่ยนแปลงไปมากขึ้นการดำรงชีวิตมีความสลับซับซ้อนตามไปด้วย จำเป็นต้องมีการแก้ไขปัญหาอย่างปัจจุบันหรือเฉพาะหน้า หรือเพื่อวัตถุประสงค์เฉพาะบางประการ<br />\nซึ่งบางทีจารีตประเพณีหรือกฎหมายอย่างเดิมก็มีข้อจำกัดไม่อาจสนองความต้องการนั้นได้กฎหมายสมัยใหม่เช่นว่านี้มักมีองค์กรประจำทำหน้าที่กลั่นกรองและประกาศใช้ เรียกว่า &quot;ฝ่ายนิติบัญญัติ&quot; ซึ่งมีกำเนิดแต่คริสต์ศตวรรษที่ 18รองศาสตราจารย์สมยศ เชื้อไทย คณะนิติศาสตร์ มหาวิทยาลัยธรรมศาสตร์ แสดงความคิดเห็นว่า...กฎหมายเทคนิคไม่มีขนบธรรมเนียมประเพณีและศีลธรรมคอยหนุนหลัง ถ้าใครผิดก็ไม่รู้สึกว่าคนนั้นทำชั่วหรือทำผิดศีลธรรมเพราะฉะนั้นกฎหมายเทคนิคจึงไม่มีลักษณะบังคับตามธรรมชาติ เช่น จอดรถในที่ห้ามจอด คนส่วนใหญ่ไม่รู้สึกว่าชั่ว...</span>\n</p>\n<p align=\"center\">\n<img border=\"0\" width=\"86\" src=\"/files/u4922/12.jpg\" height=\"129\" /><img border=\"0\" width=\"86\" src=\"/files/u4922/12.jpg\" height=\"129\" />       <img border=\"0\" width=\"125\" src=\"/files/u4922/34_0.jpg\" height=\"98\" /><img border=\"0\" width=\"125\" src=\"/files/u4922/34_1.jpg\" height=\"98\" />\n</p>\n<p align=\"center\" class=\"style6\">\n*-* ลักษณะสำคัญของกฎหมาย *-* <br />\nกฎหมายปัจจุบันจำต้องมีลักษณะสำคัญดังต่อไปนี้จึงจะชื่อว่าเป็น &quot;กฎหมาย&quot;\n</p>\n<p class=\"style16\">\n1. กฎหมายมีลักษณะเป็นกฎเกณฑ์<br />\n2. กฎหมายกำหนดความประพฤติของบุคคล<br />\n3. กฎหมายมีสภาพบังคับ สภาพบังคับ ของกฎหมายนั้นมีทั้งที่เป็นผลร้าย เช่น โทษทางอาญา และผลดี เช่นการลดภาษีเงินได้<br />\n4. กฎหมายมีกระบวนการอันเป็นกิจจะลักษณะแต่ก็มีการเว้นให้ประชาชนบังคับใช้กฎหมายได้เองเป็นกรณีพิเศษ คือ<br />\n-1) กรณีเพื่อการป้องกันตามกฎหมายอาญา เช่น การป้องกันตนเองจากภัยที่ใกล้จะถึงและการป้องกันนั้นไม่เกินกว่าเหตุ เป็นต้น <br />\n-2) กรณีที่ได้รับนิรโทษกรรมตามกฎหมายแพ่ง เช่น กรณีเพื่อป้องกันสิทธิของตนเอง หากไปแจ้งทางราชการจะไม่ทันท่วงทีกรณีเช่นนี้บุคคลไม่ต้องใช้สินไหมทดแทนสำหรับความเสียหายที่เกิดขึ้น เป็นต้น\n</p>\n<p>\n&nbsp;\n</p>\n<p align=\"center\">\n<img border=\"0\" width=\"150\" src=\"/files/u4922/456.jpg\" height=\"113\" /><img border=\"0\" width=\"150\" src=\"/files/u4922/456.jpg\" height=\"113\" />       <img border=\"0\" width=\"111\" src=\"/files/u4922/678_0.jpg\" height=\"111\" /><img border=\"0\" width=\"111\" src=\"/files/u4922/678_0.jpg\" height=\"111\" /><br />\n<span class=\"style6\">*-* ระบบกฎหมาย*-* </span>\n</p>\n<p>\n<span class=\"style16\">-*- การใช้ระบบกฎหมายของประเทศต่างๆกฎหมายที่ใช้กันในโลกแบ่งออกได้เป็นสองระบบใหญ่ คือ<br />\nระบบกฎหมายจารีตประเพณี (common law system) และระบบประมวลกฎหมาย (civil law system) ซึ่งทั้งสองระบบนี้<br />\nต่างก็มีกฎหมายที่บัญญัติไว้เป็นลายลักษณ์อักษร แต่คนโดยทั่วไปมักจดจำว่าระบบกฎหมาย common law ไม่ใช่กฎหมายลายลักษณ์อักษร ซึ่งเป็น<br />\nความเข้าใจที่คลาดเคลื่อน อย่างไรก็ดีการแบ่งระบบกฎหมายโดยทั่วไปที่ได้รับการยอมรับกันในเชิงกฎหมายเปรียบเทียบแบ่งออกเป็น 4 ระบบ ดังน</span>ี้\n</p>\n<p>\n<span class=\"style17\">1.ระบบกฎหมายจารีตประเพณี (Common Law </span><span class=\"style16\"><span class=\"style17\">System)</span>ประเทศที่ได้รับอิทธิพลของกฎหมายจารีตประเพณีเป็นระบบที่ใช้กันในเครือจักรภพอังกฤษและในสหรัฐอเมริกา โดยจะใช้คำพิพากษาที่ศาลเคยวางหลักไว้แล้วเป็นหลักในการพิจารณา ระบบนี้มีกฎหมายที่บัญญัติโดยรัฐสภาเช่นเดียวกับประเทศที่ใช้ระบบประมวลกฎหมายตัวอย่างประเทศที่ใช้ระบบนี้ในปัจจุบันนั้น ได้แก่ เครือจักรภพอังกฤษ, สหรัฐอเมริกา, แคนาดา, ออสเตรเลีย, นิวซีแลนด์, อินเดีย เป็นต้น</span><br />\n<span class=\"style17\">2.ระบบประมวลกฎหมาย (Civil Law System) </span><br />\n<span class=\"style16\">เป็นระบบที่ใช้กันในภาคพื้นทวีปยุโรป โดยมีหลักกฎหมายซึ่งสืบทอดมาจากหลักกฎหมายโรมัน ในการเรียนการสอนกฎหมายของบางประเทศเช่น เยอรมัน จะต้องเรียนรู้ภาษาลาตินก่อนจึงจะสามารถเรียนกฎหมายได้ ตัวอย่างประเทศที่ใช้ระบบนี้ในปัจจุบันนั้น ได้แก่ ฝรั่งเศส เยอรมันอิตาลี ญี่ปุ่น ประเทศสแกนดิเนเวีย รวมทั้งประเทศไทย เป็นต้น</span><br />\n<span class=\"style17\">3.ระบบกฎหมายศาสนา (Religious Law System) </span><br />\n<span class=\"style16\">หมายถึงระบบกฎหมายที่พึ่งพิงกับระบบทางศาสนาหรือใช้คัมภีร์ทางศาสนาเป็นกฎหมายซึ่งมักจะมีวิธีการใช้กฎหมายที่แตกต่างกันออกไปอาทิเช่น การใช้ฮาลัคกาห์ของยิวในกฎหมายมหาชน ถือเป็นเรื่องที่ไม่อาจเปลี่ยนแปลงเป็นอื่นได้ ขณะที่การใช้กฎหมายอิสลามขี่นอยู่กับบรรทัดฐาน<br />\nการใช้กฎหมายที่มีมาก่อนและการตีความด้วยการเทียบเคียงเป็นต้น ตัวอย่างประเทศที่ใช้ระบบนี้ในปัจจุบันนั้น ได้แก่ อัฟกานิสถาน ลิเบีย อิหร่าน เป็นต้น</span><br />\n<span class=\"style17\">4.ระบบกฎหมายผสมผสาน (Pluralistic Systems) </span><br />\n<span class=\"style16\">หมายถึงระบบที่ใช้การผสมผสานจากสามระบบข้างต้น มักเกิดจากอิทธิพลทางประวัติศาสตร์ที่ทำให้เกิดการผสมผสานระหว่างระบบกฎหมายขึ้น<br />\nเช่น มาเลเชียใช้ระบบกฎหมายทั่วไปเป็นหลักผสมผสานกับระบบกฎหมายศาสนา อิยิปต์ใช้ระบบกฎหมายศาสนาเป็นหลักผสมผสานกับ<br />\nระบบประมวลกฎหมาย เป็นต้น</span>\n</p>\n<p>\n&nbsp;\n</p>\n<p align=\"center\">\n<img border=\"0\" width=\"124\" src=\"/files/u4922/IMAGES.jpg\" height=\"108\" /><img border=\"0\" width=\"124\" src=\"/files/u4922/IMAGES_0.jpg\" height=\"108\" />      <img border=\"0\" width=\"133\" src=\"/files/u4922/images3.jpg\" height=\"88\" /><img border=\"0\" width=\"133\" src=\"/files/u4922/images3_0.jpg\" height=\"88\" /><br />\n<span class=\"style1\">*- * ลำดับศักดิ์กฎหมายไทย *-* </span>\n</p>\n<p>\n&nbsp;\n</p>\n<p class=\"style16\">\n1. รัฐธรรมนูญ <br />\n2. พระราชบัญญัติ พระราชบัญญัติประกอบรัฐธรรมนูญ พระราชกำหนด ประมวลกฎหมาย <br />\n3. พระราชกฤษฎีกา <br />\n4. กฎกระทรวง บริหารบัญญัติ องค์การบัญญัติ กฎใช้เฉพาะกลุ่มคน กฎมนเทียรบาล <br />\n*-* ศักดิ์ของกฎหมาย (hierachy of law) คือ ลำดับความสูงต่ำของกฎหมาย<br />\nการจัดศักดิ์ของกฎหมายมีความสำคัญต่อกระบวนวิธีการต่าง ๆ ทางกฎหมาย ไม่ว่าจะเป็นการใช้การตีความ และการยกเลิกกฎหมาย<br />\n*-* เกณฑ์ในการกำหนดศักดิ์ของกฎหมาย<br />\nเกณฑ์ในการกำหนดศักดิ์ของกฎหมายได้แก่ การพิจารณาจากผู้ตรากฎหมายฉบับนั้น ๆ ซึ่งย่อมแตกต่างกันไปในแต่ละรัฐสำหรับประเทศไทยนั้นรัฐธรรมนูญเป็นกฎหมายที่ตราขึ้นโดยผู้แทนของปวงชนคือรัฐสภา เป็นการที่สภาผู้แทนราษฎรและวุฒิสภาร่วมกันใช้อำนาจสูงสุดแห่งรัฐในการออกกฎหมาย จึงให้มีศักดิ์สูงสุด ส่วนที่มีศักดิ์รองลงมาได้แก่ พระราชบัญญัติ และพระราชกำหนดซึ่งได้รับการพิจารณาจากสภาผู้แทนราษฎรก่อนแล้วจึงผ่านไปยังวุฒิสภา เป็นการแยกกันใช้อำนาจ\n</p>\n<p align=\"center\" class=\"style16\">\n<img border=\"0\" width=\"135\" src=\"/files/u4922/4.jpg\" height=\"86\" /><img border=\"0\" width=\"135\" src=\"/files/u4922/4.jpg\" height=\"86\" />    <img border=\"0\" width=\"100\" src=\"/files/u4922/555.jpg\" height=\"120\" /><img border=\"0\" width=\"100\" src=\"/files/u4922/555.jpg\" height=\"120\" />\n</p>\n<p>\n&nbsp;\n</p>\n<p class=\"style1\">\n*****เหนื่อยกันหรือยังคะ ถ้ายังไม่เหนื่อยงั้นเรามาดูกันดีกว่าว่ากฎหมายมีหน้าที่ะไรบ้าง ถ้าพร้อมแล้วไปกันเลย!!!!!!! *****\n</p>\n<p class=\"style16\">\nกฎหมายมีหน้าที่หลัก 5 ประการด้วยกัน<br />\n1.สร้างและรักษาความสงบเรียบร้อย ความปลอดภัย และความมั่นคงของสังคม <br />\n2.เป็นวิศวกรสังคม กฎหมายทำหน้าที่วางแนวทางและแก้ไขปัญหาสังคมทั้งปัจจุบันและอนาคต<br />\n3.จัดสรรทรัพยากรและสร้างโครงสร้างทางเศรษฐกิจ<br />\n4. กฎหมายจัดสรรงบประมาณ กฎหมายการปรับดอกเบี้ย<br />\n5.จัดตั้งและกำหนดโครงสร้างทางการเมืองการปกครอง\n</p>\n<p>\n<span class=\"style1\">-*-การแบ่งประเภทของกฎหมายนั้น การแบ่งสามารถอาศัยเกณฑ์ที่ต่างกัน อาทิเช่น-*-</span><br />\n<span class=\"style15\"><span class=\"style16\">เกณฑ์ลักษณะ แบ่งได้เป็นกฎหมายมหาชนและกฎหมายเอกชนเกณฑ์เขตอำนาจ แบ่งได้เป็น กฎหมายภายในประเทศและกฎหมายระหว่างประเทศเกณฑ์เนื้อหาเฉพาะด้าน แบ่งได้เป็นกฎหมายแพ่ง กฎหมายอาญา กฎหมายภาษี กฎหมายสิ่งแวดล้อม ฯลฯถ้าพิจารณาจากเนื้อหาโดยพื้นฐานของกฎหมายแล้ว อาจแบ่งได้เป็น 2 ประเภทคือ<br />\n1.กฎหมายสารบัญญัติ (Substantive law) หรือกฎหมายที่บัญญัติถึงเนื้อหาของสิทธิหน้าที่ข้อห้ามหรือกล่าวอีกนัยหนึ่งคือ<br />\nเป็นกฎหมายที่ควบคุมความประพฤติของคนในสังคมโดยตรง<br />\n2.กฎหมายสบัญญัติ หรือ กฎหมายวิธีสบัญญัติ (Adjective law หรือ Procedural Law)<br />\nกฎหมายทั้งสองประเภทมักจะนำมาใช้ควบคู่กันตลอด เพื่อให้กระบวนการยุติธรรมนั้นสมบูรณ</span>์</span>\n</p>\n<p>\n<span class=\"style1\">-*- หลักทฤษฎีพื้นฐานของการใช้กฎหมาย กฎหมายเฉพาะย่อมยกเว้นกฎหมายทั่วไป-*-</span><br />\n<span class=\"style16\">- กฎหมายหรือกฎเกณฑ์แห่งกฎหมายจะขัดหรือแย้งต่อกฎหมายหรือกฎเกณฑ์แห่งกฎหมายที่มีลำดับศักดิ์สูงกว่ามิได้<br />\n- กฎหมายแม่ถูกยกเลิก กฎหมายลูกก็เป็นอันถูกยกเลิกตามไปด้วย<br />\n- กฎหมายเรื่องเดียวกัน หากมีซ้ำซ้อนกันและมิได้บัญญัติว่าให้ใช้ฉบับใด ให้ถือว่าต้องใช้ฉบับที่บัญญัติขึ้นภายหลัง</span>\n</p>\n<p align=\"center\" class=\"style14\">\n******* จากการที่เราได้แนะนำข้อมูลเกี่ยวกับกฎหมายไปแล้วเพื่อนๆพอจะเข้าใจบ้างหรือเปล่าคะ<br />\nถ้าไม่เข้าใจก็ค่อๆศึกษาเพิ่มเติมนะคะแล้วเพื่อนๆก็จะเข้าใจว่ากฎหมายไม่ใช่เรื่องที่ยากอย่างที่คิด<br />\nอาจจะมีเนื้อหาเยอะไปไม่มีรูปภาพประกอบก็ต้องขออภัยด้วยนะคะ************\n</p>\n<p>\n&nbsp;\n</p>\n<p>\n&nbsp;\n</p>\n<p align=\"center\">\n<img border=\"0\" width=\"118\" src=\"/files/u4922/777.jpg\" height=\"89\" /><img border=\"0\" width=\"118\" src=\"/files/u4922/777_0.jpg\" height=\"89\" />     <img border=\"0\" width=\"132\" src=\"/files/u4922/6644.jpg\" height=\"99\" /><img border=\"0\" width=\"132\" src=\"/files/u4922/6644.jpg\" height=\"99\" />\n</p>\n<p>\n&nbsp;\n</p>\n<p align=\"center\">\n<img border=\"0\" width=\"100\" src=\"/files/u4922/kapook_287.gif\" height=\"101\" /><img border=\"0\" width=\"64\" src=\"/files/u4922/kapook_284.gif\" height=\"64\" /><img border=\"0\" width=\"85\" src=\"/files/u4922/kapook_285.gif\" height=\"65\" /><img border=\"0\" width=\"64\" src=\"/files/u4922/kapook_299.gif\" height=\"50\" />\n</p>\n<p>\n&nbsp;\n</p>\n<p>\n&nbsp;\n</p>\n<p>\n&nbsp;\n</p>\n', created = 1720167547, expire = 1720253947, headers = '', serialized = 0 WHERE cid = '3:cd52c6e3614a841a486af92c1e6e70fb' in /home/tgv/htdocs/includes/cache.inc on line 112.

กฎหมายเบื้องต้น

              

 

-*- สวัสดีค่ะทุกๆคน วันนี้เรามาทำความเข้าใจเกี่ยวกับกฎหมายเบื้องต้นกันนะคะ -*-

*-* กฎหมาย (law) คือ กฎหมายข้อบังคับ
*-* ปทัสถานทางสังคม หรือ บรรทัดฐานทางสังคม เป็นที่ยอมรับกันในทางสังคมวิทยาว่า มนุษย์เป็นสัตว์สังคม จึงไม่สามารถอยู่เองอย่างโดดเดี่ยวได้และเมื่อสังคมเกิดขึ้น"ที่ใดมีมนุษย์ ที่นั้นมีสังคม ที่ใดมีสังคม ที่นั้นมีกฎหมาย ด้วยเหตุนั้น ที่ใดมีมนุษย์ ที่นั้นจึงมีกฎหมาย"ดังนั้น แต่ละสังคมจึงจำเป็นต้องมีกฎเกณฑ์ต่าง ๆ เพื่อควบคุมความประพฤติของสมาชิกให้เป็นไปในทำนองเดียวกัน และเพื่อรักษาความสงบเรียบร้อยของส่วนรวม

-*- นักสังคมวิทยาแบ่งปทัสถานทางสังคมเป็นสามประเภทใหญ่ ๆดังนี้ค่ะ -*-

*-* วิถีประชา หรือวิถีชาวบ้าน ( folkways) เป็นปทัสถานทางสังคมที่คนยอมรับนับถือจนเกิดความเคยชิน
ไม่รู้สึกว่าเป็นภาระหน้าที่ และไม่มีกฎหมายข้อบังคับใด ๆ สั่งให้ปฏิบัติ เช่น การพูดคำ "สวัสดี" การยกมือไหว้ การสวมชุดดำในงานศพ เป็นต้นโดยส่วนใหญ่เป็นมาตรฐานทางพฤติกรรม ไม่มีการบังคับควบคุมอย่างเข้มงวด เมื่อมีการละเมิดผู้ละเมิดก็เพียงได้รับคำติฉินนินทา

*-* จารีตประเพณี หรือกฎศีลธรรม ( mores) เป็นปทัสถานที่กำหนดให้คนในสังคมประพฤติปฏิบัติอย่างเข้มงวด
มีการควบคุมที่รุนแรงเพื่อป้องกันการฝ่าฝืน จารีตประเพณีจึงมีลักษณะเป็นข้อห้าม ( taboo) เช่น การห้ามสมรสกันระหว่างญาติสืบสายโลหิตเป็นต้น ต้องเป็นแนวประพฤติปฏิบัติที่ดำเนินสืบ ๆ ต่อกันมาเป็นเวลาช้านาน โดยผู้ปฏิบัตินั้นรู้สึกร่วมกันว่าจะต้องปฏิบัติตามเป็นกฎเกณฑ์ควบคุมความประพฤติเช่นเดียวกับกฎหมาย

*-*กฎหมาย เป็นกฎเกณฑ์ความประพฤติที่กำหนดให้คนในสังคมปฏิบัติตามส่วนใหญ่ปรากฏในสังคมที่มีระบบ ความสัมพันธ์สลับซับซ้อนมากและมีองค์กรหรือสถาบันคอยกำกับดูแลการประพฤติปฏิบัติตามอย่างเป็นกิจจะลักษณะ

 


-*-เรารู้จักกับคำนิยามของจารีตประเพณีกับกฎหมายไปแล้วทีนี้เรามาดูความแตกต่างกันนะคะว่าเป็นอย่างไร-*-

*-* นักสังคมวิทยาจำแนกความแตกต่างระหว่างกฎหมายกับจารีตประเพณีไว้ดังนี้*-*

1. กฎหมายกำหนดระดับต่าง ๆ ของการกระทำความผิด และกำหนดบทลงโทษ เช่น ผิดน้อยก็โทษน้อยผิดมากก็โทษมากแต่จารีตประเพณีเป็นเรื่องของความรู้สึกว่ารับได้หรือไม่ได้ของสังคมมากกว่า
2. การลงโทษผู้กระทำตามกฎหมายมีองค์กรคอยเป็นธุระจัดการอย่างเป็นกิจจะลักษณะ แต่สำหรับจารีตประเพณีแล้ว ไม่มีองค์กรรับผิดชอบ
3.จารีตประเพณีมีความเป็นมายาวนานและเปลี่ยนแปลงยากในขณะที่กฎหมายแม้อาจมีความเป็นมายาวนานแต่ก็สามารถ เปลี่ยนแปลงปรับปรุงให้เข้ากับสถานการณ์เฉพาะหน้าได้ทันที
4.จารีตบางอย่างถูกละเลยโดยคนในสังคมกฎหมายจึงมีประโยชน์กว่าเพราะมีอำนาจบังคับใช้แก่ทุกคนเป็นการทั่วไปอย่าง ไม่มีการยกเว้น
5. จารีตประเพณีบางทีก็ไม่ชัดเจน ทำให้เกิดปัญหาได้ ขณะที่กฎหมายมีความแน่นอนกว่า

-*- เรามาทำความเข้าใจเกี่ยวกับ วิวัฒนาการของกฎหมายกันต่อเลยนะคะทุกคน-*-

*-* ประวัติศาสตร์กฎหมายในการที่มนุษย์มาอยู่ร่วมกันจำเป็นต้องมีกฎเกณฑ์เพื่อรักษาความสงบเรียบร้อยในสังคม กฎเกณฑ์นี้เรียกว่า"กฎหมาย"ซึ่งมีความแตกต่างกันไปตามวิวัฒนาการของแต่ละสังคมการพิจารณาถึงวิวัฒนาการของ กฎหมายจึงจำต้องกระทำควบคู่ไปกับการพิจารณาถึงวิวัฒนาการของสังคมศาสตราจารย์ปรีดี เกษมทรัพย์ คณะนิติศาสตร์ มหาวิทยาลัยธรรมศาสตร์ ได้สร้างทฤษฎีกฎหมายสามชั้น หรือกฎหมายสามยุคขึ้นเพื่ออธิบายวิวัฒนาการของกฎหมาย กฎหมายสามชั้นก็คือชั้นของการกำเนิดขึ้นของกฎหมายตามลำดับ ดังต่อไปนี้นะคะ

*-* ยุคกฎหมายจารีตประเพณี *-*
1. ยุคกฎหมายจารีตประเพณี หรือยุคกฎหมายชาวบ้าน ( folk law) : ในบุรพกาลอันมนุษย์เริ่มมารวมตัวกันเป็นสังคม ได้เกิดกฎเกณฑ์เพื่อควบคุมประพฤติการณ์ของสมาชิกในสังคมนั้นโดยปรากฏตัวอยู่ในรูป "จารีตประเพณี" จารีตประเพณี คือ ประเพณีที่นิยมและประพฤติกันสืบมา ถ้าฝ่าฝืนถือว่าเป็นผิดเป็นชั่ว บางทีก็เรียกว่า "กฎหมายที่ดีของบรรพบุรุษ" ( The Good Old Law) มีที่มาจากสามัญสำนึกและความสามารถใน การจำแนกดีจำแนกชั่วของมนุษย์จารีตประเพณีเช่นว่านี้เป็นสิ่งที่ใช้ความรู้สึกหรือเหตุผลธรรมดาสามัญสัมผัสก็เข้าใจได

*-* ยุคกฎหมายของนักกฎหมาย *-*
2. ยุคกฎหมายของนักกฎหมาย ( jurist law) : ในยุคต่อ ๆ มา สังคมมีความเจริญขึ้น ขยายใหญ่ขึ้นและมีความซับซ้อนขึ้นตามลำดับเมื่อผู้ใดมาละเมิดกฎหมายที่ปรากฏตัวอยู่ในรูปจารีตประเพณีนั้น สมาชิกคนอื่น ๆ ของสังคมย่อมมองว่าเป็นผิดเป็นชั่ว ต้องพิจารณาโทษสำหรับผู้ละเมิดนั้นเพื่อมิให้เกิดการกระทำเช่นนั้นอีก ความรู้สึกร่วมเช่นนี้ค่อย ๆ พัฒนามาเป็น "กระบวนการยุติธรรม"
*-* กระบวนการยุติธรรมนั้นประกอบด้วยขั้นตอนสองขั้นตอน คือ*-*
1) กระบวนพิจารณา (proceedings) เป็นขั้นพิจารณาและตัดสินชึ้ขาดว่าใครผิดใครถูก
2) การบังคับคดี (execution) เป็นขั้นดำเนินการตามคำตัดสินชี้ขาดนั้น เช่น การลงโทษคนผิด การชดเชยความเสียหายที่เกิดขึ้น เป็นต้น

*-* ยุคกฎหมายบัญญัติ *-*
3. ยุคกฎหมายบัญญัติ, ยุคกฎหมายนิติบัญญัติ หรือยุคกฎหมายเทคนิค (technical law) : ยุคถัดมา สังคมมีความเจริญและเปลี่ยนแปลงไปมากขึ้นการดำรงชีวิตมีความสลับซับซ้อนตามไปด้วย จำเป็นต้องมีการแก้ไขปัญหาอย่างปัจจุบันหรือเฉพาะหน้า หรือเพื่อวัตถุประสงค์เฉพาะบางประการ
ซึ่งบางทีจารีตประเพณีหรือกฎหมายอย่างเดิมก็มีข้อจำกัดไม่อาจสนองความต้องการนั้นได้กฎหมายสมัยใหม่เช่นว่านี้มักมีองค์กรประจำทำหน้าที่กลั่นกรองและประกาศใช้ เรียกว่า "ฝ่ายนิติบัญญัติ" ซึ่งมีกำเนิดแต่คริสต์ศตวรรษที่ 18รองศาสตราจารย์สมยศ เชื้อไทย คณะนิติศาสตร์ มหาวิทยาลัยธรรมศาสตร์ แสดงความคิดเห็นว่า...กฎหมายเทคนิคไม่มีขนบธรรมเนียมประเพณีและศีลธรรมคอยหนุนหลัง ถ้าใครผิดก็ไม่รู้สึกว่าคนนั้นทำชั่วหรือทำผิดศีลธรรมเพราะฉะนั้นกฎหมายเทคนิคจึงไม่มีลักษณะบังคับตามธรรมชาติ เช่น จอดรถในที่ห้ามจอด คนส่วนใหญ่ไม่รู้สึกว่าชั่ว...

      

*-* ลักษณะสำคัญของกฎหมาย *-*
กฎหมายปัจจุบันจำต้องมีลักษณะสำคัญดังต่อไปนี้จึงจะชื่อว่าเป็น "กฎหมาย"

1. กฎหมายมีลักษณะเป็นกฎเกณฑ์
2. กฎหมายกำหนดความประพฤติของบุคคล
3. กฎหมายมีสภาพบังคับ สภาพบังคับ ของกฎหมายนั้นมีทั้งที่เป็นผลร้าย เช่น โทษทางอาญา และผลดี เช่นการลดภาษีเงินได้
4. กฎหมายมีกระบวนการอันเป็นกิจจะลักษณะแต่ก็มีการเว้นให้ประชาชนบังคับใช้กฎหมายได้เองเป็นกรณีพิเศษ คือ
-1) กรณีเพื่อการป้องกันตามกฎหมายอาญา เช่น การป้องกันตนเองจากภัยที่ใกล้จะถึงและการป้องกันนั้นไม่เกินกว่าเหตุ เป็นต้น
-2) กรณีที่ได้รับนิรโทษกรรมตามกฎหมายแพ่ง เช่น กรณีเพื่อป้องกันสิทธิของตนเอง หากไปแจ้งทางราชการจะไม่ทันท่วงทีกรณีเช่นนี้บุคคลไม่ต้องใช้สินไหมทดแทนสำหรับความเสียหายที่เกิดขึ้น เป็นต้น

 

      
*-* ระบบกฎหมาย*-*

-*- การใช้ระบบกฎหมายของประเทศต่างๆกฎหมายที่ใช้กันในโลกแบ่งออกได้เป็นสองระบบใหญ่ คือ
ระบบกฎหมายจารีตประเพณี (common law system) และระบบประมวลกฎหมาย (civil law system) ซึ่งทั้งสองระบบนี้
ต่างก็มีกฎหมายที่บัญญัติไว้เป็นลายลักษณ์อักษร แต่คนโดยทั่วไปมักจดจำว่าระบบกฎหมาย common law ไม่ใช่กฎหมายลายลักษณ์อักษร ซึ่งเป็น
ความเข้าใจที่คลาดเคลื่อน อย่างไรก็ดีการแบ่งระบบกฎหมายโดยทั่วไปที่ได้รับการยอมรับกันในเชิงกฎหมายเปรียบเทียบแบ่งออกเป็น 4 ระบบ ดังน
ี้

1.ระบบกฎหมายจารีตประเพณี (Common Law System)ประเทศที่ได้รับอิทธิพลของกฎหมายจารีตประเพณีเป็นระบบที่ใช้กันในเครือจักรภพอังกฤษและในสหรัฐอเมริกา โดยจะใช้คำพิพากษาที่ศาลเคยวางหลักไว้แล้วเป็นหลักในการพิจารณา ระบบนี้มีกฎหมายที่บัญญัติโดยรัฐสภาเช่นเดียวกับประเทศที่ใช้ระบบประมวลกฎหมายตัวอย่างประเทศที่ใช้ระบบนี้ในปัจจุบันนั้น ได้แก่ เครือจักรภพอังกฤษ, สหรัฐอเมริกา, แคนาดา, ออสเตรเลีย, นิวซีแลนด์, อินเดีย เป็นต้น
2.ระบบประมวลกฎหมาย (Civil Law System)
เป็นระบบที่ใช้กันในภาคพื้นทวีปยุโรป โดยมีหลักกฎหมายซึ่งสืบทอดมาจากหลักกฎหมายโรมัน ในการเรียนการสอนกฎหมายของบางประเทศเช่น เยอรมัน จะต้องเรียนรู้ภาษาลาตินก่อนจึงจะสามารถเรียนกฎหมายได้ ตัวอย่างประเทศที่ใช้ระบบนี้ในปัจจุบันนั้น ได้แก่ ฝรั่งเศส เยอรมันอิตาลี ญี่ปุ่น ประเทศสแกนดิเนเวีย รวมทั้งประเทศไทย เป็นต้น
3.ระบบกฎหมายศาสนา (Religious Law System)
หมายถึงระบบกฎหมายที่พึ่งพิงกับระบบทางศาสนาหรือใช้คัมภีร์ทางศาสนาเป็นกฎหมายซึ่งมักจะมีวิธีการใช้กฎหมายที่แตกต่างกันออกไปอาทิเช่น การใช้ฮาลัคกาห์ของยิวในกฎหมายมหาชน ถือเป็นเรื่องที่ไม่อาจเปลี่ยนแปลงเป็นอื่นได้ ขณะที่การใช้กฎหมายอิสลามขี่นอยู่กับบรรทัดฐาน
การใช้กฎหมายที่มีมาก่อนและการตีความด้วยการเทียบเคียงเป็นต้น ตัวอย่างประเทศที่ใช้ระบบนี้ในปัจจุบันนั้น ได้แก่ อัฟกานิสถาน ลิเบีย อิหร่าน เป็นต้น

4.ระบบกฎหมายผสมผสาน (Pluralistic Systems)
หมายถึงระบบที่ใช้การผสมผสานจากสามระบบข้างต้น มักเกิดจากอิทธิพลทางประวัติศาสตร์ที่ทำให้เกิดการผสมผสานระหว่างระบบกฎหมายขึ้น
เช่น มาเลเชียใช้ระบบกฎหมายทั่วไปเป็นหลักผสมผสานกับระบบกฎหมายศาสนา อิยิปต์ใช้ระบบกฎหมายศาสนาเป็นหลักผสมผสานกับ
ระบบประมวลกฎหมาย เป็นต้น

 

     
*- * ลำดับศักดิ์กฎหมายไทย *-*

 

1. รัฐธรรมนูญ
2. พระราชบัญญัติ พระราชบัญญัติประกอบรัฐธรรมนูญ พระราชกำหนด ประมวลกฎหมาย
3. พระราชกฤษฎีกา
4. กฎกระทรวง บริหารบัญญัติ องค์การบัญญัติ กฎใช้เฉพาะกลุ่มคน กฎมนเทียรบาล
*-* ศักดิ์ของกฎหมาย (hierachy of law) คือ ลำดับความสูงต่ำของกฎหมาย
การจัดศักดิ์ของกฎหมายมีความสำคัญต่อกระบวนวิธีการต่าง ๆ ทางกฎหมาย ไม่ว่าจะเป็นการใช้การตีความ และการยกเลิกกฎหมาย
*-* เกณฑ์ในการกำหนดศักดิ์ของกฎหมาย
เกณฑ์ในการกำหนดศักดิ์ของกฎหมายได้แก่ การพิจารณาจากผู้ตรากฎหมายฉบับนั้น ๆ ซึ่งย่อมแตกต่างกันไปในแต่ละรัฐสำหรับประเทศไทยนั้นรัฐธรรมนูญเป็นกฎหมายที่ตราขึ้นโดยผู้แทนของปวงชนคือรัฐสภา เป็นการที่สภาผู้แทนราษฎรและวุฒิสภาร่วมกันใช้อำนาจสูงสุดแห่งรัฐในการออกกฎหมาย จึงให้มีศักดิ์สูงสุด ส่วนที่มีศักดิ์รองลงมาได้แก่ พระราชบัญญัติ และพระราชกำหนดซึ่งได้รับการพิจารณาจากสภาผู้แทนราษฎรก่อนแล้วจึงผ่านไปยังวุฒิสภา เป็นการแยกกันใช้อำนาจ

   

 

*****เหนื่อยกันหรือยังคะ ถ้ายังไม่เหนื่อยงั้นเรามาดูกันดีกว่าว่ากฎหมายมีหน้าที่ะไรบ้าง ถ้าพร้อมแล้วไปกันเลย!!!!!!! *****

กฎหมายมีหน้าที่หลัก 5 ประการด้วยกัน
1.สร้างและรักษาความสงบเรียบร้อย ความปลอดภัย และความมั่นคงของสังคม
2.เป็นวิศวกรสังคม กฎหมายทำหน้าที่วางแนวทางและแก้ไขปัญหาสังคมทั้งปัจจุบันและอนาคต
3.จัดสรรทรัพยากรและสร้างโครงสร้างทางเศรษฐกิจ
4. กฎหมายจัดสรรงบประมาณ กฎหมายการปรับดอกเบี้ย
5.จัดตั้งและกำหนดโครงสร้างทางการเมืองการปกครอง

-*-การแบ่งประเภทของกฎหมายนั้น การแบ่งสามารถอาศัยเกณฑ์ที่ต่างกัน อาทิเช่น-*-
เกณฑ์ลักษณะ แบ่งได้เป็นกฎหมายมหาชนและกฎหมายเอกชนเกณฑ์เขตอำนาจ แบ่งได้เป็น กฎหมายภายในประเทศและกฎหมายระหว่างประเทศเกณฑ์เนื้อหาเฉพาะด้าน แบ่งได้เป็นกฎหมายแพ่ง กฎหมายอาญา กฎหมายภาษี กฎหมายสิ่งแวดล้อม ฯลฯถ้าพิจารณาจากเนื้อหาโดยพื้นฐานของกฎหมายแล้ว อาจแบ่งได้เป็น 2 ประเภทคือ
1.กฎหมายสารบัญญัติ (Substantive law) หรือกฎหมายที่บัญญัติถึงเนื้อหาของสิทธิหน้าที่ข้อห้ามหรือกล่าวอีกนัยหนึ่งคือ
เป็นกฎหมายที่ควบคุมความประพฤติของคนในสังคมโดยตรง
2.กฎหมายสบัญญัติ หรือ กฎหมายวิธีสบัญญัติ (Adjective law หรือ Procedural Law)
กฎหมายทั้งสองประเภทมักจะนำมาใช้ควบคู่กันตลอด เพื่อให้กระบวนการยุติธรรมนั้นสมบูรณ

-*- หลักทฤษฎีพื้นฐานของการใช้กฎหมาย กฎหมายเฉพาะย่อมยกเว้นกฎหมายทั่วไป-*-
- กฎหมายหรือกฎเกณฑ์แห่งกฎหมายจะขัดหรือแย้งต่อกฎหมายหรือกฎเกณฑ์แห่งกฎหมายที่มีลำดับศักดิ์สูงกว่ามิได้
- กฎหมายแม่ถูกยกเลิก กฎหมายลูกก็เป็นอันถูกยกเลิกตามไปด้วย
- กฎหมายเรื่องเดียวกัน หากมีซ้ำซ้อนกันและมิได้บัญญัติว่าให้ใช้ฉบับใด ให้ถือว่าต้องใช้ฉบับที่บัญญัติขึ้นภายหลัง

******* จากการที่เราได้แนะนำข้อมูลเกี่ยวกับกฎหมายไปแล้วเพื่อนๆพอจะเข้าใจบ้างหรือเปล่าคะ
ถ้าไม่เข้าใจก็ค่อๆศึกษาเพิ่มเติมนะคะแล้วเพื่อนๆก็จะเข้าใจว่ากฎหมายไม่ใช่เรื่องที่ยากอย่างที่คิด
อาจจะมีเนื้อหาเยอะไปไม่มีรูปภาพประกอบก็ต้องขออภัยด้วยนะคะ************

 

 

    

 

 

 

 

สร้างโดย: 
อ.ธานินทร์ พร้อมสุข

มหาวิทยาลัยศรีปทุม ผู้ใหญ่ใจดี
 

 ช่วยด้วยครับ
นักเรียนที่สร้างบล็อก กรุณาอย่า
คัดลอกข้อมูลจากเว็บอื่นทั้งหมด
ควรนำมาจากหลายๆ เว็บ แล้ววิเคราะห์ สังเคราะห์ และเขียนขึ้นใหม่
หากคัดลอกทั้งหมด จะถูกดำเนินคดี
ตามกฎหมายจากเจ้าของลิขสิทธิ์
มีโทษทั้งจำคุกและปรับในอัตราสูง

ช่วยกันนะครับ 
ไทยกู๊ดวิวจะได้อยู่นานๆ 
ไม่ถูกปิดเสียก่อน

ขอขอบคุณในความร่วมมือครับ

อ่านรายละเอียด

ด่วน...... ขณะนี้
พระราชบัญญัติลิขสิทธิ์ (ฉบับที่ 2) พ.ศ. 2558 
มีผลบังคับใช้แล้ว 
ขอให้นักเรียนและคุณครูที่ใช้งาน
เว็บ thaigoodview ในการส่งการบ้าน
ระมัดระวังการละเมิดลิขสิทธิ์ด้วย
อ่านรายละเอียดที่นี่ครับ

 

สมาชิกที่ออนไลน์

ขณะนี้มี สมาชิก 0 คน และ ผู้เยี่ยมชม 654 คน กำลังออนไลน์