• user warning: Table 'cache_filter' is marked as crashed and should be repaired query: SELECT data, created, headers, expire, serialized FROM cache_filter WHERE cid = '3:5fa34a90cf4758243bf6670898261c4f' in /home/tgv/htdocs/includes/cache.inc on line 27.
  • user warning: Table 'cache_filter' is marked as crashed and should be repaired query: UPDATE cache_filter SET data = '<!--paging_filter--><p>\n     องค์การสนธิสัญญาป้องกันแอตแลนติกเหนือ (North Atlantic Treaty Organization) หรือ นาโต (NATO) เป็นองค์กรระหว่างประเทศเพื่อความร่วมมือในการรักษาความสงบ ก่อตั้งเมื่อวันที่ 4 เมษายน พ.ศ. 2492 (ค.ศ. 1949) ปัจจุบันประกอบด้วยสมาชิกทั้งหมด 28 ประเทศ ประเทศสมาชิกก่อตั้งประกอบด้วย ประเทศเบลเยียม แคนาดา เดนมาร์ก ฝรั่งเศส ไอซ์แลนด์ อิตาลี ลักเซมเบิร์ก เนเธอร์แลนด์ นอร์เวย์ โปรตุเกส สหราชอาณาจักร และสหรัฐอเมริกา. โดยต่อมาในปี พ.ศ. 2495 (ค.ศ. 1952) กรีซและตุรกีได้เข้าร่วมเป็นสมาชิก ในขณะที่ประเทศเยอรมนีเข้าร่วมเป็นสมาชิกในปี พ.ศ. 2498 (ค.ศ. 1955) ต่อมา มีประเทศโคเอเชียและ แอลบาเนีย มาเป็นสมาชิกในวันที่ 8 เมษายน 2008 มีสำนักงานใหญ่อยู่ที่กรุงบรัสเซลส์ ประเทศเบลเยี่ยม\n</p>\n<p>\n<b>       พันธมิตรนอกนาโต</b> (<a href=\"/wiki/ภาษาอังกฤษ\" title=\"ภาษาอังกฤษ\"><span style=\"color: #002bb8\">อังกฤษ</span></a>: Major non-NATO ally อักษรย่อ MNNA) เป็นคำที่สหรัฐอเมริกาใช้เรียกประเทศพันธมิตรที่ไม่ได้อยู่ใน<a href=\"/wiki/องค์การสนธิสัญญาป้องกันแอตแลนติกเหนือ\" title=\"องค์การสนธิสัญญาป้องกันแอตแลนติกเหนือ\"><span style=\"color: #002bb8\">องค์การสนธิสัญญาป้องกันแอตแลนติกเหนือ</span></a> (นาโต)\n</p>\n<p>\n<a href=\"/wiki/สหรัฐอเมริกา\" title=\"สหรัฐอเมริกา\"><span style=\"color: #002bb8\">สหรัฐอเมริกา</span></a>แต่งตั้งให้ไทยเป็นหนึ่งในกลุ่มประเทศพันธมิตรนอกนาโต อย่างเป็นทางการ เมื่อ <a href=\"/wiki/31_ธันวาคม\" title=\"31 ธันวาคม\"><span style=\"color: #002bb8\">31 ธันวาคม</span></a> <a href=\"/wiki/พ.ศ._2546\" title=\"พ.ศ. 2546\"><span style=\"color: #002bb8\">พ.ศ. 2546</span></a>\n</p>\n<p>\n <span class=\"mw-headline\">รายชื่อประเทศพันธมิตรนอกนาโต</span>\n</p>\n<p><span class=\"mw-headline\"></span><span class=\"mw-headline\"></span></p>\n<ul>\n<li><a href=\"http://th.wikipedia.org/wiki/ประเทศออสเตรเลีย\" title=\"ประเทศออสเตรเลีย\"><span style=\"color: #002bb8\">ประเทศออสเตรเลีย</span></a> (พ.ศ. 2532) </li>\n<li><a href=\"http://th.wikipedia.org/wiki/ประเทศอียิปต์\" title=\"ประเทศอียิปต์\"><span style=\"color: #002bb8\">ประเทศอียิปต์</span></a> (พ.ศ. 2532) </li>\n<li><a href=\"http://th.wikipedia.org/wiki/ประเทศอิสราเอล\" title=\"ประเทศอิสราเอล\"><span style=\"color: #002bb8\">ประเทศอิสราเอล</span></a> (พ.ศ. 2532) </li>\n<li><a href=\"http://th.wikipedia.org/wiki/ประเทศญี่ปุ่น\" title=\"ประเทศญี่ปุ่น\"><span style=\"color: #002bb8\">ประเทศญี่ปุ่น</span></a> (พ.ศ. 2532) </li>\n<li><a href=\"http://th.wikipedia.org/wiki/ประเทศเกาหลีใต้\" title=\"ประเทศเกาหลีใต้\"><span style=\"color: #002bb8\">ประเทศเกาหลีใต้</span></a> (พ.ศ. 2532) </li>\n<li><a href=\"http://th.wikipedia.org/wiki/ประเทศจอร์แดน\" title=\"ประเทศจอร์แดน\"><span style=\"color: #002bb8\">ประเทศจอร์แดน</span></a> (พ.ศ. 2539) </li>\n<li><a href=\"http://th.wikipedia.org/wiki/ประเทศนิวซีแลนด์\" title=\"ประเทศนิวซีแลนด์\"><span style=\"color: #002bb8\">ประเทศนิวซีแลนด์</span></a> (พ.ศ. 2539) </li>\n<li><a href=\"http://th.wikipedia.org/wiki/ประเทศอาร์เจนตินา\" title=\"ประเทศอาร์เจนตินา\"><span style=\"color: #002bb8\">ประเทศอาร์เจนตินา</span></a> (พ.ศ. 2541) </li>\n<li><a href=\"http://th.wikipedia.org/wiki/ประเทศบาห์เรน\" title=\"ประเทศบาห์เรน\"><span style=\"color: #002bb8\">ประเทศบาห์เรน</span></a> (พ.ศ. 2545) </li>\n<li><a href=\"http://th.wikipedia.org/wiki/ประเทศฟิลิปปินส์\" title=\"ประเทศฟิลิปปินส์\"><span style=\"color: #002bb8\">ประเทศฟิลิปปินส์</span></a> (พ.ศ. 2546) </li>\n<li><a href=\"http://th.wikipedia.org/wiki/ประเทศไทย\" title=\"ประเทศไทย\"><span style=\"color: #002bb8\">ประเทศไทย</span></a> (พ.ศ. 2546) </li>\n<li><a href=\"http://th.wikipedia.org/wiki/ประเทศคูเวต\" title=\"ประเทศคูเวต\"><span style=\"color: #002bb8\">ประเทศคูเวต</span></a> (พ.ศ. 2547) </li>\n<li><a href=\"http://th.wikipedia.org/wiki/ประเทศโมร็อกโก\" title=\"ประเทศโมร็อกโก\"><span style=\"color: #002bb8\">ประเทศโมร็อกโก</span></a> (พ.ศ. 2547) </li>\n<li><a href=\"http://th.wikipedia.org/wiki/ประเทศปากีสถาน\" title=\"ประเทศปากีสถาน\"><span style=\"color: #002bb8\">ประเทศปากีสถาน</span></a> (พ.ศ. 2547) </li>\n</ul>\n<p>\nซึ่งเกิดขึ้นหลังส่งครามเย็น งสครามเย็นมีดังนี้\n</p>\n<p>\n<span style=\"font-family: Microsoft Sans Serif, MS Sans Serif, sans-serif\">สงครามเย็นคือลักษณะความสัมพันธ์ระหว่างประเทศ ช่วง ค.ศ.1945-1991 ที่กลุ่มประเทศโลกเสรีและกลุ่มประเทศคอมมิวนิสต์ ต่างพยายามต่อสู้โดยวิธีการต่างๆ ยกเว้นการทำสงครามกันโดยเปิดเผย เพื่อขัดขวางการขยายอำนาจของกันและกัน</span>\n</p>\n<p>\n<span style=\"font-family: Microsoft Sans Serif, MS Sans Serif, sans-serif\">สงครามเย็นมีผลสืบเนื่องมาจากสภาพบอบช้ำจากสงครามโลกครั้งที่ 2 ที่ทั้งประเทศผู้ชนะและแพ้สงคราม ได้สูญเสียชีวิตและทรัพย์สิน ทวีปยุโรปซึ่งเคยเป็นศูนย์กลางทางการเมืองและเศรษฐกิจโลกอยู่ในสภาพทรุดโทรมอย่างยิ่ง ต้องสูญเสียอำนาจและอิทธิพลในสังคมโลกให้กับสหรัฐอเมริกาและสหภาพโซเวียต ซึ่งเป็นสองประเทศที่มีฐานะเศรษฐกิจมั่นคงจนเป็นหลักในการบูรณะฟื้นฟูประเทศอื่นๆ สหรัฐอเมริกาก้าวสู่ความเป็นผู้นำของโลกเสรีประชาธิปไตย ในขณะที่สหภาพโซเวียตมีอำนาจและอิทธิพลเนื่องมาจากความสำเร็จในการขยายลัทธิคอมมิวนิสต์สู่กลุ่มประเทศยุโรปตะวันออก อยู่ในฐานะประเทศผู้นำของโลกคอมมิวนิสต์ คำว่า อภิมหาอำนาจ จึงหมายถึง ความเป็นผู้นำโลกของประเทศทั้งสอง ซึ่งแข่งขันกันขยายอำนาจและอิทธิพล จนทำให้ความสัมพันธ์ที่มีต่อกันเกิดความตึงเครียดสูง</span>\n</p>\n<p>\n<span style=\"font-family: Microsoft Sans Serif, MS Sans Serif, sans-serif\">สาเหตุของสงครามเย็นเกิดจากการแข่งขันกันของประเทศอภิมหาอำนาจจากประเสบการณ์ที่ผ่านมาในสงครามโลกทั้งสองครั้ง ทำให้สหรัฐอเมริกาเสียหายน้อยกว่าประเทศคู่สงครามในยุโรป ทั้งยังเป็นประเทศที่มีความก้าวหน้าทางเศรษฐกิจและเทคโนโลยีสูง และเป็นประเทศแรกที่สามารถผลิตอาวุธนิวเคลียร์ในระหว่างสงครามโลกครั้งที่ 2 จึงมีความรู้สึกว่าตนเป็นตำรวจโลกเพื่อพิทักษ์ไว้ซึ่งวิถีทางประชาธิปไตยและเสรีภาพ </span>\n</p>\n<p>\n<span style=\"font-family: Microsoft Sans Serif, MS Sans Serif, sans-serif\">ส่วนสหภาพโซเวียตฟื้นตัวจากสงครามโลกครั้งที่ 2 อย่างรวดเร็ว เพราะพื้นที่กว้างใหญ่ มีทรัพยากรธรรมชาติมาก สามารถผลิตอาวุธนิวเคลียร์ได้สำเร็จ สหภาพโซเวียตต้องการเป็นผู้นำในการปฏิวัติโลกเพื่อสถาปนาระบบสังคมนิยมคอมมิวนิสต์ตามแนวคิดของมาร์กซ์ขึ้น ดังนั้น ทั้งสองอภิมหาอำนาจจึงใช้ความช่วยเหลือที่ให้แก่ประเทศต่างๆ เป็นเครื่องมือในการขยายอิทธิพล อำนาจ และอุดมการณ์ของตน เพื่อหาประเทศที่มีอุดมการณ์คล้ายคลึงกันมาเป็นเครื่องถ่วงดุลอำนาจกับฝ่ายตรงข้าม</span>\n</p>\n<p>\n<span style=\"font-family: Microsoft Sans Serif, MS Sans Serif, sans-serif\">การแข่งขันเพื่อความเป็นใหญ่ในยุคสงครามเย็นนั้นมีหลายรูปแบบ ทั้งสองฝ่ายต่างพยายามโฆษณาชวนเชื่อให้เห็นความสำเร็จของอุดมการณ์ทางการเมืองของฝ่ายตน ฝ่ายเสรีประชาธิปไตยเน้นเรื่องสิทธิเสรีภาพของประชาชน ในขณะที่ฝ่ายคอมมิวนิสต์ชี้ความเสมอภาคของประชาชน เครื่องมือโฆษณาชวนเชื่อของแต่ละฝ่ายคือ สำนักงานข่าวสารเผยแพร่ข่าวสาร สำนักงานวัฒนธรรม โครงการแลกเปลี่ยนทางการศึกษา บางครั้งใช้วิธีการทางการเมืองและการฑูตเพื่อแสวงหาพันธมิตรในการเมืองระดับประเทศ หรือใช้วิธีการเศรษฐกิจแก่ประเทศพันธมิตรในรูปของเงินช่วยเหลือเงินกู้ระยะยาว เงินกู้ดอกเบี้ยต่ำ ในทางตรงกันข้าม อาจใช้มาตรการทางเศรษฐกิจตอบโต้ฝ่ายตรงข้าม เช่น การงดความสัมพันธ์ทางการค้า กับบางประเทศ นอกจากนั้นวิธีการทางทหารนับว่าเป็นวิธีการที่ใช้มากที่สุด มีการสะสมกำลังอาวุธ การให้ความช่วยเหลือแก่ประเทศพันธมิตรด้านกำลังทหาร กำลังอาวุธ จัดส่งเจ้าหน้าที่หรือผู้เชี่ยวชาญทางการทหาร ตลอดจนการส่งกองกำลังของตนเข้าไปตั้งมั่นในประเทศพันธมิตร จนในที่สุดก็ได้ตั้งองค์การป้องกันร่วมกันในภูมิภาคต่างๆ เช่น องค์การสนธิสัญญาแอตแลนติกเหนือ (Nato) องค์การสนธิสัญญาเอเซียตะวันออกเฉียงใต้ (Seato) และกลุ่มกติกาสนธิสัญญวอร์ซอ (Warsaw Pact) วิธีการเผยแพร่อิทธิพลวิธีสุดท้าย คือ วิธีการทางวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี ได้แก่ ความพยายามแสดงออกถึงความสำเร็จทางวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยีขั้นสูง เช่น การคิดค้นอาวุธ สิ่งประดิษฐ์ต่างๆ รวมทั้งโครงการสำรวจอวกาศเพื่อสร้างความศรัทธาแก่ประเทศพันธมิตรและสร้างความยำเกรงแก่ประเทศฝ่ายตรงข้าม</span>\n</p>\n<p>\n<span style=\"font-family: Microsoft Sans Serif, MS Sans Serif, sans-serif\">หลังสงครามโลกครั้งที่ 2 เกิดการเผชิญหน้าของสองอภิมหาอำนาจในภูมิภาคต่างๆ เริ่มต้นจากปัญหาความมั่นคงในยุโรป สหภาพโซเวียตขยายอิทธิพลเข้าไปในยุโรปในระหว่างสงครามโลกครั้งที่ 2 จนกลุ่มประเทศยุโรปตะวันออกกลายเป็นกลุ่มประเทศคอมมิวนิสต์</span>\n</p>\n<p>\n<span style=\"font-family: Microsoft Sans Serif, MS Sans Serif, sans-serif\">สหรัฐอเมริกาดำเนินนโยบายสกัดกั้นลัทธิคอมมิวนิสต์ด้วยการประกาศหลักการทรูแมน ในเดือน มีนาคม ค.ศ.1947 ซึ่งมีสาระสำคัญว่าสหรัฐอเมริกาจะได้ความช่วยเหลือแก่ประเทศต่างๆ เพื่อธำรงไว้ซึ่งเอกราชและอธิปไตยให้พ้นจากการคุกคามของลัทธิคอมมิวนิสต์ทั้งภายนอกและภายในประเทศ รัฐสภาอนุมัติเงินและให้ความช่วยเหลือตุรกีและกรีกให้รอดพ้นจากเงื้อมมือลัทธิคอมมิวนิสต์ ในปีเดียวกันสหภาพโซเวียตได้ตั้งสำนักงานข่าวคอมมิวนิสต์ (Cominform) ขึ้นที่กรุงเบลเกรด ทำหน้าที่เผยแพร่ลัทธิคอมมิวนิสต์และเป็นเครื่องมือของสหภาพโซเวียต เพื่อป้องกันมิให้โลกเสรีเข้าแทรกแซงในกลุ่มประเทศยุโรปตะวันออก เป็นการตอบโต้หลักการทรูแมน การประกาศหลักการทรูแมนของสหรัฐอเมริกาถือว่าเป็นการเริ่มต้นอย่างแท้จริงของสงครามเย็นระหว่างสองอภิมหาอำนาจ</span>\n</p>\n<p>\n<span style=\"font-family: Microsoft Sans Serif, MS Sans Serif, sans-serif\">สหรัฐอเมริกาพยายามกอบกู้และฟื้นฟูเศรษฐกิจของยุโรปเป็นเป้าหมายต่อไปโดยการเสนอให้ความช่วยเหลือทางเศรษฐกิจแก่ทุกประเทศในยุโรป ตามแผนการณ์มาร์แชล ซึ่งแผนการนี้มีระยะเวลา 4 ปี ด้วยงบประมาณ 13,500 ล้านเหรียญดอลล่าร์สหรัฐอเมริกาในรูปของเงินทุน วัตถุดิบ อาหารและเครื่องจักรกล ส่วนประเทศในยุโรปตะวันออกถูกสหภาพโซเวียตกดดันให้ปฏิเสธข้อเสนอของอเมริกา โดยสหภาพโซเวียตและกลุ่มประเทศยุโรปตะวันออกได้ร่วมมือกันจัดตั้งสภาความช่วยเหลือซึ่งกันและกันทางเศรษฐกิจหรือโคมีคอน (Comecon)ด้วยเหตุนี้ การฟื้นฟูเศรษฐกิจของยุโรปจึงแยกเป็น 2 แนวทางตั้งแต่นั้นมา</span>\n</p>\n<p>\n<span style=\"font-family: Microsoft Sans Serif, MS Sans Serif, sans-serif\">นอกจากนี้สหรัฐอเมริกายังสนับสนุนอย่างเต็มที่ด้านการเมืองการทหารแก่กลุ่มประเทศยุโรปตะวันตก ในค.ศ.1949 สหรัฐอเมริกาและแคนาดาร่วมกับกลุ่มประเทศยุโรปตะวันตก 10 ประเทศ จัดตั้งองค์การสนธิสัญญาแอตแลนติกเหนือหรือนาโต ขึ้น โดยมีวัตถุประสงค์เพื่อความร่วมมือระหว่างประเทศสมาชิกทั้งด้านการเมือง การทหาร เศรษฐกิจ สังคม และวัฒนธรรม ซึ่งการตั้งนาโตถือว่าเป็นจุดสำคัญของนโยบายต่างประเทศของสหรัฐอเมริกาในการต่อต้านอิทธิพลของสหภาพโซเวียต โดยใช้ความร่วมมือทางทหารของกลุ่มประเทศโลกเสรี กฏบัตรขององค์การนาโต กำหนดไว้ว่า หากยุโรปตะวันตกถูกรุกราน สหรัฐอเมริกาจะเข้าร่วมสงครามโดยทันทีตามหลักการป้องกันตนเอง ส่วนสหภาพโซเวียตก็จำเป็นต้องมีกองทหารไว้ควบคุมเขตอิทธิพลของตน จึงมีการประชุมเพื่อดำเนินการจัดตั้งระบบพันธมิตรทางทหารของกลุ่มประเทศยุโรปตะวันออกขึ้นที่กรุงวอร์ซอ ประเทศโปแลนด์ ก่อให้เกิดกลุ่มกติกาสนธิสัญญาวอร์ซอ ทำให้สหภาพโซเวียตสามารถมีกองกำลังของตนไว้ในประเทศสมาชิกได้ </span>\n</p>\n<p>\n<span style=\"font-family: Microsoft Sans Serif, MS Sans Serif, sans-serif\">นอกจากทวีปยุโรปแล้ว สองอภิมหาอำนาจยังแข่งขันกันในภูมิภาคต่างๆ ส่งผลให้สงครามเย็นเพิ่มความตึงเครียด ทวีปเอเซียเป็นอีกเวทีหนึ่งของสงครามเย็น ในแถบตะวันออกไกล จีนเป็นดินแดนที่ลัทธิคอมมิวนิสต์ที่ประสบความสำเร็จที่สุด เมื่อจีนคอมมิวนิสต์นำโดยเหมาเจ๋อตุง เป็นฝ่ายมีชัยชนะในสงครามกลางเมือง ยึดครองแผ่นดินใหญ่ของจีนได้ รัฐบาลจีนคณะชาติซึ่งเป็นฝ่ายโลกเสรีและได้รับความสนับสนุนอย่างเต็มที่จากสหรัฐอเมริกา ต้องหนีไปตั้งรัฐบาลที่เกาะฟอร์โมซา ชัยชนะของจีนคอมมิวนิสต์มีผลกระทบต่อดุลอำนาจทางการเมืองระหว่างประเทศ ถือเป็นการพ่ายแพ้ที่สำคัญของสหรัฐอเมริกาและเป็นการเสียดุลอำนาจครั้งสำคัญของโลกเสรี สหภาพโซเวียตและจีนเป็นสองประเทศคอมมิวนิสต์ที่มีอาณาเขตกว้างใหญ่ มีทรัพยากรมาก และมีจำนวนประชากรมหาศาล ความสัมพันธ์ระหว่างสหรัฐอเมริกาและจีนจึงตึงเครียดมานับตั้งแต่นั้น</span>\n</p>\n<p>\n<span style=\"font-family: Microsoft Sans Serif, MS Sans Serif, sans-serif\">ความขัดแย้งของสงครามเย็นส่งผลให้ประเทศเกาหลีถูกแบ่งออกเป็น 2 ประเทศ ที่มีอุดมการณ์ต่างกัน กองทัพของประเทศเกาหลีเหนือซึ่งปกครองในระบอบคอมมิวนิสต์ได้ยกข้ามเส้นขนานที่ 38 องศาเหนือเข้ารุกรานประเทศเกาหลีใต้อย่างฉับพลัน สหประชาติจึงมีมติให้สหรัฐอเมริกาและกองกำลังทหารของสหประชาชาติจาก 18 ประเทศสมาชิกเข้าช่วยเกาหลีใต้จากการรุกรานครั้งนี้ จีนส่งกองทัพช่วยเกาหลีเหนือ ก่อให้เกิดการเผชิญหน้ากันจนกระทั่ง ค.ศ.1953 จึงมีการทำสนธิสัญญาสงบศึก สงครามเกาหลีก่อให้เกิดความตื่นตัวต่อการขยายอิทธิพของลัทธิคอมมิวนิสต์ในเอเซีย สหรัฐอเมริกาเห็นความจำเป็นของการต่อต้านลัทธิคอมมิวนิสต์ในเอเซียอย่างจริงจัง สำหรับประเทศญี่ปุ่น ลัทธิคอมมิวนิสต์ประสบความสำเร็จในวงแคบ เสถียรภาพทางการเมือง ความก้าวหน้าทางเศรษฐกิจและมาตรฐานสังคมในระดับสูงของประเทศญี่ปุ่น อันเป็นผลงานส่วนหนึ่งของสหรัฐอเมริกา ส่งผลให้ประเทศญี่ปุ่นเป็นกำลังสำคัญของโลกเสรีในทวีปเอเซีย</span>\n</p>\n<p>\n<span style=\"font-family: Microsoft Sans Serif, MS Sans Serif, sans-serif\">การขยายตัวของลัทธิคอมมิวนิสต์ในภูมิภาคเอเซียตะวันออกเฉียงใต้เริ่มจากอินโดจีน คือ ประเทศเวียดนาม เขมร และลาว ซึ่งได้รับอิทธิพลจากประเทศฝรั่งเศส เวียดนามถูกแบ่งออกเป็น 2 ส่วน โดยใช้เส้นขนานที่ 17 องศาเหนือเป็นเขตแบ่งชั่วคราว เวียดนามเหนืออยู่ใต้การปกครองของลัทธิคอมมิวนิสต์ มีโฮจิมินห์เป็นผู้นำ เวียดนามใต้ปกครองระบอบประชาธิปไตย มีโงดินห์เดียมเป็นผู้นำ โดยให้มีการเลือกตั้งทั่วไปในเวลา 1 ปี เพื่อรวมเวียดนามเป็นประเทศเดียวกัน แต่การเลือกตั้งก็ไม่ได้เกิดขึ้น เพราะเกิดการสู้รบระหว่างเวียดนามเหนือและเวียดนามใต้</span>\n</p>\n<p>\n<span style=\"font-family: Microsoft Sans Serif, MS Sans Serif, sans-serif\">การขยายตัวของลัทธิคอมมิวนิสต์เข้ามาในอินโดจีน ทำให้สหรัฐอเมริกานำนโยบายล้อมกรอบการขยายตัวของลัทธิคอมมิวนิสต์มาใช้ในเอเซียด้วย นายจอห์น ฟอสเตอร์ ดัลเลส รัฐมนตรีต่างประเทศของสหรัฐอเมริกาขณะนั้นประกาศอย่างแข็งขันว่าจะไม่ยอมให้ลัทธิคอมมิวนิสต์ขยายตัวต่อไป โดยเชื่อมั่นในทฤษฏีโดมิโนว่า ถ้าประเทศใดในเอเซียตะวันออกเฉียงใต้ตกอยู่ภายใต้อิทธิพลของคอมมิวนิสต์แล้ว ประเทศใกล้เคียงอื่นๆ ก็จะพลอยเป็นคอมมิวนิสต์ไปด้วย ในวันที่ 8 กันยายน ค.ศ.1954 จึงได้มีการสนธิสัญญาที่กรุงมะนิลาเพื่อจัดตั้งองค์การสนธิสัญญาเอเซียตะวันออกเฉียงใต้ (Seato) ประกอบด้วย 8 ประเทศ ได้แก่ สหรัฐอเมริกา ไทย ฟิลิปปินส์ ปากีสถาน สหราชอาณาจักร ฝรั่งเศส ออสเตรเลียและนิวซีแลนด์ ด้วยวัตถุประสงค์ทำนองเดียวกับนาโต</span>\n</p>\n<p>\n<span style=\"font-family: Microsoft Sans Serif, MS Sans Serif, sans-serif\">ในตะวันออกลาง หรือเอเซียตะวันตกเฉียงใต้ เป็นภูมิภาคที่มีความขัดแย้งระหว่างกลุ่มประเทศอาหรับด้วยกันเอง และระหว่างกลุ่มประเทศอาหรับกับประเทศอิสราเอล สหภาพโซเวียตฉวยโอกาสขยายอิทธิพลของตนด้วยวิธีารต่างๆ เช่น เสนอให้ความช่วยเหลือทางเศรษฐกิจและการทหารแก่ประเทศอิยิปต์ ในการปฏิรูปประเทศในสมัยประธานาธิบดีนัสเซอร์ด้วยการให้เงินสร้างเขื่อนอัสวาน อืยิปต์เป็นผู้นำของกลุ่มประเทศอาหรับที่สหภาพโซเวียตต้องการส่งเสริมอิทธิพลของลัทธิคอมมิวนิสต์ให้แพร่หลายในภูมิภาคตะวันออกลาง ฝ่ายโลกเสรีจึงหาทางสกัดกั้นด้วยการจัดตั้งองค์การสนธิสัญญาเซ็นโต หรือองค์การสนธิสัญญากลาง (Central Treaty Organization:CENTO) ซึ่งมีสมาชิก 5 ประเทศ คือ สหราชอาณาจักร ตุรกี อิรัก อิหร่าน และปากีสถาน โดยมีวัตถุประสงค์เพื่อป้องกันการแทรกแซงและขยายอำนาจของลัทธิคอมมิวนิสต์ในภูมิภาคนี้</span>\n</p>\n<p>\n<span style=\"font-family: Microsoft Sans Serif, MS Sans Serif, sans-serif\">ส่วนในทวีปแอฟริกา หลังสงครามโลกครั้งที่ 2 ประเทศต่างๆ ได้รับเอกราช โดยส่วนใหญ่ยังไม่พร้อมที่จะปกครองตนเอง เช่น คองโก จึงเกิดการจลาจลแย่งอำนาจระหว่างชนเผ่าต่างๆ คณะมนตรีความมั่นคงของสหประชาชาติเกรงว่าความวุ่นวายนี้จะเป็นภัยต่อสันติภาพของโลก จึงมีมติให้ส่งกองกำลังของสหประชาชาติเข้าไปรักษาความสงบเรียบร้อยในคองโก สหภาพโซเวียตและสาธารณรัฐประชาชนจีนให้ความช่วยเหลือแก่ประธานาธิบดีลูมุมบาของคองโก และนายครุฟเซฟผู้นำสหภาพโซเวียตประนามการแทรกแซงสหประชาชาติ ส่วนสาธารณรัฐประชาชนจีนได้ขยายอิทธิพลเข้าไปในแทนซาเนียด้วยการช่วยเหลือในการสร้างทางรถไฟยาว 1,000 ไมล์ ในขณะที่สหราชอาณาจักรและฝรั่งเศสได้พยายามรักษาอิทธิพลในแอฟริกา โดยเฉพาะกับประเทศอดีตอาณานิคมของตน</span>\n</p>\n<p>\n<span style=\"font-family: Microsoft Sans Serif, MS Sans Serif, sans-serif\">กล่าวโดยสรุป แม้สงครามเย็นตั้งแต่ ค.ศ.1945 จะไม่ลุกลามกลายเป็นสงครามอย่างเปิดเผย แต่ก็นำไปสู่ความขัดแย้งระดับวิกฤตการณ์ทางการเมืองจนกลายเป็นสงครามระดับภูมิภาคขึ้นในหลายแห่งของโลก</span>\n</p>\n<p></p>\n', created = 1718614779, expire = 1718701179, headers = '', serialized = 0 WHERE cid = '3:5fa34a90cf4758243bf6670898261c4f' in /home/tgv/htdocs/includes/cache.inc on line 112.
  • user warning: Table 'cache_filter' is marked as crashed and should be repaired query: SELECT data, created, headers, expire, serialized FROM cache_filter WHERE cid = '3:d253943c57e94b021d1c3f59c77e6f1c' in /home/tgv/htdocs/includes/cache.inc on line 27.
  • user warning: Table 'cache_filter' is marked as crashed and should be repaired query: UPDATE cache_filter SET data = '<!--paging_filter--><p>ตรวจแล้วต้องมีรายละเอียดมากกว่านี้</p>\n', created = 1718614779, expire = 1718701179, headers = '', serialized = 0 WHERE cid = '3:d253943c57e94b021d1c3f59c77e6f1c' in /home/tgv/htdocs/includes/cache.inc on line 112.

องค์การสนธิสัญญาป้องกันแอตแลนติกเหนือ(นาโต้)

รูปภาพของ kim16513

     องค์การสนธิสัญญาป้องกันแอตแลนติกเหนือ (North Atlantic Treaty Organization) หรือ นาโต (NATO) เป็นองค์กรระหว่างประเทศเพื่อความร่วมมือในการรักษาความสงบ ก่อตั้งเมื่อวันที่ 4 เมษายน พ.ศ. 2492 (ค.ศ. 1949) ปัจจุบันประกอบด้วยสมาชิกทั้งหมด 28 ประเทศ ประเทศสมาชิกก่อตั้งประกอบด้วย ประเทศเบลเยียม แคนาดา เดนมาร์ก ฝรั่งเศส ไอซ์แลนด์ อิตาลี ลักเซมเบิร์ก เนเธอร์แลนด์ นอร์เวย์ โปรตุเกส สหราชอาณาจักร และสหรัฐอเมริกา. โดยต่อมาในปี พ.ศ. 2495 (ค.ศ. 1952) กรีซและตุรกีได้เข้าร่วมเป็นสมาชิก ในขณะที่ประเทศเยอรมนีเข้าร่วมเป็นสมาชิกในปี พ.ศ. 2498 (ค.ศ. 1955) ต่อมา มีประเทศโคเอเชียและ แอลบาเนีย มาเป็นสมาชิกในวันที่ 8 เมษายน 2008 มีสำนักงานใหญ่อยู่ที่กรุงบรัสเซลส์ ประเทศเบลเยี่ยม

       พันธมิตรนอกนาโต (อังกฤษ: Major non-NATO ally อักษรย่อ MNNA) เป็นคำที่สหรัฐอเมริกาใช้เรียกประเทศพันธมิตรที่ไม่ได้อยู่ในองค์การสนธิสัญญาป้องกันแอตแลนติกเหนือ (นาโต)

สหรัฐอเมริกาแต่งตั้งให้ไทยเป็นหนึ่งในกลุ่มประเทศพันธมิตรนอกนาโต อย่างเป็นทางการ เมื่อ 31 ธันวาคม พ.ศ. 2546

 รายชื่อประเทศพันธมิตรนอกนาโต

ซึ่งเกิดขึ้นหลังส่งครามเย็น งสครามเย็นมีดังนี้

สงครามเย็นคือลักษณะความสัมพันธ์ระหว่างประเทศ ช่วง ค.ศ.1945-1991 ที่กลุ่มประเทศโลกเสรีและกลุ่มประเทศคอมมิวนิสต์ ต่างพยายามต่อสู้โดยวิธีการต่างๆ ยกเว้นการทำสงครามกันโดยเปิดเผย เพื่อขัดขวางการขยายอำนาจของกันและกัน

สงครามเย็นมีผลสืบเนื่องมาจากสภาพบอบช้ำจากสงครามโลกครั้งที่ 2 ที่ทั้งประเทศผู้ชนะและแพ้สงคราม ได้สูญเสียชีวิตและทรัพย์สิน ทวีปยุโรปซึ่งเคยเป็นศูนย์กลางทางการเมืองและเศรษฐกิจโลกอยู่ในสภาพทรุดโทรมอย่างยิ่ง ต้องสูญเสียอำนาจและอิทธิพลในสังคมโลกให้กับสหรัฐอเมริกาและสหภาพโซเวียต ซึ่งเป็นสองประเทศที่มีฐานะเศรษฐกิจมั่นคงจนเป็นหลักในการบูรณะฟื้นฟูประเทศอื่นๆ สหรัฐอเมริกาก้าวสู่ความเป็นผู้นำของโลกเสรีประชาธิปไตย ในขณะที่สหภาพโซเวียตมีอำนาจและอิทธิพลเนื่องมาจากความสำเร็จในการขยายลัทธิคอมมิวนิสต์สู่กลุ่มประเทศยุโรปตะวันออก อยู่ในฐานะประเทศผู้นำของโลกคอมมิวนิสต์ คำว่า อภิมหาอำนาจ จึงหมายถึง ความเป็นผู้นำโลกของประเทศทั้งสอง ซึ่งแข่งขันกันขยายอำนาจและอิทธิพล จนทำให้ความสัมพันธ์ที่มีต่อกันเกิดความตึงเครียดสูง

สาเหตุของสงครามเย็นเกิดจากการแข่งขันกันของประเทศอภิมหาอำนาจจากประเสบการณ์ที่ผ่านมาในสงครามโลกทั้งสองครั้ง ทำให้สหรัฐอเมริกาเสียหายน้อยกว่าประเทศคู่สงครามในยุโรป ทั้งยังเป็นประเทศที่มีความก้าวหน้าทางเศรษฐกิจและเทคโนโลยีสูง และเป็นประเทศแรกที่สามารถผลิตอาวุธนิวเคลียร์ในระหว่างสงครามโลกครั้งที่ 2 จึงมีความรู้สึกว่าตนเป็นตำรวจโลกเพื่อพิทักษ์ไว้ซึ่งวิถีทางประชาธิปไตยและเสรีภาพ

ส่วนสหภาพโซเวียตฟื้นตัวจากสงครามโลกครั้งที่ 2 อย่างรวดเร็ว เพราะพื้นที่กว้างใหญ่ มีทรัพยากรธรรมชาติมาก สามารถผลิตอาวุธนิวเคลียร์ได้สำเร็จ สหภาพโซเวียตต้องการเป็นผู้นำในการปฏิวัติโลกเพื่อสถาปนาระบบสังคมนิยมคอมมิวนิสต์ตามแนวคิดของมาร์กซ์ขึ้น ดังนั้น ทั้งสองอภิมหาอำนาจจึงใช้ความช่วยเหลือที่ให้แก่ประเทศต่างๆ เป็นเครื่องมือในการขยายอิทธิพล อำนาจ และอุดมการณ์ของตน เพื่อหาประเทศที่มีอุดมการณ์คล้ายคลึงกันมาเป็นเครื่องถ่วงดุลอำนาจกับฝ่ายตรงข้าม

การแข่งขันเพื่อความเป็นใหญ่ในยุคสงครามเย็นนั้นมีหลายรูปแบบ ทั้งสองฝ่ายต่างพยายามโฆษณาชวนเชื่อให้เห็นความสำเร็จของอุดมการณ์ทางการเมืองของฝ่ายตน ฝ่ายเสรีประชาธิปไตยเน้นเรื่องสิทธิเสรีภาพของประชาชน ในขณะที่ฝ่ายคอมมิวนิสต์ชี้ความเสมอภาคของประชาชน เครื่องมือโฆษณาชวนเชื่อของแต่ละฝ่ายคือ สำนักงานข่าวสารเผยแพร่ข่าวสาร สำนักงานวัฒนธรรม โครงการแลกเปลี่ยนทางการศึกษา บางครั้งใช้วิธีการทางการเมืองและการฑูตเพื่อแสวงหาพันธมิตรในการเมืองระดับประเทศ หรือใช้วิธีการเศรษฐกิจแก่ประเทศพันธมิตรในรูปของเงินช่วยเหลือเงินกู้ระยะยาว เงินกู้ดอกเบี้ยต่ำ ในทางตรงกันข้าม อาจใช้มาตรการทางเศรษฐกิจตอบโต้ฝ่ายตรงข้าม เช่น การงดความสัมพันธ์ทางการค้า กับบางประเทศ นอกจากนั้นวิธีการทางทหารนับว่าเป็นวิธีการที่ใช้มากที่สุด มีการสะสมกำลังอาวุธ การให้ความช่วยเหลือแก่ประเทศพันธมิตรด้านกำลังทหาร กำลังอาวุธ จัดส่งเจ้าหน้าที่หรือผู้เชี่ยวชาญทางการทหาร ตลอดจนการส่งกองกำลังของตนเข้าไปตั้งมั่นในประเทศพันธมิตร จนในที่สุดก็ได้ตั้งองค์การป้องกันร่วมกันในภูมิภาคต่างๆ เช่น องค์การสนธิสัญญาแอตแลนติกเหนือ (Nato) องค์การสนธิสัญญาเอเซียตะวันออกเฉียงใต้ (Seato) และกลุ่มกติกาสนธิสัญญวอร์ซอ (Warsaw Pact) วิธีการเผยแพร่อิทธิพลวิธีสุดท้าย คือ วิธีการทางวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี ได้แก่ ความพยายามแสดงออกถึงความสำเร็จทางวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยีขั้นสูง เช่น การคิดค้นอาวุธ สิ่งประดิษฐ์ต่างๆ รวมทั้งโครงการสำรวจอวกาศเพื่อสร้างความศรัทธาแก่ประเทศพันธมิตรและสร้างความยำเกรงแก่ประเทศฝ่ายตรงข้าม

หลังสงครามโลกครั้งที่ 2 เกิดการเผชิญหน้าของสองอภิมหาอำนาจในภูมิภาคต่างๆ เริ่มต้นจากปัญหาความมั่นคงในยุโรป สหภาพโซเวียตขยายอิทธิพลเข้าไปในยุโรปในระหว่างสงครามโลกครั้งที่ 2 จนกลุ่มประเทศยุโรปตะวันออกกลายเป็นกลุ่มประเทศคอมมิวนิสต์

สหรัฐอเมริกาดำเนินนโยบายสกัดกั้นลัทธิคอมมิวนิสต์ด้วยการประกาศหลักการทรูแมน ในเดือน มีนาคม ค.ศ.1947 ซึ่งมีสาระสำคัญว่าสหรัฐอเมริกาจะได้ความช่วยเหลือแก่ประเทศต่างๆ เพื่อธำรงไว้ซึ่งเอกราชและอธิปไตยให้พ้นจากการคุกคามของลัทธิคอมมิวนิสต์ทั้งภายนอกและภายในประเทศ รัฐสภาอนุมัติเงินและให้ความช่วยเหลือตุรกีและกรีกให้รอดพ้นจากเงื้อมมือลัทธิคอมมิวนิสต์ ในปีเดียวกันสหภาพโซเวียตได้ตั้งสำนักงานข่าวคอมมิวนิสต์ (Cominform) ขึ้นที่กรุงเบลเกรด ทำหน้าที่เผยแพร่ลัทธิคอมมิวนิสต์และเป็นเครื่องมือของสหภาพโซเวียต เพื่อป้องกันมิให้โลกเสรีเข้าแทรกแซงในกลุ่มประเทศยุโรปตะวันออก เป็นการตอบโต้หลักการทรูแมน การประกาศหลักการทรูแมนของสหรัฐอเมริกาถือว่าเป็นการเริ่มต้นอย่างแท้จริงของสงครามเย็นระหว่างสองอภิมหาอำนาจ

สหรัฐอเมริกาพยายามกอบกู้และฟื้นฟูเศรษฐกิจของยุโรปเป็นเป้าหมายต่อไปโดยการเสนอให้ความช่วยเหลือทางเศรษฐกิจแก่ทุกประเทศในยุโรป ตามแผนการณ์มาร์แชล ซึ่งแผนการนี้มีระยะเวลา 4 ปี ด้วยงบประมาณ 13,500 ล้านเหรียญดอลล่าร์สหรัฐอเมริกาในรูปของเงินทุน วัตถุดิบ อาหารและเครื่องจักรกล ส่วนประเทศในยุโรปตะวันออกถูกสหภาพโซเวียตกดดันให้ปฏิเสธข้อเสนอของอเมริกา โดยสหภาพโซเวียตและกลุ่มประเทศยุโรปตะวันออกได้ร่วมมือกันจัดตั้งสภาความช่วยเหลือซึ่งกันและกันทางเศรษฐกิจหรือโคมีคอน (Comecon)ด้วยเหตุนี้ การฟื้นฟูเศรษฐกิจของยุโรปจึงแยกเป็น 2 แนวทางตั้งแต่นั้นมา

นอกจากนี้สหรัฐอเมริกายังสนับสนุนอย่างเต็มที่ด้านการเมืองการทหารแก่กลุ่มประเทศยุโรปตะวันตก ในค.ศ.1949 สหรัฐอเมริกาและแคนาดาร่วมกับกลุ่มประเทศยุโรปตะวันตก 10 ประเทศ จัดตั้งองค์การสนธิสัญญาแอตแลนติกเหนือหรือนาโต ขึ้น โดยมีวัตถุประสงค์เพื่อความร่วมมือระหว่างประเทศสมาชิกทั้งด้านการเมือง การทหาร เศรษฐกิจ สังคม และวัฒนธรรม ซึ่งการตั้งนาโตถือว่าเป็นจุดสำคัญของนโยบายต่างประเทศของสหรัฐอเมริกาในการต่อต้านอิทธิพลของสหภาพโซเวียต โดยใช้ความร่วมมือทางทหารของกลุ่มประเทศโลกเสรี กฏบัตรขององค์การนาโต กำหนดไว้ว่า หากยุโรปตะวันตกถูกรุกราน สหรัฐอเมริกาจะเข้าร่วมสงครามโดยทันทีตามหลักการป้องกันตนเอง ส่วนสหภาพโซเวียตก็จำเป็นต้องมีกองทหารไว้ควบคุมเขตอิทธิพลของตน จึงมีการประชุมเพื่อดำเนินการจัดตั้งระบบพันธมิตรทางทหารของกลุ่มประเทศยุโรปตะวันออกขึ้นที่กรุงวอร์ซอ ประเทศโปแลนด์ ก่อให้เกิดกลุ่มกติกาสนธิสัญญาวอร์ซอ ทำให้สหภาพโซเวียตสามารถมีกองกำลังของตนไว้ในประเทศสมาชิกได้

นอกจากทวีปยุโรปแล้ว สองอภิมหาอำนาจยังแข่งขันกันในภูมิภาคต่างๆ ส่งผลให้สงครามเย็นเพิ่มความตึงเครียด ทวีปเอเซียเป็นอีกเวทีหนึ่งของสงครามเย็น ในแถบตะวันออกไกล จีนเป็นดินแดนที่ลัทธิคอมมิวนิสต์ที่ประสบความสำเร็จที่สุด เมื่อจีนคอมมิวนิสต์นำโดยเหมาเจ๋อตุง เป็นฝ่ายมีชัยชนะในสงครามกลางเมือง ยึดครองแผ่นดินใหญ่ของจีนได้ รัฐบาลจีนคณะชาติซึ่งเป็นฝ่ายโลกเสรีและได้รับความสนับสนุนอย่างเต็มที่จากสหรัฐอเมริกา ต้องหนีไปตั้งรัฐบาลที่เกาะฟอร์โมซา ชัยชนะของจีนคอมมิวนิสต์มีผลกระทบต่อดุลอำนาจทางการเมืองระหว่างประเทศ ถือเป็นการพ่ายแพ้ที่สำคัญของสหรัฐอเมริกาและเป็นการเสียดุลอำนาจครั้งสำคัญของโลกเสรี สหภาพโซเวียตและจีนเป็นสองประเทศคอมมิวนิสต์ที่มีอาณาเขตกว้างใหญ่ มีทรัพยากรมาก และมีจำนวนประชากรมหาศาล ความสัมพันธ์ระหว่างสหรัฐอเมริกาและจีนจึงตึงเครียดมานับตั้งแต่นั้น

ความขัดแย้งของสงครามเย็นส่งผลให้ประเทศเกาหลีถูกแบ่งออกเป็น 2 ประเทศ ที่มีอุดมการณ์ต่างกัน กองทัพของประเทศเกาหลีเหนือซึ่งปกครองในระบอบคอมมิวนิสต์ได้ยกข้ามเส้นขนานที่ 38 องศาเหนือเข้ารุกรานประเทศเกาหลีใต้อย่างฉับพลัน สหประชาติจึงมีมติให้สหรัฐอเมริกาและกองกำลังทหารของสหประชาชาติจาก 18 ประเทศสมาชิกเข้าช่วยเกาหลีใต้จากการรุกรานครั้งนี้ จีนส่งกองทัพช่วยเกาหลีเหนือ ก่อให้เกิดการเผชิญหน้ากันจนกระทั่ง ค.ศ.1953 จึงมีการทำสนธิสัญญาสงบศึก สงครามเกาหลีก่อให้เกิดความตื่นตัวต่อการขยายอิทธิพของลัทธิคอมมิวนิสต์ในเอเซีย สหรัฐอเมริกาเห็นความจำเป็นของการต่อต้านลัทธิคอมมิวนิสต์ในเอเซียอย่างจริงจัง สำหรับประเทศญี่ปุ่น ลัทธิคอมมิวนิสต์ประสบความสำเร็จในวงแคบ เสถียรภาพทางการเมือง ความก้าวหน้าทางเศรษฐกิจและมาตรฐานสังคมในระดับสูงของประเทศญี่ปุ่น อันเป็นผลงานส่วนหนึ่งของสหรัฐอเมริกา ส่งผลให้ประเทศญี่ปุ่นเป็นกำลังสำคัญของโลกเสรีในทวีปเอเซีย

การขยายตัวของลัทธิคอมมิวนิสต์ในภูมิภาคเอเซียตะวันออกเฉียงใต้เริ่มจากอินโดจีน คือ ประเทศเวียดนาม เขมร และลาว ซึ่งได้รับอิทธิพลจากประเทศฝรั่งเศส เวียดนามถูกแบ่งออกเป็น 2 ส่วน โดยใช้เส้นขนานที่ 17 องศาเหนือเป็นเขตแบ่งชั่วคราว เวียดนามเหนืออยู่ใต้การปกครองของลัทธิคอมมิวนิสต์ มีโฮจิมินห์เป็นผู้นำ เวียดนามใต้ปกครองระบอบประชาธิปไตย มีโงดินห์เดียมเป็นผู้นำ โดยให้มีการเลือกตั้งทั่วไปในเวลา 1 ปี เพื่อรวมเวียดนามเป็นประเทศเดียวกัน แต่การเลือกตั้งก็ไม่ได้เกิดขึ้น เพราะเกิดการสู้รบระหว่างเวียดนามเหนือและเวียดนามใต้

การขยายตัวของลัทธิคอมมิวนิสต์เข้ามาในอินโดจีน ทำให้สหรัฐอเมริกานำนโยบายล้อมกรอบการขยายตัวของลัทธิคอมมิวนิสต์มาใช้ในเอเซียด้วย นายจอห์น ฟอสเตอร์ ดัลเลส รัฐมนตรีต่างประเทศของสหรัฐอเมริกาขณะนั้นประกาศอย่างแข็งขันว่าจะไม่ยอมให้ลัทธิคอมมิวนิสต์ขยายตัวต่อไป โดยเชื่อมั่นในทฤษฏีโดมิโนว่า ถ้าประเทศใดในเอเซียตะวันออกเฉียงใต้ตกอยู่ภายใต้อิทธิพลของคอมมิวนิสต์แล้ว ประเทศใกล้เคียงอื่นๆ ก็จะพลอยเป็นคอมมิวนิสต์ไปด้วย ในวันที่ 8 กันยายน ค.ศ.1954 จึงได้มีการสนธิสัญญาที่กรุงมะนิลาเพื่อจัดตั้งองค์การสนธิสัญญาเอเซียตะวันออกเฉียงใต้ (Seato) ประกอบด้วย 8 ประเทศ ได้แก่ สหรัฐอเมริกา ไทย ฟิลิปปินส์ ปากีสถาน สหราชอาณาจักร ฝรั่งเศส ออสเตรเลียและนิวซีแลนด์ ด้วยวัตถุประสงค์ทำนองเดียวกับนาโต

ในตะวันออกลาง หรือเอเซียตะวันตกเฉียงใต้ เป็นภูมิภาคที่มีความขัดแย้งระหว่างกลุ่มประเทศอาหรับด้วยกันเอง และระหว่างกลุ่มประเทศอาหรับกับประเทศอิสราเอล สหภาพโซเวียตฉวยโอกาสขยายอิทธิพลของตนด้วยวิธีารต่างๆ เช่น เสนอให้ความช่วยเหลือทางเศรษฐกิจและการทหารแก่ประเทศอิยิปต์ ในการปฏิรูปประเทศในสมัยประธานาธิบดีนัสเซอร์ด้วยการให้เงินสร้างเขื่อนอัสวาน อืยิปต์เป็นผู้นำของกลุ่มประเทศอาหรับที่สหภาพโซเวียตต้องการส่งเสริมอิทธิพลของลัทธิคอมมิวนิสต์ให้แพร่หลายในภูมิภาคตะวันออกลาง ฝ่ายโลกเสรีจึงหาทางสกัดกั้นด้วยการจัดตั้งองค์การสนธิสัญญาเซ็นโต หรือองค์การสนธิสัญญากลาง (Central Treaty Organization:CENTO) ซึ่งมีสมาชิก 5 ประเทศ คือ สหราชอาณาจักร ตุรกี อิรัก อิหร่าน และปากีสถาน โดยมีวัตถุประสงค์เพื่อป้องกันการแทรกแซงและขยายอำนาจของลัทธิคอมมิวนิสต์ในภูมิภาคนี้

ส่วนในทวีปแอฟริกา หลังสงครามโลกครั้งที่ 2 ประเทศต่างๆ ได้รับเอกราช โดยส่วนใหญ่ยังไม่พร้อมที่จะปกครองตนเอง เช่น คองโก จึงเกิดการจลาจลแย่งอำนาจระหว่างชนเผ่าต่างๆ คณะมนตรีความมั่นคงของสหประชาชาติเกรงว่าความวุ่นวายนี้จะเป็นภัยต่อสันติภาพของโลก จึงมีมติให้ส่งกองกำลังของสหประชาชาติเข้าไปรักษาความสงบเรียบร้อยในคองโก สหภาพโซเวียตและสาธารณรัฐประชาชนจีนให้ความช่วยเหลือแก่ประธานาธิบดีลูมุมบาของคองโก และนายครุฟเซฟผู้นำสหภาพโซเวียตประนามการแทรกแซงสหประชาชาติ ส่วนสาธารณรัฐประชาชนจีนได้ขยายอิทธิพลเข้าไปในแทนซาเนียด้วยการช่วยเหลือในการสร้างทางรถไฟยาว 1,000 ไมล์ ในขณะที่สหราชอาณาจักรและฝรั่งเศสได้พยายามรักษาอิทธิพลในแอฟริกา โดยเฉพาะกับประเทศอดีตอาณานิคมของตน

กล่าวโดยสรุป แม้สงครามเย็นตั้งแต่ ค.ศ.1945 จะไม่ลุกลามกลายเป็นสงครามอย่างเปิดเผย แต่ก็นำไปสู่ความขัดแย้งระดับวิกฤตการณ์ทางการเมืองจนกลายเป็นสงครามระดับภูมิภาคขึ้นในหลายแห่งของโลก

สร้างโดย: 
นายณัฐวุฒิ ซัง ม.4/2 เลขที่16 ร.ร.ศีลาจารพิพัฒฺน์
รูปภาพของ silavacharee

 

ตรวจแล้ว

รูปภาพของ silavacharee

ตรวจแล้วต้องมีรายละเอียดมากกว่านี้

มหาวิทยาลัยศรีปทุม ผู้ใหญ่ใจดี
 

 ช่วยด้วยครับ
นักเรียนที่สร้างบล็อก กรุณาอย่า
คัดลอกข้อมูลจากเว็บอื่นทั้งหมด
ควรนำมาจากหลายๆ เว็บ แล้ววิเคราะห์ สังเคราะห์ และเขียนขึ้นใหม่
หากคัดลอกทั้งหมด จะถูกดำเนินคดี
ตามกฎหมายจากเจ้าของลิขสิทธิ์
มีโทษทั้งจำคุกและปรับในอัตราสูง

ช่วยกันนะครับ 
ไทยกู๊ดวิวจะได้อยู่นานๆ 
ไม่ถูกปิดเสียก่อน

ขอขอบคุณในความร่วมมือครับ

อ่านรายละเอียด

ด่วน...... ขณะนี้
พระราชบัญญัติลิขสิทธิ์ (ฉบับที่ 2) พ.ศ. 2558 
มีผลบังคับใช้แล้ว 
ขอให้นักเรียนและคุณครูที่ใช้งาน
เว็บ thaigoodview ในการส่งการบ้าน
ระมัดระวังการละเมิดลิขสิทธิ์ด้วย
อ่านรายละเอียดที่นี่ครับ

 

สมาชิกที่ออนไลน์

ขณะนี้มี สมาชิก 0 คน และ ผู้เยี่ยมชม 539 คน กำลังออนไลน์