• user warning: Table 'cache_filter' is marked as crashed and should be repaired query: SELECT data, created, headers, expire, serialized FROM cache_filter WHERE cid = '3:e6ddf9d184ed5a51c500e7ea852ce00c' in /home/tgv/htdocs/includes/cache.inc on line 27.
  • user warning: Table 'cache_filter' is marked as crashed and should be repaired query: UPDATE cache_filter SET data = '<!--paging_filter--><p><span style=\"color: #000000\"><b><span style=\"font-size: 22pt; font-family: \'Angsana New\'\" lang=\"TH\">อารยธรรมโรมัน</span></b><b><span style=\"font-size: 22pt\"><o:p></o:p></span></b></span><span style=\"color: #000000\"><b><span style=\"font-size: 22pt\"><span><span style=\"font-family: Times New Roman\">  </span></span></span></b><b><span style=\"font-size: 22pt; font-family: \'Angsana New\'\" lang=\"TH\">ปัจจัยทางภูมิศาสตร์กับการตั้งถิ่นฐาน</span></b><b><span style=\"font-size: 22pt\"><o:p></o:p></span></b></span><span style=\"color: #000000\"><span style=\"font-size: 14pt; font-family: \'Angsana New\'\" lang=\"TH\"><span>                </span>อารยธรรมโรมันมีแหล่งกำเนิดมาจากบริเวณคาบสมุทรอิตาลี ตั้งอยู่ทางใต้ของยุโรปลักษณะภูมิประเทศเป็นเทือกเขาและเนินเขา คือ เทือกเขาแอลป์ทางเหนือ กั้นคาบสมุทรอิตาลีออกจากดินแดนส่วนอื่นของยุโรป</span><span lang=\"TH\"><span style=\"font-size: small; font-family: Times New Roman\"> </span></span><span style=\"font-size: 14pt; font-family: \'Angsana New\'\" lang=\"TH\">และ<o:p></o:p></span></span> </p>\n<p style=\"margin: 0cm 0cm 0pt; text-align: justify\" class=\"MsoNormal\">\n<span style=\"color: #000000\"><span style=\"font-size: 14pt; font-family: \'Angsana New\'\" lang=\"TH\">เทือกเขาอเพนไนน์ซึ่งเป็นแกนกลางของคาบสมุทร บริเวณที่ราบมีน้อย ที่ราบสำคัญ เช่น ที่ราบชายฝั่งทะเลติร์เรเนียน (</span><st1:place w:st=\"on\"><span style=\"font-size: small\"><span style=\"font-family: Times New Roman\"><st1:placename w:st=\"on\">Tyrenian</st1:placename> <st1:placetype w:st=\"on\">Sea</st1:placetype></span></span></st1:place><span style=\"font-size: 14pt; font-family: \'Angsana New\'\" lang=\"TH\">) ที่ราบลุ่มไทเบอร์ เป็นที่ตั้งของกรุงโรมปัจจุบัน<span>   </span>สภาพอากาศเป็นแบบเมดิเตอร์เรเนียนอากาศอบอุ่น มีฝนในฤดูหนาว และอากาศแห้งแล้งในฤดูแล้ง และยังมีแร่ธาตุอุดมสมบูรณ์พอสมควร เช่น เหล็กสังกะสี<span>   </span>เงิน<span>   </span>หินอ่อน ยิปซัม เกลือ และโพแทช นอกนี้ยังมีทรัพยากรป่าไม้ ส่วนทรัพยากรดินมีจำนวนจำกัด </span></span>\n</p>\n<p style=\"margin: 0cm 0cm 0pt; text-align: justify\" class=\"MsoNormal\">\n<span style=\"font-size: 14pt; font-family: \'Angsana New\'\" lang=\"TH\"><span style=\"color: #000000\">อารยธรรมโรมันสมัยประวัติศาสตร์</span></span>\n</p>\n<p style=\"margin: 0cm 0cm 0pt; text-align: justify\" class=\"MsoNormal\">\n<span style=\"color: #000000\"><span style=\"font-size: 14pt; font-family: \'Angsana New\'\" lang=\"TH\"><span>                </span>ชาวโรมันมีความเชื่อว่าโรมสถาปนาบนเนินเขา 7 ลูก<span>  </span>โดยพีน้องฝาแฝดที่ชื่อ<span>  </span>โรมูลุส<span>  </span>( </span><st1:place w:st=\"on\"><st1:city w:st=\"on\"><span style=\"font-size: small; font-family: Times New Roman\">Romulus</span></st1:city></st1:place><span style=\"font-size: small; font-family: Times New Roman\">)</span><span style=\"font-size: 14pt; font-family: \'Angsana New\'\" lang=\"TH\"> </span></span>\n</p>\n<p style=\"margin: 0cm 0cm 0pt; text-align: justify\" class=\"MsoNormal\">\n<span style=\"color: #000000\"><span style=\"font-size: 14pt; font-family: \'Angsana New\'\" lang=\"TH\">และเรมุส (</span><span style=\"font-size: small; font-family: Times New Roman\"> Remus</span><span style=\"font-size: 14pt; font-family: \'Angsana New\'\" lang=\"TH\"> ) <span> </span>ซึ่งโตจากน้ำนมและการเลี้ยงดูของสุนัข<span>  </span>แต่ตามหลักฐานยืนยันว่าบริเวณที่ตั้งของกรุงโรม ในปัจจุบันมีพวกอีทรัสกัน( </span><span style=\"font-size: small; font-family: Times New Roman\">Etruscan </span><span style=\"font-size: 14pt; font-family: \'Angsana New\'\" lang=\"TH\">)<span>  </span>ซึ่งได้รับอารยธรรมของกรีกอยู่ก่อนครอบครอง<span>  </span>พวกอีทรัสกันมีถิ่นเดิมอยู่ในเอเชียไมเนอร์<span>   </span>เมื่ออพยพมาแหลมอิตาลีก็นำเอาความเชื่อในศาสนาของกรีก<span>  </span>ศิลปะการแกะสลัก เครื่องปั้นดินเผา<span>   </span>อักษรกรีก<span>   </span>การหล่อทองแดงและบรอนซ์<span>   </span>การสร้างอาวุธ เข้ามาเผยแพร่ในคาบสมุทรอิตาลีในบริเวณแหลมอิตาลีเป็นที่ตั้งถิ่นฐานของผู้อพยพเผ่าอื่นๆได้แก่ พวกละตินซึ่งเป็นบรรพบุรุษของชาวโรมันในแถบบริเวณที่ราบละติอุม (</span><span style=\"font-size: small; font-family: Times New Roman\">Latium</span><span style=\"font-size: 14pt; font-family: \'Angsana New\'\" lang=\"TH\">)ทางตอนใต้ของแม่น้ำไทเบอร์ (</span><span style=\"font-size: small; font-family: Times New Roman\">Tiber</span><span style=\"font-size: 14pt; font-family: \'Angsana New\'\" lang=\"TH\">)พวกนี้มีอาชีพปลูกข้าวและเลี้ยงสัตว์ต่อมาได้มีการติดต่อกับพวกอีทรัสกัน<span>  </span>พวกละตินได้ขับไล่กษัตริย์อีทรัสกันออกจากบัลลังก์และจัดตั้งโรม มีรูปแบบการปกครองเป็นแบบสาธารณรัฐ<span>  </span>อำนาจการปกครองเป็นของชนชั้นสูง เรียกว่า<span>  </span>พวกพาทรีเชียน (</span><span style=\"font-size: small; font-family: Times New Roman\">patrician</span><span style=\"font-size: 14pt; font-family: \'Angsana New\'\" lang=\"TH\">)เท่านั้น<span>  </span>ราษฎรหรือประชาชนส่วนใหญ่ที่เรียกว่า เพลเบียน (</span><span style=\"font-size: small; font-family: Times New Roman\">plebeian</span><span style=\"font-size: 14pt; font-family: \'Angsana New\'\" lang=\"TH\">)ไม่มีสิทธิใดๆ ทั้งด้านการเมืองและสังคม</span></span>\n</p>\n<p style=\"margin: 0cm 0cm 0pt; text-align: justify\" class=\"MsoNormal\">\n<span style=\"color: #000000\"><span style=\"font-size: 14pt; font-family: \'Angsana New\'\" lang=\"TH\"><span>                </span>ความขัดแย้งระหว่างพวกพาทรีเชียนและพวกเพลเบียนนำไปสู่การต่อสู้ระหว่างชนชั้นในปี449ก่อนค.ศ.พวกเพลเบียนได้มีสิทธิออกกฎหมายร่วมกับพวกพาทรีเชียน เป็นการออกประมวลกฎหมายเป็นลายลักษณ์อักษรฉบับแรกของโรมัน เรียกว่า<span>  </span><i>กฎหมายสิบสองโต๊ะ </i>(</span><span style=\"font-size: small; font-family: Times New Roman\"> Law of the Twelve Tables)</span><span style=\"font-size: 14pt; font-family: \'Angsana New\'\" lang=\"TH\"> เพื่อใช้บังคับให้ชาวโรมันทุกคนปฏิบัติอยู่ในกรอบเดียวกันของกฎหมายและสังคม นับเป็นมรดกชิ้นสำคัญของโรมที่ถือว่าเป็นแม่บทของกฎหมายโลกตะวันตก</span></span>\n</p>\n<p style=\"margin: 0cm 0cm 0pt; text-align: justify\" class=\"MsoNormal\">\n<span style=\"color: #000000\"><span style=\"font-size: 14pt; font-family: \'Angsana New\'\" lang=\"TH\"><span>                </span>ระหว่าง264 </span><span style=\"font-size: small; font-family: Times New Roman\">–</span><span style=\"font-size: 14pt; font-family: \'Angsana New\'\" lang=\"TH\"> 146 ปีก่อนค.ศ. โรมันทำสงครามพิวนิก ( </span><span style=\"font-size: small; font-family: Times New Roman\">Punic War)</span><span style=\"font-size: 14pt; font-family: \'Angsana New\'\" lang=\"TH\"> กับพวกคาร์เทจที่ตั้งอาณาจักรในบริเวณภาคเหนือของทวีปแอฟริกา คาร์เทจเป็นฝ่ายพ่ายแพ้และต้องเสียอาณาจักร เป็นการเปิดโอกาสให้โรมันได้เป็นเจ้าทะเลเมดิเตอร์เรเนียน<span>    </span>เป็นรัฐที่มีอำนาจมากที่สุดในขณะนั้นโดยผูกขาดการค้าระหว่างยุโรปตะวันตก<span>    </span>และยุโรปตะวันออกและเอเชียไมเนอร์ มีฐานะมั่งคั่ง และมีอำนาจปกครองดินแดนอันกว้างใหญ่ไพศาล</span></span>\n</p>\n<p style=\"margin: 0cm 0cm 0pt; text-align: justify\" class=\"MsoNormal\">\n<span style=\"color: #000000\"><span style=\"font-size: 14pt; font-family: \'Angsana New\'\" lang=\"TH\"><span>                </span>เมื่อ 27 ปีก่อนค.ศ.<span>  </span>โรมันยุติการปกครองแบบสาธารณรัฐและหันมาใช้การปกครองแบบจักรวรรดิอย่างเป็นทางการ<span>  </span>ออคเทเวียน (</span><span style=\"font-size: small; font-family: Times New Roman\">Octavian</span><span style=\"font-size: 14pt; font-family: \'Angsana New\'\" lang=\"TH\">) ได้รับสมญานามว่า <i>ออกุสตุส (</i></span><i><span style=\"font-size: small; font-family: Times New Roman\">Augustus</span></i><i><span style=\"font-size: 14pt; font-family: \'Angsana New\'\" lang=\"TH\">)</span></i><span style=\"font-size: 14pt; font-family: \'Angsana New\'\" lang=\"TH\"> และสภาโรมันยกย่องให้เป็น จักรพรรดิ พระองค์แรกของจักรวรรดิโรมัน โรมันเจริญถึงขีดสุดและสามารถขยายอำนาจและอิทธิพลไปทั่วทั้งทวีปยุโรป มีการสร้างถนนไปทั่วเพื่อสะดวกในการลำเลียงสินค้าและทหาร และส่งเสริมศิลปวัฒนธรรมในแขนงต่างๆ</span></span>\n</p>\n<p><o:p><span style=\"font-size: small; color: #000000; font-family: Times New Roman\"> </span></o:p><o:p><span style=\"font-size: small; color: #000000; font-family: Times New Roman\"> </span></o:p><o:p><span style=\"font-size: small; color: #000000; font-family: Times New Roman\"> </span></o:p><b><span style=\"font-size: 22pt\"><o:p><span style=\"color: #000000; font-family: Times New Roman\"> </span></o:p></span></b><b><span style=\"font-size: 22pt\"><o:p><span style=\"color: #000000; font-family: Times New Roman\"> </span></o:p></span></b><span style=\"color: #000000\"><b><span style=\"font-size: 22pt; font-family: \'Angsana New\'\" lang=\"TH\">มรดกที่สำคัญทางด้านศิลปวัฒนธรรมของโรมัน</span></b><b><span style=\"font-size: 22pt\"><o:p></o:p></span></b></span><span style=\"font-size: 14pt; font-family: \'Angsana New\'\" lang=\"TH\"><span style=\"color: #000000\"><span>                </span>ชาวโรมันได้รับอิทธิพลจากกรีกทั้งทางตรงและทางอ้อม<span>  </span>โดยผ่านจากชนชาติต่างๆที่เข้ามาติดต่อค้าขายในแหลมอิตาลี<span>  </span>โดยเฉพาะพวกอีทรัสกัน<span>  </span>เมื่อเริ่มก่อตั้งสาธารณรัฐโรมันใน 509 ปีก่อนค.ศ. ชาวโรมันได้รู้วิธีการต่อเรือ<span>  </span>การใช้ตัวอักษร<span>  </span>เหรียญกษาปณ์<span>  </span>และมาตรา ชั่ง ตวง วัด<span>   </span>ชาวโรมันจะด้อยกว่าชาวกรีกในเชิงจินตนาการ แต่โรมันก็มีอุปนิสัยเฉพาะตัวและเฉลียวฉลาดในการดัดแปลง<span>  </span>เสริแต่งศิลปวัฒนธรรมของกรีกให้สอดคล้องกับความต้องการของสังคมโรมันและระบบการปกครองของประเทศ<span>  </span>ชาวโรมันไม่นิยมสร้างวิหารขนาดใหญ่ถวายเทพเจ้าอย่างกรีก แต่กลับสร้างอาคารต่างๆเพื่อสนองความต้องการของรัฐและประโยชน์การใช้สอยของประชาชน<o:p></o:p></span></span> </p>\n<p style=\"margin: 0cm 0cm 0pt; text-align: justify\" class=\"MsoNormal\">\n<span style=\"color: #000000\"><span style=\"font-size: 14pt; font-family: \'Angsana New\'\" lang=\"TH\">เช่น สร้างโรงมหรสพขนาดใหญ่จุผู้ชมได้ถึง 67,000 คน เรียกว่า <i>โคลอสเซียม</i> (</span><span style=\"font-size: small; font-family: Times New Roman\"> Colosseum </span><span style=\"font-size: 14pt; font-family: \'Angsana New\'\" lang=\"TH\">) เพื่อความหย่อนใจของประชาชน เช่น เป็นที่แสดงกีฬาต่อสู้กับสิงโต<span>  </span>สถานที่อาบน้ำสาธารณะ (</span><span style=\"font-size: small; font-family: Times New Roman\">public baths</span><span style=\"font-size: 14pt; font-family: \'Angsana New\'\" lang=\"TH\">) เพื่อพบปะสังสรรค์<span>  </span>ออกกำลังกาย<span>  </span>อ่านหนังสือ และเล่นเกมต่างๆ<span>  </span>ประตูเมือง<span>  </span>ท่อส่งน้ำ<span>  </span>ถนน<span>  </span>และสะพานขนาดใหญ่ที่แสดงให้เห็นความสามารถเชิงวิศวกรรม<span>    </span>เพื่อความสะดวกในการคมนาคมขนส่งและเคลื่อนกองทัพในจักรวรรดิด้านประติมากรรม<span>  </span></span></span>\n</p>\n<p style=\"margin: 0cm 0cm 0pt; text-align: justify\" class=\"MsoNormal\">\n<v:shapetype coordsize=\"21600,21600\" o:spt=\"75\" o:preferrelative=\"t\" path=\"m@4@5l@4@11@9@11@9@5xe\" filled=\"f\" stroked=\"f\" id=\"_x0000_t75\"><v:stroke joinstyle=\"miter\"></v:stroke><v:formulas><v:f eqn=\"if lineDrawn pixelLineWidth 0\"></v:f><v:f eqn=\"sum @0 1 0\"></v:f><v:f eqn=\"sum 0 0 @1\"></v:f><v:f eqn=\"prod @2 1 2\"></v:f><v:f eqn=\"prod @3 21600 pixelWidth\"></v:f><v:f eqn=\"prod @3 21600 pixelHeight\"></v:f><v:f eqn=\"sum @0 0 1\"></v:f><v:f eqn=\"prod @6 1 2\"></v:f><v:f eqn=\"prod @7 21600 pixelWidth\"></v:f><v:f eqn=\"sum @8 21600 0\"></v:f><v:f eqn=\"prod @7 21600 pixelHeight\"></v:f><v:f eqn=\"sum @10 21600 0\"></v:f></v:formulas><v:path o:extrusionok=\"f\" gradientshapeok=\"t\" o:connecttype=\"rect\"></v:path><o:lock v:ext=\"edit\" aspectratio=\"t\"></o:lock></v:shapetype><v:shape wrapcoords=\"-54 0 -54 21541 21600 21541 21600 0 -54 0\" type=\"#_x0000_t75\" style=\"margin-top: 8.7pt; z-index: -4; left: 0px; margin-left: 81pt; width: 270pt; position: absolute; height: 245.7pt; text-align: left\" id=\"_x0000_s1026\"><span style=\"color: #000000\"><v:imagedata src=\"file:///C:\\DOCUME~1\\PC\\LOCALS~1\\Temp\\msohtml1\\07\\clip_image001.jpg\" o:title=\"colosseum-from-the-top\"></v:imagedata><w:wrap type=\"tight\"></w:wrap></span></v:shape>\n</p>\n<p><o:p><span style=\"font-size: small; color: #000000; font-family: Times New Roman\"> </span></o:p><o:p><span style=\"font-size: small; color: #000000; font-family: Times New Roman\">  </span></o:p><o:p><span style=\"font-size: small; color: #000000; font-family: Times New Roman\"></span></o:p></p>\n<div style=\"text-align: center\">\n<img width=\"227\" src=\"http://www.geocities.com/bankeibler/Picture/pic_h023.jpg\" height=\"156\" />\n</div>\n<p><o:p><span style=\"font-size: small; color: #000000; font-family: Times New Roman\"> </span></o:p><o:p><span style=\"font-size: small; color: #000000; font-family: Times New Roman\">                                                            </span></o:p><span style=\"color: #000000\"><i><span style=\"font-size: 14pt; font-family: \'Angsana New\'\" lang=\"TH\">โคลอสเซียม</span></i><span style=\"font-size: 14pt; font-family: \'Angsana New\'\" lang=\"TH\"> (</span><span style=\"font-size: small; font-family: Times New Roman\"> Colosseum </span><span style=\"font-size: 14pt; font-family: \'Angsana New\'\" lang=\"TH\">)</span><span style=\"font-size: small; font-family: Times New Roman\"> </span></span><o:p><span style=\"font-size: small; color: #000000; font-family: Times New Roman\"> </span></o:p><o:p><span style=\"font-size: small; color: #000000; font-family: Times New Roman\"> </span></o:p><o:p><span style=\"font-size: small; color: #000000; font-family: Times New Roman\"> </span></o:p> </p>\n<p style=\"text-justify: inter-cluster; margin: 0cm 0cm 0pt; text-align: justify\" class=\"MsoNormal\">\n<v:shape wrapcoords=\"-39 0 -39 21571 21600 21571 21600 0 -39 0\" type=\"#_x0000_t75\" style=\"margin-top: 2.3pt; z-index: -3; left: 0px; margin-left: 306pt; width: 118.55pt; position: absolute; height: 157.9pt; text-align: left\" id=\"_x0000_s1027\"><span style=\"font-size: small\"><span style=\"color: #000000\"><span style=\"font-family: Times New Roman\"><v:imagedata src=\"file:///C:\\DOCUME~1\\PC\\LOCALS~1\\Temp\\msohtml1\\07\\clip_image003.jpg\" o:title=\"p4785024n1\"></v:imagedata><w:wrap type=\"tight\"></w:wrap></span></span></span></v:shape><span style=\"font-size: 14pt; font-family: \'Angsana New\'\" lang=\"TH\"><span style=\"color: #000000\">โรมันแสดงให้เห็นถึงความสำเร็จในระดับสูงทางศิลปะเช่นเดียวกัน ประติมากรรมของโรมันจะสะท้อนบุคลิกภาพของมนุษย์อย่างสมจริงตามธรรมชาติ<span>  </span>มีสัดส่วนงดงามเหมือนกรีก<span>  </span>แต่โรมันจะพัฒนาศิลปะด้านการแกะสลักรูปเหมือนของบุคคลสำคัญๆ เช่น จักรพรรดิ นักการเมือง <span> </span>(โดยเฉพาะในท่าครึ่งท่อนบน) ได้อย่างสมบูรณ์<span>  </span>เพราะสามารถทำให้หินอ่อนแกะสลักนั้นดูมีชีวิต </span></span>\n</p>\n<p><o:p><span style=\"font-size: small; color: #000000; font-family: Times New Roman\"> </span></o:p><o:p><span style=\"font-size: small; color: #000000; font-family: Times New Roman\">  </span></o:p><o:p><span style=\"font-size: small; color: #000000; font-family: Times New Roman\"></span></o:p></p>\n<div style=\"text-align: center\">\n<img width=\"192\" src=\"http://www.geocities.com/bankeibler/Picture/Augustus.jpg\" height=\"240\" />\n</div>\n<p><o:p><span style=\"font-size: small; color: #000000; font-family: Times New Roman\"> </span></o:p><o:p><span style=\"font-size: small; color: #000000; font-family: Times New Roman\"> </span></o:p><span style=\"font-size: 14pt; font-family: \'Angsana New\'\" lang=\"TH\"><span style=\"color: #000000\"><span> </span>ชาวโรมันเชื่อว่าการแกะสลักรูปให้เหมือนจริงที่สุดจะช่วยรักษาวิญญาณของผู้นั้น( เมื่อตายไปแล้ว ) นอกจากนี้ยังพัฒนาการแกะสลักภาพสูงต่ำ เพื่อบันทึกเรื่องราวหรือเหตุการณ์สำคัญทางประวัติศาสตร์ เพื่อสดุดีวีรกรรมของนักรบ งานศิลปกรรมประเภทนี้จะให้ภาพชีวิตที่เป็นจริงเป็นจัง<span>  </span>ช่วนในการถ่ายทอดการรับรู้ความยิ่งใหญ่ของโรมัน</span></span> </p>\n<p style=\"margin: 0cm 0cm 0pt; text-align: justify\" class=\"MsoNormal\">\n<span style=\"font-size: 14pt; font-family: \'Angsana New\'\" lang=\"TH\"><span style=\"color: #000000\"></span></span>\n</p>\n<p style=\"margin: 0cm 0cm 0pt; text-align: justify\" class=\"MsoNormal\">\n<v:shape wrapcoords=\"-56 0 -56 21536 21600 21536 21600 0 -56 0\" type=\"#_x0000_t75\" style=\"margin-top: 5.35pt; z-index: -2; left: 0px; margin-left: 9pt; width: 189pt; position: absolute; height: 165.4pt; text-align: left\" id=\"_x0000_s1028\"><span style=\"color: #000000\"><v:imagedata src=\"file:///C:\\DOCUME~1\\PC\\LOCALS~1\\Temp\\msohtml1\\07\\clip_image005.jpg\" o:title=\"enemiesrome_gallery_4\"></v:imagedata><w:wrap type=\"tight\"></w:wrap></span></v:shape>\n</p>\n<p><o:p><span style=\"font-size: small; color: #000000; font-family: Times New Roman\"> </span></o:p> </p>\n<p style=\"margin: 0cm 0cm 0pt; text-indent: 36pt; text-align: justify\" class=\"MsoNormal\">\n<span style=\"color: #000000\"><span style=\"font-size: 14pt; font-family: \'Angsana New\'\" lang=\"TH\">งานประพันธ์ร้อยแก้วของซิเซโร ซึ่งเป็นข้อเขียนทางการเมืองและจริยธรรมในรูปแบบของสุนทรพจน์และจดหมาย ซิเซโรใช้ภาษาละตินที่สละสลวยมีระเบียบแบบแผนในงานประพันธ์ร้อยแก้วของเขา ถือเป็นแม่แบบของการใช้ภาษาละติน เขายังมีลักษณะพิเศษที่ใช้โวหารในการเสียดสีประชดประชัน (</span><span style=\"font-size: small; font-family: Times New Roman\">Satire</span><span style=\"font-size: 14pt; font-family: \'Angsana New\'\" lang=\"TH\">) พฤติกรรมของฝ่ายปกครองในด้านศีลธรรมจรรยาและอำนาจรัฐ<span>  </span>ทั้งในเชิงติเตียนและสร้างสรรค์<span>  </span>ซึ่งไม่เคยปรากฏมาก่อนในงานประพันธ์ของกรีก นอกนี้ก็ยังมีงานประวัติศาสตร์เน้นความยิ่งใหญ่ของโรม เช่น งานเขียนเรื่อง <i>บันทึกสงครามกอล </i>(</span><span style=\"font-size: small; font-family: Times New Roman\"> BellumGallicum</span><span style=\"font-size: 14pt; font-family: \'Angsana New\'\" lang=\"TH\">) ของจูเลียส ซีซาร์ (</span><span style=\"font-size: small; font-family: Times New Roman\"> Julius Cesar</span><span style=\"font-size: 14pt; font-family: \'Angsana New\'\" lang=\"TH\"> ) <i>ประวัติศาสตร์กรุงโรม</i><span>  </span>(</span><span style=\"font-family: Times New Roman\"><span style=\"font-size: small\"> History<span>  </span>of<span>  </span></span><span style=\"font-size: small\">Rome</span></span><span style=\"font-size: 14pt; font-family: \'Angsana New\'\" lang=\"TH\"> ) ของลีวี (</span><span style=\"font-size: small; font-family: Times New Roman\">Livy</span><span style=\"font-size: 14pt; font-family: \'Angsana New\'\" lang=\"TH\">)<span>  </span></span></span>\n</p>\n<p style=\"margin: 0cm 0cm 0pt; text-align: justify\" class=\"MsoNormal\">\n<span style=\"font-size: 14pt; font-family: \'Angsana New\'\" lang=\"TH\"><span style=\"color: #000000\"><span>                </span>มรดกที่ยิ่งใหญ่อีกชิ้นของโรมัน ได้แก่ กฎหมาย ในระยะแรกกฎหมายโรมันไม่ได้เขียนเป็นลายลักษณ์อักษร<span>  </span>และไม่เป็นระบบ<span>  </span>กฎหมายยังมีลักษณะผสมกลมกลืนกับศาสนา<span>  </span>แต่ต่อมากฎหมายโรมันได้เปลี่ยนแปลงทีละเล็กทีละน้อยจากข้อบัญญัติของพระเจ้ามาเป็นกฎหมายบ้านเมือง ในที่สุดก็ได้มีการตรากฎหมายสิบสองโต๊ะ เพื่อให้ความยุติธรรมแก่ชาวโรมันอย่างทัดเทียมกันและยังใช้บังคับประชาชนทั่วไปในจักรวรรดิ โดยไม่จำกัดเชาติ และให้ความยุติธรรมแก่ประชาชนยิ่งขึ้น แม้แต่ทาสซึ่งโรมันนับเป็น <i>พลเมือง</i><span>  </span>ก็มีสิทธิที่จะอุทธรณ์เรียกร้องความยุตืธรรมจากบ้านเมืองได้ในกรณีที่ถูกเจ้านายทำทารุณกรรม</span></span>\n</p>\n<p style=\"margin: 0cm 0cm 0pt; text-align: justify\" class=\"MsoNormal\">\n<span style=\"color: #000000\"><span style=\"font-size: 14pt; font-family: \'Angsana New\'\" lang=\"TH\"><span>                </span>กฎหมายโรมันเป็นรากฐานของประมวลกฎหมายของประเทศต่างๆ เช่น อิตาลี ฝรั่งเศส สเปน สกอตแลนด์<span>  </span>ญี่ปุ่น เป็นต้น แม้แต่กฎหมายของวัดในสมัยกลาง (</span><span style=\"font-size: small; font-family: Times New Roman\">Middle Ages</span><span style=\"font-size: 14pt; font-family: \'Angsana New\'\" lang=\"TH\">) ที่เรียกว่า </span><span style=\"font-size: small; font-family: Times New Roman\">Canon Law </span><span style=\"font-size: 14pt; font-family: \'Angsana New\'\" lang=\"TH\">ก็ยังแสดงให้เห็นถึงอิทธิพลของกฎหมายโรมันในสมัยจักรพรรดิจัสติเนียน (</span><span style=\"font-size: small; font-family: Times New Roman\">Justinian,</span><span style=\"font-size: 14pt; font-family: \'Angsana New\'\" lang=\"TH\">ครองราชย์ ค.ศ. 527-565 ) แห่งจักรวรรดิไบแซนไทน์ ( </span><st1:place w:st=\"on\"><span style=\"font-size: small; font-family: Times New Roman\">Byzantine Empire</span></st1:place><span style=\"font-size: small; font-family: Times New Roman\"> </span><span style=\"font-size: 14pt; font-family: \'Angsana New\'\" lang=\"TH\">)<span>  </span>ได้รวบรวมจัดประมวลกฎหมายโรมันเป็นหมวดหมู่และทิ้งไว้เป็นมรดกอันล้ำค่าของตะวันตก</span></span>\n</p>\n<p><b><u><span style=\"font-size: 28pt\"><o:p><span style=\"text-decoration: none\"><span style=\"color: #000000; font-family: Times New Roman\"></span></span></o:p></span></u></b><b><u><span style=\"font-size: 28pt\"><o:p><span style=\"text-decoration: none\"><span style=\"color: #000000; font-family: Times New Roman\"></span></span></o:p></span></u></b><b><u><span style=\"font-size: 28pt\"><o:p><span style=\"text-decoration: none\"><span style=\"color: #000000; font-family: Times New Roman\"> </span></span></o:p></span></u></b><b><u><span style=\"font-size: 28pt\"><o:p><span style=\"text-decoration: none\"><span style=\"color: #000000; font-family: Times New Roman\"> </span></span></o:p></span></u></b><span style=\"color: #000000\"><b><u><span style=\"font-size: 28pt; font-family: \'Angsana New\'\" lang=\"TH\">บรรณานุกรม</span></u></b><b><u><span style=\"font-size: 28pt\"><o:p></o:p></span></u></b></span><span style=\"color: #000000\"><span style=\"font-size: 22pt; font-family: \'Angsana New\'\" lang=\"TH\">หนังสือเรียน ประวัติศาสตร์ ม.5</span><span style=\"font-size: 22pt\"><o:p></o:p></span></span><span style=\"color: #000000\"><span style=\"font-size: 22pt; font-family: \'Angsana New\'\" lang=\"TH\">ผู้แต่ง<span>  </span>รศ.ทวีศักดิ์<span>  </span>ล้อมลิ้ม </span><span style=\"font-size: 22pt\"><span style=\"font-family: Times New Roman\">–</span></span><span style=\"font-size: 22pt; font-family: \'Angsana New\'\" lang=\"TH\"> ประทุม กุมาร<o:p></o:p></span></span><span style=\"font-size: 14pt; font-family: \'Angsana New\'\" lang=\"TH\"><o:p><span style=\"color: #000000\"> </span></o:p></span><span style=\"font-size: 14pt; font-family: \'Angsana New\'\" lang=\"TH\"><o:p><span style=\"color: #000000\"> </span></o:p></span> </p>\n<p>\n&nbsp;\n</p>\n', created = 1720168087, expire = 1720254487, headers = '', serialized = 0 WHERE cid = '3:e6ddf9d184ed5a51c500e7ea852ce00c' in /home/tgv/htdocs/includes/cache.inc on line 112.

อารายธรรมโรมัน

รูปภาพของ pracha 04

อารยธรรมโรมัน  ปัจจัยทางภูมิศาสตร์กับการตั้งถิ่นฐาน                อารยธรรมโรมันมีแหล่งกำเนิดมาจากบริเวณคาบสมุทรอิตาลี ตั้งอยู่ทางใต้ของยุโรปลักษณะภูมิประเทศเป็นเทือกเขาและเนินเขา คือ เทือกเขาแอลป์ทางเหนือ กั้นคาบสมุทรอิตาลีออกจากดินแดนส่วนอื่นของยุโรป และ

เทือกเขาอเพนไนน์ซึ่งเป็นแกนกลางของคาบสมุทร บริเวณที่ราบมีน้อย ที่ราบสำคัญ เช่น ที่ราบชายฝั่งทะเลติร์เรเนียน (Tyrenian Sea) ที่ราบลุ่มไทเบอร์ เป็นที่ตั้งของกรุงโรมปัจจุบัน   สภาพอากาศเป็นแบบเมดิเตอร์เรเนียนอากาศอบอุ่น มีฝนในฤดูหนาว และอากาศแห้งแล้งในฤดูแล้ง และยังมีแร่ธาตุอุดมสมบูรณ์พอสมควร เช่น เหล็กสังกะสี   เงิน   หินอ่อน ยิปซัม เกลือ และโพแทช นอกนี้ยังมีทรัพยากรป่าไม้ ส่วนทรัพยากรดินมีจำนวนจำกัด

อารยธรรมโรมันสมัยประวัติศาสตร์

                ชาวโรมันมีความเชื่อว่าโรมสถาปนาบนเนินเขา 7 ลูก  โดยพีน้องฝาแฝดที่ชื่อ  โรมูลุส  ( Romulus)

และเรมุส ( Remus )  ซึ่งโตจากน้ำนมและการเลี้ยงดูของสุนัข  แต่ตามหลักฐานยืนยันว่าบริเวณที่ตั้งของกรุงโรม ในปัจจุบันมีพวกอีทรัสกัน( Etruscan )  ซึ่งได้รับอารยธรรมของกรีกอยู่ก่อนครอบครอง  พวกอีทรัสกันมีถิ่นเดิมอยู่ในเอเชียไมเนอร์   เมื่ออพยพมาแหลมอิตาลีก็นำเอาความเชื่อในศาสนาของกรีก  ศิลปะการแกะสลัก เครื่องปั้นดินเผา   อักษรกรีก   การหล่อทองแดงและบรอนซ์   การสร้างอาวุธ เข้ามาเผยแพร่ในคาบสมุทรอิตาลีในบริเวณแหลมอิตาลีเป็นที่ตั้งถิ่นฐานของผู้อพยพเผ่าอื่นๆได้แก่ พวกละตินซึ่งเป็นบรรพบุรุษของชาวโรมันในแถบบริเวณที่ราบละติอุม (Latium)ทางตอนใต้ของแม่น้ำไทเบอร์ (Tiber)พวกนี้มีอาชีพปลูกข้าวและเลี้ยงสัตว์ต่อมาได้มีการติดต่อกับพวกอีทรัสกัน  พวกละตินได้ขับไล่กษัตริย์อีทรัสกันออกจากบัลลังก์และจัดตั้งโรม มีรูปแบบการปกครองเป็นแบบสาธารณรัฐ  อำนาจการปกครองเป็นของชนชั้นสูง เรียกว่า  พวกพาทรีเชียน (patrician)เท่านั้น  ราษฎรหรือประชาชนส่วนใหญ่ที่เรียกว่า เพลเบียน (plebeian)ไม่มีสิทธิใดๆ ทั้งด้านการเมืองและสังคม

                ความขัดแย้งระหว่างพวกพาทรีเชียนและพวกเพลเบียนนำไปสู่การต่อสู้ระหว่างชนชั้นในปี449ก่อนค.ศ.พวกเพลเบียนได้มีสิทธิออกกฎหมายร่วมกับพวกพาทรีเชียน เป็นการออกประมวลกฎหมายเป็นลายลักษณ์อักษรฉบับแรกของโรมัน เรียกว่า  กฎหมายสิบสองโต๊ะ ( Law of the Twelve Tables) เพื่อใช้บังคับให้ชาวโรมันทุกคนปฏิบัติอยู่ในกรอบเดียวกันของกฎหมายและสังคม นับเป็นมรดกชิ้นสำคัญของโรมที่ถือว่าเป็นแม่บทของกฎหมายโลกตะวันตก

                ระหว่าง264 146 ปีก่อนค.ศ. โรมันทำสงครามพิวนิก ( Punic War) กับพวกคาร์เทจที่ตั้งอาณาจักรในบริเวณภาคเหนือของทวีปแอฟริกา คาร์เทจเป็นฝ่ายพ่ายแพ้และต้องเสียอาณาจักร เป็นการเปิดโอกาสให้โรมันได้เป็นเจ้าทะเลเมดิเตอร์เรเนียน    เป็นรัฐที่มีอำนาจมากที่สุดในขณะนั้นโดยผูกขาดการค้าระหว่างยุโรปตะวันตก    และยุโรปตะวันออกและเอเชียไมเนอร์ มีฐานะมั่งคั่ง และมีอำนาจปกครองดินแดนอันกว้างใหญ่ไพศาล

                เมื่อ 27 ปีก่อนค.ศ.  โรมันยุติการปกครองแบบสาธารณรัฐและหันมาใช้การปกครองแบบจักรวรรดิอย่างเป็นทางการ  ออคเทเวียน (Octavian) ได้รับสมญานามว่า ออกุสตุส (Augustus) และสภาโรมันยกย่องให้เป็น จักรพรรดิ พระองค์แรกของจักรวรรดิโรมัน โรมันเจริญถึงขีดสุดและสามารถขยายอำนาจและอิทธิพลไปทั่วทั้งทวีปยุโรป มีการสร้างถนนไปทั่วเพื่อสะดวกในการลำเลียงสินค้าและทหาร และส่งเสริมศิลปวัฒนธรรมในแขนงต่างๆ

     มรดกที่สำคัญทางด้านศิลปวัฒนธรรมของโรมัน                ชาวโรมันได้รับอิทธิพลจากกรีกทั้งทางตรงและทางอ้อม  โดยผ่านจากชนชาติต่างๆที่เข้ามาติดต่อค้าขายในแหลมอิตาลี  โดยเฉพาะพวกอีทรัสกัน  เมื่อเริ่มก่อตั้งสาธารณรัฐโรมันใน 509 ปีก่อนค.ศ. ชาวโรมันได้รู้วิธีการต่อเรือ  การใช้ตัวอักษร  เหรียญกษาปณ์  และมาตรา ชั่ง ตวง วัด   ชาวโรมันจะด้อยกว่าชาวกรีกในเชิงจินตนาการ แต่โรมันก็มีอุปนิสัยเฉพาะตัวและเฉลียวฉลาดในการดัดแปลง  เสริแต่งศิลปวัฒนธรรมของกรีกให้สอดคล้องกับความต้องการของสังคมโรมันและระบบการปกครองของประเทศ  ชาวโรมันไม่นิยมสร้างวิหารขนาดใหญ่ถวายเทพเจ้าอย่างกรีก แต่กลับสร้างอาคารต่างๆเพื่อสนองความต้องการของรัฐและประโยชน์การใช้สอยของประชาชน

เช่น สร้างโรงมหรสพขนาดใหญ่จุผู้ชมได้ถึง 67,000 คน เรียกว่า โคลอสเซียม ( Colosseum ) เพื่อความหย่อนใจของประชาชน เช่น เป็นที่แสดงกีฬาต่อสู้กับสิงโต  สถานที่อาบน้ำสาธารณะ (public baths) เพื่อพบปะสังสรรค์  ออกกำลังกาย  อ่านหนังสือ และเล่นเกมต่างๆ  ประตูเมือง  ท่อส่งน้ำ  ถนน  และสะพานขนาดใหญ่ที่แสดงให้เห็นความสามารถเชิงวิศวกรรม    เพื่อความสะดวกในการคมนาคมขนส่งและเคลื่อนกองทัพในจักรวรรดิด้านประติมากรรม 

  

                                                             โคลอสเซียม ( Colosseum )    

โรมันแสดงให้เห็นถึงความสำเร็จในระดับสูงทางศิลปะเช่นเดียวกัน ประติมากรรมของโรมันจะสะท้อนบุคลิกภาพของมนุษย์อย่างสมจริงตามธรรมชาติ  มีสัดส่วนงดงามเหมือนกรีก  แต่โรมันจะพัฒนาศิลปะด้านการแกะสลักรูปเหมือนของบุคคลสำคัญๆ เช่น จักรพรรดิ นักการเมือง  (โดยเฉพาะในท่าครึ่งท่อนบน) ได้อย่างสมบูรณ์  เพราะสามารถทำให้หินอ่อนแกะสลักนั้นดูมีชีวิต

  

   ชาวโรมันเชื่อว่าการแกะสลักรูปให้เหมือนจริงที่สุดจะช่วยรักษาวิญญาณของผู้นั้น( เมื่อตายไปแล้ว ) นอกจากนี้ยังพัฒนาการแกะสลักภาพสูงต่ำ เพื่อบันทึกเรื่องราวหรือเหตุการณ์สำคัญทางประวัติศาสตร์ เพื่อสดุดีวีรกรรมของนักรบ งานศิลปกรรมประเภทนี้จะให้ภาพชีวิตที่เป็นจริงเป็นจัง  ช่วนในการถ่ายทอดการรับรู้ความยิ่งใหญ่ของโรมัน

 

งานประพันธ์ร้อยแก้วของซิเซโร ซึ่งเป็นข้อเขียนทางการเมืองและจริยธรรมในรูปแบบของสุนทรพจน์และจดหมาย ซิเซโรใช้ภาษาละตินที่สละสลวยมีระเบียบแบบแผนในงานประพันธ์ร้อยแก้วของเขา ถือเป็นแม่แบบของการใช้ภาษาละติน เขายังมีลักษณะพิเศษที่ใช้โวหารในการเสียดสีประชดประชัน (Satire) พฤติกรรมของฝ่ายปกครองในด้านศีลธรรมจรรยาและอำนาจรัฐ  ทั้งในเชิงติเตียนและสร้างสรรค์  ซึ่งไม่เคยปรากฏมาก่อนในงานประพันธ์ของกรีก นอกนี้ก็ยังมีงานประวัติศาสตร์เน้นความยิ่งใหญ่ของโรม เช่น งานเขียนเรื่อง บันทึกสงครามกอล ( BellumGallicum) ของจูเลียส ซีซาร์ ( Julius Cesar ) ประวัติศาสตร์กรุงโรม  ( History  of  Rome ) ของลีวี (Livy) 

                มรดกที่ยิ่งใหญ่อีกชิ้นของโรมัน ได้แก่ กฎหมาย ในระยะแรกกฎหมายโรมันไม่ได้เขียนเป็นลายลักษณ์อักษร  และไม่เป็นระบบ  กฎหมายยังมีลักษณะผสมกลมกลืนกับศาสนา  แต่ต่อมากฎหมายโรมันได้เปลี่ยนแปลงทีละเล็กทีละน้อยจากข้อบัญญัติของพระเจ้ามาเป็นกฎหมายบ้านเมือง ในที่สุดก็ได้มีการตรากฎหมายสิบสองโต๊ะ เพื่อให้ความยุติธรรมแก่ชาวโรมันอย่างทัดเทียมกันและยังใช้บังคับประชาชนทั่วไปในจักรวรรดิ โดยไม่จำกัดเชาติ และให้ความยุติธรรมแก่ประชาชนยิ่งขึ้น แม้แต่ทาสซึ่งโรมันนับเป็น พลเมือง  ก็มีสิทธิที่จะอุทธรณ์เรียกร้องความยุตืธรรมจากบ้านเมืองได้ในกรณีที่ถูกเจ้านายทำทารุณกรรม

                กฎหมายโรมันเป็นรากฐานของประมวลกฎหมายของประเทศต่างๆ เช่น อิตาลี ฝรั่งเศส สเปน สกอตแลนด์  ญี่ปุ่น เป็นต้น แม้แต่กฎหมายของวัดในสมัยกลาง (Middle Ages) ที่เรียกว่า Canon Law ก็ยังแสดงให้เห็นถึงอิทธิพลของกฎหมายโรมันในสมัยจักรพรรดิจัสติเนียน (Justinian,ครองราชย์ ค.ศ. 527-565 ) แห่งจักรวรรดิไบแซนไทน์ ( Byzantine Empire )  ได้รวบรวมจัดประมวลกฎหมายโรมันเป็นหมวดหมู่และทิ้งไว้เป็นมรดกอันล้ำค่าของตะวันตก

  บรรณานุกรมหนังสือเรียน ประวัติศาสตร์ ม.5ผู้แต่ง  รศ.ทวีศักดิ์  ล้อมลิ้ม ประทุม กุมาร  

 

สร้างโดย: 
ประชา เสือสกุล ม.6/4 เลขที่ 4
รูปภาพของ silavacharee

 

ตรวจแล้ว

มหาวิทยาลัยศรีปทุม ผู้ใหญ่ใจดี
 

 ช่วยด้วยครับ
นักเรียนที่สร้างบล็อก กรุณาอย่า
คัดลอกข้อมูลจากเว็บอื่นทั้งหมด
ควรนำมาจากหลายๆ เว็บ แล้ววิเคราะห์ สังเคราะห์ และเขียนขึ้นใหม่
หากคัดลอกทั้งหมด จะถูกดำเนินคดี
ตามกฎหมายจากเจ้าของลิขสิทธิ์
มีโทษทั้งจำคุกและปรับในอัตราสูง

ช่วยกันนะครับ 
ไทยกู๊ดวิวจะได้อยู่นานๆ 
ไม่ถูกปิดเสียก่อน

ขอขอบคุณในความร่วมมือครับ

อ่านรายละเอียด

ด่วน...... ขณะนี้
พระราชบัญญัติลิขสิทธิ์ (ฉบับที่ 2) พ.ศ. 2558 
มีผลบังคับใช้แล้ว 
ขอให้นักเรียนและคุณครูที่ใช้งาน
เว็บ thaigoodview ในการส่งการบ้าน
ระมัดระวังการละเมิดลิขสิทธิ์ด้วย
อ่านรายละเอียดที่นี่ครับ

 

สมาชิกที่ออนไลน์

ขณะนี้มี สมาชิก 0 คน และ ผู้เยี่ยมชม 651 คน กำลังออนไลน์