• user warning: Table 'cache_filter' is marked as crashed and should be repaired query: SELECT data, created, headers, expire, serialized FROM cache_filter WHERE cid = '3:1fda0db61d95bcf749f553edc41b534b' in /home/tgv/htdocs/includes/cache.inc on line 27.
  • user warning: Table 'cache_filter' is marked as crashed and should be repaired query: UPDATE cache_filter SET data = '<!--paging_filter--><p align=\"center\">\n<span style=\"color: #ff0000\"><b><u><span style=\"font-size: 18pt; color: #ff99ff; font-family: \'Cordia New\',\'sans-serif\'\" lang=\"TH\"><span style=\"color: #ff0000\"><span style=\"color: #0000ff; background-color: #999999\">ยุคปฏิวัติทางสติปัญญา</span></span></span></u></b></span>\n</p>\n<p><span style=\"color: #ff0000\"><b><u><span style=\"font-size: 18pt; color: #ff99ff; font-family: \'Cordia New\',\'sans-serif\'\" lang=\"TH\"><span style=\"color: #ff0000\"></span></span></u></b><span style=\"font-size: 18pt; color: #ff99ff; font-family: \'Cordia New\',\'sans-serif\'\" lang=\"TH\"></span><span style=\"font-size: large\"><span style=\"font-family: Angsana New\"><span style=\"background-color: #999999\"><span style=\"color: #0000ff\"> <span style=\"font-size: 18pt; color: #ff99ff; font-family: \'Cordia New\',\'sans-serif\'\"><o:p></o:p></span></span></span></span></span></span><span style=\"color: #ff0000\"><span style=\"color: #000000\"><span style=\"background-color: #999999\"><span style=\"color: #0000ff\"><span style=\"font-family: times new roman,times\"><b><u><span style=\"font-family: \'Angsana New\'\"><span style=\"font-size: 18pt; color: #ff99ff; font-family: \'Cordia New\',\'sans-serif\'\" lang=\"TH\"><span style=\"color: #ff0000\">หรือ</span></span></span></u></b></span><span style=\"font-size: 18pt; color: #ff99ff; font-family: \'Cordia New\',\'sans-serif\'\" lang=\"TH\"></span><span style=\"font-size: large; font-family: Angsana New\"> </span></span></span></span></span><span style=\"color: #ff0000\"><span style=\"color: #000000\"><span style=\"font-size: large; font-family: Angsana New\"></span></span><span style=\"font-size: 18pt; color: #ff99ff; font-family: \'Cordia New\',\'sans-serif\'\"><o:p></o:p></span></span><span style=\"color: #000000\"><span style=\"font-size: large; font-family: times new roman,times\"><b><u><span style=\"font-family: \'Angsana New\'\"><span style=\"font-size: 18pt; color: #ff99ff; font-family: \'Cordia New\',\'sans-serif\'\" lang=\"TH\"><span style=\"color: #ff0000\"><span style=\"color: #0000ff; background-color: #999999\">&quot;ลัทธิเหตุผลนิยม&quot;</span></span></span></span></u></b></span><span style=\"font-size: 18pt; color: #ff99ff; font-family: \'Cordia New\',\'sans-serif\'\" lang=\"TH\"></span><span style=\"font-size: large; color: #000000; font-family: Angsana New\"> </span></span><span style=\"font-size: 18pt; color: #ff99ff; font-family: \'Cordia New\',\'sans-serif\'\" lang=\"TH\">  <span style=\"color: #ff9900\">     ความคิดในยุคภูมิธรรม คือ ความสัมพันธ์ระหว่างเหตุและผลที่มีอยู่ใน มนุษย์สนับสนุนแนวความคิดของนักประวัติศาสตร์มานุษยวิทยาอเมริกันนัก มานุษยวิทยาที่ไม่เห็นด้วยกับการศึกษาปัจจัยด้านเชื้อชาติแบบเก่า ได้รับอิทธิพลจากการศึกษาเชื้อชาติโดยใช้วิธีการวิทยาศาสตร์สมัยใหม่ โดยเสนอความเห็นว่าเชื้อชาติมนุษย์ไม่เท่าเทียมกันเนื่องจาก กรรมพันธุ์หรือสิ่งติดตัวแต่กำเนิด รวมทั้งหลักการแบ่งแยกมนุษยชาติแบบเก่า วิธีการนี้แบ่งเชื้อชาติมนุษย์โดยเน้นความแตกต่างที่ติดตัว ตามพันธุกรรม ข้อสมมุติฐานข้างต้นนำทางให้นักวิทยาศาสตร์หันมาปรับปรุงแก้ไขวิธีการศึกษาเพื่ออธิบายเชื้อชาติเสียใหม่สามารถกำหนด ระบบการจำแนกชาติพันธุ์มนุษย์ที่ถูกต้องและเหมาะสม นอกจากนี้ยังศึกษาอัตราความคล้ายคลึงระหว่างมนุษย์เพื่อนำมาจัดลำดับชาติพันธุ์ จนสามารถนำไปอธิบายความสัมพันธ์และประวัติศาสตร์มนุษยชาติได้</span></span><span style=\"font-size: 18pt; color: #ff99ff; font-family: \'Cordia New\',\'sans-serif\'\"><o:p></o:p></span><span style=\"font-size: 18pt; color: #ff99ff; font-family: \'Cordia New\',\'sans-serif\'\" lang=\"TH\"><span style=\"color: #ff9900\"> </span></span> </p>\n<p>\n<span style=\"font-size: 18pt; color: #ff99ff; font-family: \'Cordia New\',\'sans-serif\'\" lang=\"TH\"><span style=\"color: #ff9900\">       นอกความรู้ทางด้านมานุษยวิทยาแล้ว<span>  </span>ยังเกิดความก้าวหน้าทางวิทยาศาสตร์และอีกมากมาย โดยผู้ที่ต้องการค้นหาความจริงทางธรรมชาติ<span>  </span>ดังนี้</span></span>\n</p>\n<p>\n<span style=\"font-size: 18pt; color: #ff99ff; font-family: \'Cordia New\',\'sans-serif\'\"><span style=\"color: #ff9900\">       7.1.<span lang=\"TH\">การค้นพบทฤษฎีระบบสุริยจักรวาลของนิโคลัส</span> (Nicholaus Copernicus) <span lang=\"TH\">ชาวโปแลนด์</span> <span lang=\"TH\">ในต้นคริสต์ศตวรรษที่</span> 17 <span lang=\"TH\">สาระสำคัญ</span> <span lang=\"TH\">คือ</span> <span lang=\"TH\">ดวงอาทิตย์เป็นศูนย์กลางของจักรวาล</span> <span lang=\"TH\">โดยมีโลกและดาวเคราะห์ดวงอื่น</span> <span lang=\"TH\">ๆ</span> <span lang=\"TH\">โคจรโดยรอบ</span>                <span lang=\"TH\">ทฤษฎีของโคเปอร์นิคัสขัดแย้งกับหลักความเชื่อของคริสต์จักรอย่างมากที่เชื่อว่าโลกเป็นศูนย์กลางของจักรวาล</span> <span lang=\"TH\">แม้จะถูกประณามอย่างรุนแรง</span> <span lang=\"TH\">แต่ถือว่าความคิดของโคเปอร์นิคัสเป็นจุดเริ่มต้นของการปฏิวัติทางวิทยาศาสตร์</span> <span lang=\"TH\">ทำให้ชาวตะวันตกให้ความสนในเรื่องราวลี้ลับของธรรมชาติ</span></span></span>\n</p>\n<p>\n<span style=\"font-size: 18pt; color: #ff99ff; font-family: \'Cordia New\',\'sans-serif\'\"><span lang=\"TH\"></span></span><span style=\"font-size: 18pt; color: #ff99ff; font-family: \'Cordia New\',\'sans-serif\'\"><span style=\"color: #ff9900\">       7.2 <span lang=\"TH\">การประดิษฐ์กล้องโทรทรรศน์</span> (Telescope) <span lang=\"TH\">ของกาลิเลโอ</span> (Galileo Galilei) <span lang=\"TH\">ชาวอิตาลีในปี</span> <span lang=\"TH\">ค</span>.<span lang=\"TH\">ศ</span>. 1609 <span lang=\"TH\">ทำให้ความรู้เรื่องระบบสุริยจักรวาลชัดเจนยิ่งขึ้น</span> <span lang=\"TH\">เช่น</span> <span lang=\"TH\">ได้เห็นจุดดับในดวงอาทิตย์ได้สังเกตการเคลื่อนไหวของดวงดาว</span> <span lang=\"TH\">และได้เห็นพื้นขรุขระของดวงจันทร์</span> <span lang=\"TH\">เป็นต้น</span></span></span>\n</p>\n<p><span style=\"color: #ff9900\"><span style=\"font-size: 18pt; color: #ff99ff; font-family: \'Cordia New\',\'sans-serif\'\"><span lang=\"TH\">       </span></span><span style=\"font-size: 18pt; color: #ff99ff; font-family: \'Cordia New\',\'sans-serif\'\">7.3 <span lang=\"TH\">การค้นพบทฤษฎีการโคจรของดาวเคราะห์</span> <span lang=\"TH\">ของโจฮันเนส</span> <span lang=\"TH\">เคปเลอร์</span> (Johannes Kepler) <span lang=\"TH\">ชาวเยอรมัน</span> <span lang=\"TH\">ในช่างต้นคริสต์ศตวรรษที่</span> 17 <span lang=\"TH\">สรุปได้ว่า</span> <span lang=\"TH\">เส้นทางโคจรของดาวเคราะห์รอบดวงอาทิตย์เป็นรูปไข่หรือรูปวงรี</span> <span lang=\"TH\">มิใช่เป็นวงกลมตามทฤษฎีขอโคเปอร์นิคัส</span><b><o:p></o:p></b></span><span style=\"font-size: 18pt; color: #ff99ff; font-family: \'Cordia New\',\'sans-serif\'\" lang=\"TH\"> </span><span style=\"font-size: 18pt; color: #ff99ff; font-family: \'Cordia New\',\'sans-serif\'\" lang=\"TH\">ในช่วงกลางคริสต์ศตวรรษที่</span><span style=\"font-size: 18pt; color: #ff99ff; font-family: \'Cordia New\',\'sans-serif\'\"> 17 <span lang=\"TH\">มีนักคณิตศาสตร์</span> 2 <span lang=\"TH\">คน</span> <span lang=\"TH\">ได้เสนอแนวความคิดเกี่ยวกับวิธีสร้างความรู้เพื่อการศึกษาค้นคว้าทางวิทยาศาสตร์</span> <span lang=\"TH\">สรุปได้ดังนี้</span></span></span> </p>\n<p>\n<span style=\"color: #ff9900\"><span style=\"font-size: 18pt; color: #ff99ff; font-family: \'Cordia New\',\'sans-serif\'\">       </span><span style=\"font-size: 18pt; color: #ff99ff; font-family: \'Cordia New\',\'sans-serif\'\">8.1 <span lang=\"TH\">เรอเนส์</span> <span lang=\"TH\">เดส์การ์ตส์</span> (Rene Descartes) <span lang=\"TH\">ชาวฝรั่งเศส</span> <span lang=\"TH\">และเซอร์</span> <span lang=\"TH\">ฟรานซิส</span> <span lang=\"TH\">เบคอน</span> (Sir Francis Bacon) <span lang=\"TH\">ชาวอังกฤษ</span> <span lang=\"TH\">ได้ร่วมกันเสนอหลักการใช้เหตุผล</span> <span lang=\"TH\">วิธีการทางคณิตศาสตร์</span> <span lang=\"TH\">และการค้นคว้าวิจัยมาใช้ตรวจสอบข้อเท็จจริงและการแสวงหาความรู้ทางด้านวิทยาศาสตร์</span></span></span>\n</p>\n<p>\n<span style=\"font-size: 18pt; color: #ff99ff; font-family: \'Cordia New\',\'sans-serif\'\"></span><span style=\"font-size: 18pt; color: #ff99ff; font-family: \'Cordia New\',\'sans-serif\'\"><span style=\"color: #ff9900\">       8.2 <span lang=\"TH\">ความคิดของเดส์การ์ตส์</span> <span lang=\"TH\">เสนอว่าวิชาเรขาคณิตเป็นหลักความจริง</span> <span lang=\"TH\">สามารถนำไปใช้สืบค้นข้อเท็จจริงทางวิทยาศาสตร์ได้</span> <span lang=\"TH\">ซึ่งได้รับความเชื่อถือจากนักวิทยาศาสตร์ในสมัยต่อมาเป็นอย่างมาก</span></span></span>\n</p>\n<p><span style=\"color: #ff9900\"><span style=\"font-size: 18pt; color: #ff99ff; font-family: \'Cordia New\',\'sans-serif\'\"><span lang=\"TH\">       </span></span><span style=\"font-size: 18pt; color: #ff99ff; font-family: \'Cordia New\',\'sans-serif\'\">8.3 <span lang=\"TH\">ความคิดขอเบคอน</span> <span lang=\"TH\">เสนอแนวทางการค้นคว้าวิจัยทางวิทยาศาสตร์</span> <span lang=\"TH\">โดยใช้</span> “<span lang=\"TH\">วิธีการทางวิทยาศาสตร์</span>” <span lang=\"TH\">เป็นเครื่องมือศึกษา</span> <span lang=\"TH\">ทำให้วิทยาศาสตร์ได้รับความสนใจอย่างกว้างขวาง</span><b><o:p></o:p></b></span></span><b><span style=\"font-size: 18pt; color: #ff99ff; font-family: \'Cordia New\',\'sans-serif\'\" lang=\"TH\"><o:p> </o:p></span></b><span style=\"color: #000000\"><b><span style=\"font-size: 9pt; font-family: \'Angsana New\'\" lang=\"TH\"><span style=\"font-size: large; font-family: Times New Roman\"> </span></span></b></span><span style=\"color: #000000\"><b><span style=\"font-size: 9pt; font-family: \'Angsana New\'\" lang=\"TH\"><span style=\"font-size: large; font-family: Times New Roman\"></span></span></b></span><span style=\"color: #000000\"><b><span style=\"font-size: 9pt; font-family: \'Angsana New\'\" lang=\"TH\"><span style=\"font-size: large; font-family: Times New Roman\"></span></span></b></span></p>\n<div style=\"text-align: center\">\n<img border=\"0\" width=\"470\" src=\"/files/u3346/49305.jpg\" height=\"321\" />\n</div>\n<p></p>\n', created = 1720167642, expire = 1720254042, headers = '', serialized = 0 WHERE cid = '3:1fda0db61d95bcf749f553edc41b534b' in /home/tgv/htdocs/includes/cache.inc on line 112.
  • user warning: Table 'cache_filter' is marked as crashed and should be repaired query: SELECT data, created, headers, expire, serialized FROM cache_filter WHERE cid = '3:c11c33ae8211323519bebfe5c8b24fbc' in /home/tgv/htdocs/includes/cache.inc on line 27.
  • user warning: Table 'cache_filter' is marked as crashed and should be repaired query: UPDATE cache_filter SET data = '<!--paging_filter--><p>ตรวจแล้วเนื้อหาน้อยไป ค้นคว้าเพิ่มเติมอีก</p>\n', created = 1720167642, expire = 1720254042, headers = '', serialized = 0 WHERE cid = '3:c11c33ae8211323519bebfe5c8b24fbc' in /home/tgv/htdocs/includes/cache.inc on line 112.

ยุคปฏิวัติทางสติปัญญา

ยุคปฏิวัติทางสติปัญญา

 หรือ "ลัทธิเหตุผลนิยม"        ความคิดในยุคภูมิธรรม คือ ความสัมพันธ์ระหว่างเหตุและผลที่มีอยู่ใน มนุษย์สนับสนุนแนวความคิดของนักประวัติศาสตร์มานุษยวิทยาอเมริกันนัก มานุษยวิทยาที่ไม่เห็นด้วยกับการศึกษาปัจจัยด้านเชื้อชาติแบบเก่า ได้รับอิทธิพลจากการศึกษาเชื้อชาติโดยใช้วิธีการวิทยาศาสตร์สมัยใหม่ โดยเสนอความเห็นว่าเชื้อชาติมนุษย์ไม่เท่าเทียมกันเนื่องจาก กรรมพันธุ์หรือสิ่งติดตัวแต่กำเนิด รวมทั้งหลักการแบ่งแยกมนุษยชาติแบบเก่า วิธีการนี้แบ่งเชื้อชาติมนุษย์โดยเน้นความแตกต่างที่ติดตัว ตามพันธุกรรม ข้อสมมุติฐานข้างต้นนำทางให้นักวิทยาศาสตร์หันมาปรับปรุงแก้ไขวิธีการศึกษาเพื่ออธิบายเชื้อชาติเสียใหม่สามารถกำหนด ระบบการจำแนกชาติพันธุ์มนุษย์ที่ถูกต้องและเหมาะสม นอกจากนี้ยังศึกษาอัตราความคล้ายคลึงระหว่างมนุษย์เพื่อนำมาจัดลำดับชาติพันธุ์ จนสามารถนำไปอธิบายความสัมพันธ์และประวัติศาสตร์มนุษยชาติได้ 

       นอกความรู้ทางด้านมานุษยวิทยาแล้ว  ยังเกิดความก้าวหน้าทางวิทยาศาสตร์และอีกมากมาย โดยผู้ที่ต้องการค้นหาความจริงทางธรรมชาติ  ดังนี้

       7.1.การค้นพบทฤษฎีระบบสุริยจักรวาลของนิโคลัส (Nicholaus Copernicus) ชาวโปแลนด์ ในต้นคริสต์ศตวรรษที่ 17 สาระสำคัญ คือ ดวงอาทิตย์เป็นศูนย์กลางของจักรวาล โดยมีโลกและดาวเคราะห์ดวงอื่น  โคจรโดยรอบ                ทฤษฎีของโคเปอร์นิคัสขัดแย้งกับหลักความเชื่อของคริสต์จักรอย่างมากที่เชื่อว่าโลกเป็นศูนย์กลางของจักรวาล แม้จะถูกประณามอย่างรุนแรง แต่ถือว่าความคิดของโคเปอร์นิคัสเป็นจุดเริ่มต้นของการปฏิวัติทางวิทยาศาสตร์ ทำให้ชาวตะวันตกให้ความสนในเรื่องราวลี้ลับของธรรมชาติ

       7.2 การประดิษฐ์กล้องโทรทรรศน์ (Telescope) ของกาลิเลโอ (Galileo Galilei) ชาวอิตาลีในปี .. 1609 ทำให้ความรู้เรื่องระบบสุริยจักรวาลชัดเจนยิ่งขึ้น เช่น ได้เห็นจุดดับในดวงอาทิตย์ได้สังเกตการเคลื่อนไหวของดวงดาว และได้เห็นพื้นขรุขระของดวงจันทร์ เป็นต้น

       7.3 การค้นพบทฤษฎีการโคจรของดาวเคราะห์ ของโจฮันเนส เคปเลอร์ (Johannes Kepler) ชาวเยอรมัน ในช่างต้นคริสต์ศตวรรษที่ 17 สรุปได้ว่า เส้นทางโคจรของดาวเคราะห์รอบดวงอาทิตย์เป็นรูปไข่หรือรูปวงรี มิใช่เป็นวงกลมตามทฤษฎีขอโคเปอร์นิคัส ในช่วงกลางคริสต์ศตวรรษที่ 17 มีนักคณิตศาสตร์ 2 คน ได้เสนอแนวความคิดเกี่ยวกับวิธีสร้างความรู้เพื่อการศึกษาค้นคว้าทางวิทยาศาสตร์ สรุปได้ดังนี้

       8.1 เรอเนส์ เดส์การ์ตส์ (Rene Descartes) ชาวฝรั่งเศส และเซอร์ ฟรานซิส เบคอน (Sir Francis Bacon) ชาวอังกฤษ ได้ร่วมกันเสนอหลักการใช้เหตุผล วิธีการทางคณิตศาสตร์ และการค้นคว้าวิจัยมาใช้ตรวจสอบข้อเท็จจริงและการแสวงหาความรู้ทางด้านวิทยาศาสตร์

       8.2 ความคิดของเดส์การ์ตส์ เสนอว่าวิชาเรขาคณิตเป็นหลักความจริง สามารถนำไปใช้สืบค้นข้อเท็จจริงทางวิทยาศาสตร์ได้ ซึ่งได้รับความเชื่อถือจากนักวิทยาศาสตร์ในสมัยต่อมาเป็นอย่างมาก

       8.3 ความคิดขอเบคอน เสนอแนวทางการค้นคว้าวิจัยทางวิทยาศาสตร์ โดยใช้ “วิธีการทางวิทยาศาสตร์” เป็นเครื่องมือศึกษา ทำให้วิทยาศาสตร์ได้รับความสนใจอย่างกว้างขวาง 

สร้างโดย: 
น.ส.รัฐวรรณ ธนานุวัฒน์กิจ ม.6/1 เลขที่ 34 รร.ศีลาจารพิพัฒน์
รูปภาพของ silavacharee

ตรวจแล้วเนื้อหาน้อยไป ค้นคว้าเพิ่มเติมอีก

มหาวิทยาลัยศรีปทุม ผู้ใหญ่ใจดี
 

 ช่วยด้วยครับ
นักเรียนที่สร้างบล็อก กรุณาอย่า
คัดลอกข้อมูลจากเว็บอื่นทั้งหมด
ควรนำมาจากหลายๆ เว็บ แล้ววิเคราะห์ สังเคราะห์ และเขียนขึ้นใหม่
หากคัดลอกทั้งหมด จะถูกดำเนินคดี
ตามกฎหมายจากเจ้าของลิขสิทธิ์
มีโทษทั้งจำคุกและปรับในอัตราสูง

ช่วยกันนะครับ 
ไทยกู๊ดวิวจะได้อยู่นานๆ 
ไม่ถูกปิดเสียก่อน

ขอขอบคุณในความร่วมมือครับ

อ่านรายละเอียด

ด่วน...... ขณะนี้
พระราชบัญญัติลิขสิทธิ์ (ฉบับที่ 2) พ.ศ. 2558 
มีผลบังคับใช้แล้ว 
ขอให้นักเรียนและคุณครูที่ใช้งาน
เว็บ thaigoodview ในการส่งการบ้าน
ระมัดระวังการละเมิดลิขสิทธิ์ด้วย
อ่านรายละเอียดที่นี่ครับ

 

สมาชิกที่ออนไลน์

ขณะนี้มี สมาชิก 0 คน และ ผู้เยี่ยมชม 662 คน กำลังออนไลน์