• user warning: Table 'cache_filter' is marked as crashed and should be repaired query: SELECT data, created, headers, expire, serialized FROM cache_filter WHERE cid = '3:88425da99483ffb56862b7d690adde41' in /home/tgv/htdocs/includes/cache.inc on line 27.
  • user warning: Table 'cache_filter' is marked as crashed and should be repaired query: UPDATE cache_filter SET data = '<!--paging_filter--><p style=\"text-align: center;\"><img src=\"/files/u9/jakcakebanner06.jpg\" alt=\"\" width=\"600\" height=\"300\" /></p>\n<p style=\"text-align: left;\"><strong>คุณค่าทางโภชนาการของขนมจาก</strong></p>\n<p style=\"text-align: left;\"><strong>แป้งข้าวเหนียว</strong></p>\n<p>แป้งข้าวเหนียวดำ แป้งข้าวเหนียวขาว มีสารคาร์โบไฮเดรต ฟอสฟอรัส</p>\n<p><strong>มะพร้าวขูด</strong></p>\n<p>คุณค่าทางโภชนาการต่อ 100 กรัม (3.5 ออนซ์)</p>\n<ul>\n<li>พลังงาน 354 kcal (1,480 kJ)</li>\n<li>คาร์โบไฮเดรต&nbsp;24.23</li>\n<li>น้ำตาล 6.23</li>\n<li>ใยอาหาร 9</li>\n<li>ไขมัน&nbsp;33.49</li>\n<li>โปรตีน&nbsp;3.33 g</li>\n<li>วิตามิน</li>\n<ul>\n<li>ไทอามีน (บี1) (6%) 0.066 mg</li>\n<li>ไรโบเฟลวิน (บี2) (2%) 0.02 mg</li>\n<li>ไนอาซิน (บี3) (4%) 0.54 mg</li>\n<li>กรดแพนโทเทนิก (บี5 )&nbsp;(20%) 1.014 mg</li>\n<li>วิตามินบี6 (4%) 0.05 mg</li>\n<li>วิตามินซี (4%) 3.3 mg</li>\n</ul>\n<li>โลหะรอง</li>\n<ul>\n<li>แคลเซียม (1%) 14 mg</li>\n<li>เหล็ก (19%) 2.43 mg</li>\n<li>แมกนีเซียม (9%) 32 mg</li>\n<li>ฟอสฟอรัส (16%) 113 mg</li>\n<li>โพแทสเซียม (8%) 356 mg</li>\n<li>สังกะสี&nbsp;1.1 mg (12%)</li>\n</ul>\n</ul>\n<p><strong>น้ำตาลมะพร้าว</strong>&nbsp;</p>\n<p>เป็นอาหารธรรมชาติ ผลิตจากพืชที่ไม่ผ่านการตัดต่อพันธุกรรม รสชาติคล้ายน้ำตาลทรายแดง แต่มีคุณค่าทางอาหารสูงกว่ามาก น้ำตาลมะพร้าวปริมาณ 100 กรัมมีโปแตสเซียมประมาณ 1,030 มิลลิกรัม ในขณะที่น้ำตาลทรายแดงมี 6.5 มิลลิกรัม และน้ำตาลทรายขาวมี 2.5 มิลลิกรัม นอกจากนี้ยังมีแร่ธาตุอื่นๆ รวมทั้งวิตามินบางชนิดที่น้ำตาลทรายแดงและน้ำตาลทรายขาวไม่มี โปแตสเซียมมีบทบาทในการลดความดันโลหิต ควบคุมระดับน้ำตาลในเลือด ระดับโคเลสเตอรอลและน้ำหนักตัว น้ำตาลมะพร้าว 1 ช้อนชา&nbsp;ให้พลังงาน 15 แคลอรี (น้ำตาลทราย 1 ช้อนชา ให้พลังงาน 20 แคลอรีและไม่มีคุณค่าทางโภชนาการอยู่เลย) อยู่ในกลุ่มอาหารที่มีค่าดัชนีน้ำตาล (glycemic index; GI) ต่ำ คือ 35 จึงทำให้ระดับน้ำตาลในเลือดไม่สูงขึ้นเร็วและร่างกายไม่ต้องหลั่งอินซูลินออกมามากเพื่อกวาดน้ำตาลออกไปจากกระแสเลือด (การมีอินซูลินในเลือดมากๆ จะทำให้ระดับน้ำตาลลดลงมากเกินไป)</p>\n<p><br /><strong>เกลือ</strong></p>\n<p>มนุษย์และสัตว์ชอบกินเกลือและขาดเกลือไม่ได้ ทำไมจึงเป็นเช่นนั้น ? เหงื่อ น้ำตาของมนุษย์ ถ้าเราใช้ปลายลิ้นแตะจะรู้สึกเค็ม รสเค็มนี้คือเกลือนั่นเอง แสดงให้เห็นว่าในร่างกายมนุษย์นั้นมีเกลืออยู่ พูดไปแล้วก็เหลือเชื่อ บรรพบุรุษของสัตว์บกนั้นแต่เดิมอาศัยอยู่ในทะเล ดังนั้นของเหลวในร่างกายสัตว์บกจึงมีรสเค็มของเกลืออยู่เหมือนก่อนที่สัตว์เหล่านั้นจะขึ้นจากทะเลมาอยู่บนบก</p>\n<p>เกลือเป็นสิ่งที่ร่างกายมนุษย์จะขาดเสียมิได้ คนที่มีน้ำหนัก 70 กิโลกรัมในร่างกายจะมีเกลือประมาณ 150 กรัม เลือดในร่างกายมนุษย์มีเกลืออยู่ประมาณ 5 ใน 1,000 ส่วน สำหรับในน้ำเหลืองไขสันหลัง และเหงื่อ ปริมาณของเกลือก็ยิ่งมีมากกว่า ถ้าหัวใจขาดเลือด ก็จะทำให้การเต้นของหัวใจผิดปกติ กล้ามเนื้อขาดเกลือ จะทำให้เกิดอาการชัก ถ้าในกระเพาะอาหารขาดเกลือ ก็จะทำให้ระบบการย่อยไม่ดี หากขาดเกลือเป็นระยะเวลานานๆ จะทำให้ไม่มีแรง</p>\n<p>ผลวิจัยทางการแพทย์พบว่า ผู้ที่กินเกลือมาก อัตราการเกิดโรคความดันโลหิตสูงก็จะเพิ่มขึ้น ตัวอย่างเช่น ประชาชนทางภาคตะวันออกเฉียงเหนือของญี่ปุ่น กินเกลือเฉลี่ยคนละ 26 กรัม/วัน ทำให้เป็นโรคความดันโลหิตสูงถึงร้อยละ 39 และส่วนใหญ่จะตายเพราะเส้นเลือดในสมองแตก สำหรับชาวเอสกิโมกินเกลือเฉลี่ยคนละ 4 กรัม/วัน อัตราส่วนของผู้ที่เป็นโรคความดันโลหิตสูงต่ำมาก</p>\n<p>สำหรับปริมาณของเกลือที่กินในแต่ละวัน ควรที่จะควบคุมในปริมาณที่ต่ำกว่า 10 กรัม / วัน ถ้าต่ำกว่า 5 กรัม/วัน จะทำให้ความดันโลหิตลดลง เป็นการป้องกันโรคความดันโลหิตสูงได้อีกด้วย ในกรณีของผู้ที่เป็นโรคความดันโลหิตสูงควรควบคุมการกินเกลือให้อยู่ในระดับที่ต่ำกว่า 3 กรัม/วัน ในภาวะที่กินเกลือน้อย ขณะเดียวกันเกิดมีอาการอาเจียน ท้องเสีย เหงื่อออกมาก หรือใช้ยาขับปัสสาวะทำให้เกลือในร่างกายถูกขับออกมามากเป็นผลให้เกิดอาการอ่อนเพลีย เหนื่อยมึนหัว เบื่ออาหาร มีอาการจะอาเจียน หรืออาเจียน ตามัว เป็นต้น ถ้าเป็นมากจะทำให้กล้ามเนื้อเกร็งตัว เกิดอาการชักได้ ในภาวะเช่นนี้ควรกินน้ำเกลือเข้าไปชดเชย</p>\n<p><em>สายเคมีที่พบ</em></p>\n<p>สายเคมีสำคัญในเกลือคือ โซเดียมคลอไรด์ (Sodium Chloride) นอกจากนี้ยังมี โปแตสเชียม (Potassium) แมกเนเชียม ( Magnesium) และแคลเซียม (Calcium) ในปริมาณน้อย หลังจากกินเกลือเข้าไปแล้ว โซเดียมก็จะถูกดูดซึมเข้าไปในร่างกาย โซเดียมจะทำให้เกิด Osmotic Pressure ซึ่งมีผลต่อปริมาณน้ำในและนอกเซลล์ ทำให้ระดับน้ำในร่างกายเป็นปกติ</p>\n<p>ในภาวะปกติ เกลือในร่างกายจะถูกขับออกนอกร่างกายโดยทางไต ปัสสาวะ และผิวหนัง เช่น เหงื่อ เป็นต้น เมื่อร่างกายขาดเกลือ กรดในกระเพาะอาหารก็จะลดน้อยลง ทั้งนี้เพราะเกลือเป็นสารสำคัญในการสร้างกรด</p>\n<p>ในฤดูร้อนเนื่องจากเหงื่อออกมาก เกลือในร่างกายถูกขับออกมาก ถ้าร่างกายไม่ได้รับเกลือเสริมในปริมาณที่เพียงพอก็จะทำให้เป็นลมหรือชักได้ ในภาวะที่เป็นอหิวาต์ อาหารเป็นพิษ กระเพาะอาหาร ลำไส้อักเสบชนิดเฉียบพลันเป็นต้น ทำให้มีอาการอาเจียน ท้องเสีย ปริมาณน้ำและเกลือในร่างกายสูญเสียอย่างมาก สภาพกรดและด่างในร่างกายขาดความสมดุล ผู้ป่วยตกอยู่ในภาวะอันตราย จำเป็นต้องให้น้ำเกลือ การให้น้ำเกลือนี้คือ การให้โซเดียมคลอไรด์ ทั้งนี้เพื่อช่วยให้ผู้ป่วยมีชีวิตรอดพ้นจากภาวะวิกฤตนั่นเอง</p>\n<p><em>สรรพคุณ</em></p>\n<p>เกลือมีคุณสมบัติเย็น (ยิน) รสเค็ม มีสรรพคุณดับร้อนถอนพิษ ทำให้เลือดเย็น ช่วยระบาย ระงับอาเจียน</p>\n<p><strong>แป้งมันสำปะหลัง</strong></p>\n<p><strong>แป้งมัน&nbsp;</strong>ทำจากหัวมันสำปะหลัง ส่วนใหญ่จะใช้เป็นส่วนผสมทำให้ข้นเหนียว เช่น กระเพาะปลา การผัดอาหารประเภทที่ต้องการให้น้ำข้นเหนียวและใช้ทำนวลเมื่อนวดแป้ง แป้งจะไม่ติดมือ อาหารที่ทำจากแป้งมัน เช่น ขนมกุยช่าย ขนมชั้น ฯลฯ นอกจากนี้ยังสามารถใช้ผสมกับแป้งอื่นเพื่อให้อาหารเหนียวใส</p>\n<p><strong>แป้งเท้ายายม่อม&nbsp;</strong>ทำจากรากของหัวยายม่อม ลักษณะของแป้งสีขาว เป็นผงแข็ง จับกันเป็นก้อน และใช้เพียงเล็กน้อยเพื่อให้ส่วนผสมข้นและมีความใส เป็นต้น</p>\n<p><strong>กะทิ</strong></p>\n<p style=\"text-align: left;\">&nbsp;</p>\n<p style=\"text-align: center;\">&nbsp;</p>\n<p style=\"text-align: center;\">&nbsp;</p>\n<p style=\"text-align: center;\"><img src=\"http://www.thaigoodview.com/files/u9/line27072558-01.png\" alt=\"\" width=\"339\" height=\"41\" /></p>\n', created = 1727446228, expire = 1727532628, headers = '', serialized = 0 WHERE cid = '3:88425da99483ffb56862b7d690adde41' in /home/tgv/htdocs/includes/cache.inc on line 112.

ขนมจาก จากกันแล้วหรือ

รูปภาพของ ssspoonsak

คุณค่าทางโภชนาการของขนมจาก

แป้งข้าวเหนียว

แป้งข้าวเหนียวดำ แป้งข้าวเหนียวขาว มีสารคาร์โบไฮเดรต ฟอสฟอรัส

มะพร้าวขูด

คุณค่าทางโภชนาการต่อ 100 กรัม (3.5 ออนซ์)

  • พลังงาน 354 kcal (1,480 kJ)
  • คาร์โบไฮเดรต 24.23
  • น้ำตาล 6.23
  • ใยอาหาร 9
  • ไขมัน 33.49
  • โปรตีน 3.33 g
  • วิตามิน
    • ไทอามีน (บี1) (6%) 0.066 mg
    • ไรโบเฟลวิน (บี2) (2%) 0.02 mg
    • ไนอาซิน (บี3) (4%) 0.54 mg
    • กรดแพนโทเทนิก (บี5 ) (20%) 1.014 mg
    • วิตามินบี6 (4%) 0.05 mg
    • วิตามินซี (4%) 3.3 mg
  • โลหะรอง
    • แคลเซียม (1%) 14 mg
    • เหล็ก (19%) 2.43 mg
    • แมกนีเซียม (9%) 32 mg
    • ฟอสฟอรัส (16%) 113 mg
    • โพแทสเซียม (8%) 356 mg
    • สังกะสี 1.1 mg (12%)

น้ำตาลมะพร้าว 

เป็นอาหารธรรมชาติ ผลิตจากพืชที่ไม่ผ่านการตัดต่อพันธุกรรม รสชาติคล้ายน้ำตาลทรายแดง แต่มีคุณค่าทางอาหารสูงกว่ามาก น้ำตาลมะพร้าวปริมาณ 100 กรัมมีโปแตสเซียมประมาณ 1,030 มิลลิกรัม ในขณะที่น้ำตาลทรายแดงมี 6.5 มิลลิกรัม และน้ำตาลทรายขาวมี 2.5 มิลลิกรัม นอกจากนี้ยังมีแร่ธาตุอื่นๆ รวมทั้งวิตามินบางชนิดที่น้ำตาลทรายแดงและน้ำตาลทรายขาวไม่มี โปแตสเซียมมีบทบาทในการลดความดันโลหิต ควบคุมระดับน้ำตาลในเลือด ระดับโคเลสเตอรอลและน้ำหนักตัว น้ำตาลมะพร้าว 1 ช้อนชา ให้พลังงาน 15 แคลอรี (น้ำตาลทราย 1 ช้อนชา ให้พลังงาน 20 แคลอรีและไม่มีคุณค่าทางโภชนาการอยู่เลย) อยู่ในกลุ่มอาหารที่มีค่าดัชนีน้ำตาล (glycemic index; GI) ต่ำ คือ 35 จึงทำให้ระดับน้ำตาลในเลือดไม่สูงขึ้นเร็วและร่างกายไม่ต้องหลั่งอินซูลินออกมามากเพื่อกวาดน้ำตาลออกไปจากกระแสเลือด (การมีอินซูลินในเลือดมากๆ จะทำให้ระดับน้ำตาลลดลงมากเกินไป)


เกลือ

มนุษย์และสัตว์ชอบกินเกลือและขาดเกลือไม่ได้ ทำไมจึงเป็นเช่นนั้น ? เหงื่อ น้ำตาของมนุษย์ ถ้าเราใช้ปลายลิ้นแตะจะรู้สึกเค็ม รสเค็มนี้คือเกลือนั่นเอง แสดงให้เห็นว่าในร่างกายมนุษย์นั้นมีเกลืออยู่ พูดไปแล้วก็เหลือเชื่อ บรรพบุรุษของสัตว์บกนั้นแต่เดิมอาศัยอยู่ในทะเล ดังนั้นของเหลวในร่างกายสัตว์บกจึงมีรสเค็มของเกลืออยู่เหมือนก่อนที่สัตว์เหล่านั้นจะขึ้นจากทะเลมาอยู่บนบก

เกลือเป็นสิ่งที่ร่างกายมนุษย์จะขาดเสียมิได้ คนที่มีน้ำหนัก 70 กิโลกรัมในร่างกายจะมีเกลือประมาณ 150 กรัม เลือดในร่างกายมนุษย์มีเกลืออยู่ประมาณ 5 ใน 1,000 ส่วน สำหรับในน้ำเหลืองไขสันหลัง และเหงื่อ ปริมาณของเกลือก็ยิ่งมีมากกว่า ถ้าหัวใจขาดเลือด ก็จะทำให้การเต้นของหัวใจผิดปกติ กล้ามเนื้อขาดเกลือ จะทำให้เกิดอาการชัก ถ้าในกระเพาะอาหารขาดเกลือ ก็จะทำให้ระบบการย่อยไม่ดี หากขาดเกลือเป็นระยะเวลานานๆ จะทำให้ไม่มีแรง

ผลวิจัยทางการแพทย์พบว่า ผู้ที่กินเกลือมาก อัตราการเกิดโรคความดันโลหิตสูงก็จะเพิ่มขึ้น ตัวอย่างเช่น ประชาชนทางภาคตะวันออกเฉียงเหนือของญี่ปุ่น กินเกลือเฉลี่ยคนละ 26 กรัม/วัน ทำให้เป็นโรคความดันโลหิตสูงถึงร้อยละ 39 และส่วนใหญ่จะตายเพราะเส้นเลือดในสมองแตก สำหรับชาวเอสกิโมกินเกลือเฉลี่ยคนละ 4 กรัม/วัน อัตราส่วนของผู้ที่เป็นโรคความดันโลหิตสูงต่ำมาก

สำหรับปริมาณของเกลือที่กินในแต่ละวัน ควรที่จะควบคุมในปริมาณที่ต่ำกว่า 10 กรัม / วัน ถ้าต่ำกว่า 5 กรัม/วัน จะทำให้ความดันโลหิตลดลง เป็นการป้องกันโรคความดันโลหิตสูงได้อีกด้วย ในกรณีของผู้ที่เป็นโรคความดันโลหิตสูงควรควบคุมการกินเกลือให้อยู่ในระดับที่ต่ำกว่า 3 กรัม/วัน ในภาวะที่กินเกลือน้อย ขณะเดียวกันเกิดมีอาการอาเจียน ท้องเสีย เหงื่อออกมาก หรือใช้ยาขับปัสสาวะทำให้เกลือในร่างกายถูกขับออกมามากเป็นผลให้เกิดอาการอ่อนเพลีย เหนื่อยมึนหัว เบื่ออาหาร มีอาการจะอาเจียน หรืออาเจียน ตามัว เป็นต้น ถ้าเป็นมากจะทำให้กล้ามเนื้อเกร็งตัว เกิดอาการชักได้ ในภาวะเช่นนี้ควรกินน้ำเกลือเข้าไปชดเชย

สายเคมีที่พบ

สายเคมีสำคัญในเกลือคือ โซเดียมคลอไรด์ (Sodium Chloride) นอกจากนี้ยังมี โปแตสเชียม (Potassium) แมกเนเชียม ( Magnesium) และแคลเซียม (Calcium) ในปริมาณน้อย หลังจากกินเกลือเข้าไปแล้ว โซเดียมก็จะถูกดูดซึมเข้าไปในร่างกาย โซเดียมจะทำให้เกิด Osmotic Pressure ซึ่งมีผลต่อปริมาณน้ำในและนอกเซลล์ ทำให้ระดับน้ำในร่างกายเป็นปกติ

ในภาวะปกติ เกลือในร่างกายจะถูกขับออกนอกร่างกายโดยทางไต ปัสสาวะ และผิวหนัง เช่น เหงื่อ เป็นต้น เมื่อร่างกายขาดเกลือ กรดในกระเพาะอาหารก็จะลดน้อยลง ทั้งนี้เพราะเกลือเป็นสารสำคัญในการสร้างกรด

ในฤดูร้อนเนื่องจากเหงื่อออกมาก เกลือในร่างกายถูกขับออกมาก ถ้าร่างกายไม่ได้รับเกลือเสริมในปริมาณที่เพียงพอก็จะทำให้เป็นลมหรือชักได้ ในภาวะที่เป็นอหิวาต์ อาหารเป็นพิษ กระเพาะอาหาร ลำไส้อักเสบชนิดเฉียบพลันเป็นต้น ทำให้มีอาการอาเจียน ท้องเสีย ปริมาณน้ำและเกลือในร่างกายสูญเสียอย่างมาก สภาพกรดและด่างในร่างกายขาดความสมดุล ผู้ป่วยตกอยู่ในภาวะอันตราย จำเป็นต้องให้น้ำเกลือ การให้น้ำเกลือนี้คือ การให้โซเดียมคลอไรด์ ทั้งนี้เพื่อช่วยให้ผู้ป่วยมีชีวิตรอดพ้นจากภาวะวิกฤตนั่นเอง

สรรพคุณ

เกลือมีคุณสมบัติเย็น (ยิน) รสเค็ม มีสรรพคุณดับร้อนถอนพิษ ทำให้เลือดเย็น ช่วยระบาย ระงับอาเจียน

แป้งมันสำปะหลัง

แป้งมัน ทำจากหัวมันสำปะหลัง ส่วนใหญ่จะใช้เป็นส่วนผสมทำให้ข้นเหนียว เช่น กระเพาะปลา การผัดอาหารประเภทที่ต้องการให้น้ำข้นเหนียวและใช้ทำนวลเมื่อนวดแป้ง แป้งจะไม่ติดมือ อาหารที่ทำจากแป้งมัน เช่น ขนมกุยช่าย ขนมชั้น ฯลฯ นอกจากนี้ยังสามารถใช้ผสมกับแป้งอื่นเพื่อให้อาหารเหนียวใส

แป้งเท้ายายม่อม ทำจากรากของหัวยายม่อม ลักษณะของแป้งสีขาว เป็นผงแข็ง จับกันเป็นก้อน และใช้เพียงเล็กน้อยเพื่อให้ส่วนผสมข้นและมีความใส เป็นต้น

กะทิ

 

 

 

มหาวิทยาลัยศรีปทุม ผู้ใหญ่ใจดี
 

 ช่วยด้วยครับ
นักเรียนที่สร้างบล็อก กรุณาอย่า
คัดลอกข้อมูลจากเว็บอื่นทั้งหมด
ควรนำมาจากหลายๆ เว็บ แล้ววิเคราะห์ สังเคราะห์ และเขียนขึ้นใหม่
หากคัดลอกทั้งหมด จะถูกดำเนินคดี
ตามกฎหมายจากเจ้าของลิขสิทธิ์
มีโทษทั้งจำคุกและปรับในอัตราสูง

ช่วยกันนะครับ 
ไทยกู๊ดวิวจะได้อยู่นานๆ 
ไม่ถูกปิดเสียก่อน

ขอขอบคุณในความร่วมมือครับ

อ่านรายละเอียด

ด่วน...... ขณะนี้
พระราชบัญญัติลิขสิทธิ์ (ฉบับที่ 2) พ.ศ. 2558 
มีผลบังคับใช้แล้ว 
ขอให้นักเรียนและคุณครูที่ใช้งาน
เว็บ thaigoodview ในการส่งการบ้าน
ระมัดระวังการละเมิดลิขสิทธิ์ด้วย
อ่านรายละเอียดที่นี่ครับ

 

สมาชิกที่ออนไลน์

ขณะนี้มี สมาชิก 0 คน และ ผู้เยี่ยมชม 246 คน กำลังออนไลน์