• user warning: Table 'cache_filter' is marked as crashed and should be repaired query: SELECT data, created, headers, expire, serialized FROM cache_filter WHERE cid = '3:5647d9d0d1665f69382b6042a102e3b5' in /home/tgv/htdocs/includes/cache.inc on line 27.
  • user warning: Table 'cache_filter' is marked as crashed and should be repaired query: UPDATE cache_filter SET data = '<!--paging_filter--><p>\n<span style=\"font-size: 14pt; color: #003300\"><strong><img border=\"0\" width=\"80\" src=\"http://i242.photobucket.com/albums/ff298/akapong999/dookdik/earring/416.gif\" height=\"200\" style=\"width: 50px; height: 100px\" />    ประวัติความเป็นมา</strong></span>\n</p>\n<p><span style=\"font-size: small\"><span style=\"font-size: 12pt; color: #cc99ff\">                <img border=\"0\" width=\"40\" src=\"http://i242.photobucket.com/albums/ff298/akapong999/dookdik/moji/flower/17174253.gif\" height=\"40\" /> ชาวพื้นเมืองในอเมริกากลางและอเมริกาใต้เรียกต้นไม้ที่ให้ยางว่า Caoutchouc แปลว่าต้นไม้ร้องไห้</span> </span><span style=\"font-size: 12pt\"></span></p>\n<p>\n                <img border=\"0\" width=\"40\" src=\"http://i242.photobucket.com/albums/ff298/akapong999/dookdik/moji/flower/17174253.gif\" height=\"40\" /> จนถึงปี พ.ศ. 2313 (1770) โจเซฟ พริสลี่ จึงพบว่า ยางสามารถลบ รอยดำของดินสอได้โดยที่กระดาษไม่เสีย จึงเรียกยางว่า ยางลบหรือตัวลบ (Rubber) ซึ่งเป็น คำเรียกยางเฉพาะในอังกฤษและฮอลแลนด์เท่านั้น\n</p>\n<p></p>\n<p>\n<span style=\"color: #cc99ff\"><span style=\"font-size: 12pt\"><span style=\"color: #cc99ff\">               <img border=\"0\" width=\"40\" src=\"http://i242.photobucket.com/albums/ff298/akapong999/dookdik/moji/flower/17174253.gif\" height=\"40\" />  ประเทศแถบอเมริกาใต้มีการปลูกยางกันมาก จึงได้ค้นพบว่า พันธุ์ยางที่มี</span>คุณภาพดีที่สุดคือยางพันธุ์ซึ่ง โดยมีศูนย์กลางของการซื้อขายยางก็อยู่ที่เมืองท่าชื่อ พารา (Para) บนฝั่งแม่น้ำอเมซอน ประเทศบราซิล ด้วยเหตุดังกล่าว ยางพันธุ์ จึงมีชื่อเรียกอีกอย่างหนึ่งว่า ยางพารา และเป็นชื่อที่ใช้เรียกกันแพร่หลายจนถึงทุกวันนี้</span></span>\n</p>\n<p>\n<span style=\"font-size: 10pt; color: #4f6228; line-height: 115%; font-family: \'Tahoma\',\'sans-serif\'\" lang=\"TH\"><span style=\"font-size: 10pt; color: #4f6228; line-height: 115%; font-family: \'Tahoma\',\'sans-serif\'\" lang=\"TH\"></span><span style=\"font-size: medium; color: #003366\"><strong> </strong></span></span><span style=\"font-size: 10pt; color: #4f6228; line-height: 115%; font-family: \'Tahoma\',\'sans-serif\'\" lang=\"TH\"><span style=\"font-size: 14pt; color: #003366\"><strong><img border=\"0\" width=\"40\" src=\"http://i242.photobucket.com/albums/ff298/akapong999/dookdik/moji/flower/171742460.gif\" height=\"40\" />   ยางพาราในประเทศไทย</strong></span> </span>\n</p>\n<p>\n            <span style=\"font-size: 12pt; color: #4f6228; line-height: 115%; font-family: \'Tahoma\',\'sans-serif\'\" lang=\"TH\">ต้นยางพาราเข้ามาปลูกในประเทศไทย ตั้งแต่สมัยที่ยังใช้ชื่อว่า &quot;สยาม&quot; ประมาณกันว่าควรเป็นหลัง พ.ศ. 2425 ซึ่งช่วงนั้นได้มีการขยายเมล็ดกล้ายางพารา จากพันธุ์ 22 ต้น นำไปปลูกในประเทศต่างๆ ของทวีปเอเชีย และมีหลักฐานเด่นชัดว่า เมื่อ ปี พ.ศ. 2442 พระยารัษฎานุประดิษฐ์มหิศรภักดี (คอซิมบี้ ณ ระนอง) เป็นผู้เหมือนหนึ่ง &quot;บิดาแห่งยาง&quot; เป็นผู้ที่ได้นำต้นยางพารามาปลูกที่อำเภอกันตัง จังหวัดตรัง เป็นครั้งแรก </span>\n</p>\n<p>\n<span style=\"font-size: 12pt; color: #4f6228; line-height: 115%; font-family: \'Tahoma\',\'sans-serif\'\" lang=\"TH\"><span style=\"font-size: 12pt; color: #008080\">             จากนั้น พระยารัษฎานุประดิษฐ์ ได้ส่งคนไปเรียนวิธีปลูกยางเพื่อมาสอนประชาชน นักเรียนของท่านที่ส่งไปก็ล้วนแต่เป็นเจ้าเมือง นายอำเภอ กำนัน และผู้ใหญ่บ้านทั้งสิ้น พร้อมกันนั้นท่านก็สั่งให้กำนัน ผู้ใหญ่บ้าน นำพันธุ์ยางไปแจกจ่าย และส่งเสริมให้ราษฎรปลูกทั่วไป ซึ่งในยุคนั้น อาจกล่าวได้ว่าเป็นยุคตื่นยาง และชาวบ้านเรียกยางพารานี้ว่า “ยางเทศา&quot; </span></span>\n</p>\n<p>\n<span style=\"font-size: 12pt; color: #4f6228; line-height: 115%; font-family: \'Tahoma\',\'sans-serif\'\" lang=\"TH\"><span style=\"font-size: 12pt; color: #008080\">             ต่อมาราษฎรได้นำเข้ามาปลูกเป็นสวนยางมากขึ้นและได้มีการขยายพื้นที่ปลูกยางไปในจังหวัดภาคใต้รวม 14 จังหวัด ตั้งแต่ชุมพรลงไปถึงจังหวัดที่ติดชายแดนประเทศมาเลเซีย จนถึงปัจจุบันประเทศไทยมีพื้นที่ปลูกยางทั้งประเทศประมาณ 12 ล้านไร่ กระจายกันอยู่ในภาคใต้ ภาคตะวันออก และภาคตะวันออกเฉียงเหนือซึ่งเป็นแหล่งปลูกยางใหม่ </span></span>\n</p>\n<p>\n<span style=\"font-size: 12pt; color: #4f6228; line-height: 115%; font-family: \'Tahoma\',\'sans-serif\'\" lang=\"TH\"><span style=\"font-size: 12pt; color: #008080\">             การพัฒนาอุตสาหกรรมยางของประเทศได้เจริญรุดหน้าเรื่อยมาจนทำให้ประเทศไทยเป็นประเทศที่ผลิตและส่งออกยางได้มากที่สุดในโลก ความคิดที่จะนำยางพาราเข้ามาปลูกในประเทศไทย เกิดขึ้นเมื่อ พระยารัษฎานุประดิษฐ์มหิศรภักดีเดินทางไปดูงาน ในประเทศมลายู เห็นชาวมลายูปลูกยางกันมีผลดีมากก็เกิดความสนใจที่จะนำยางเข้ามาปลูกในประเทศไทยบ้าง แต่พันธุ์ยางสมัยนั้น ฝรั่งซึ่งเป็นเจ้าของสวนยาง หวงมาก ทำให้ไม่สามารถนำพันธุ์ยางกลับมาได้ในการเดินทางครั้งนั้น </span></span>\n</p>\n<p><span style=\"font-size: 12pt; color: #4f6228; line-height: 115%; font-family: \'Tahoma\',\'sans-serif\'\" lang=\"TH\"><span style=\"font-size: 12pt; color: #008080\">            จนกระทั่ง พ.ศ. 2444 พระสถลสถานพิทักษ์ เดินทางไปที่ประเทศอินโดเซีย จึงมีโอกาสนำกล้ากลับมาได้ โดยเอากล้ายางมาหุ้มรากด้วยสำลีชุบนน้ำ แล้วหุ้มทับด้วยยกระดาษหนังสือพิมพ์อีกชั้นหนึ่งจึงบรรจุลงลังไม้ฉำฉา ใส่เรือกลไฟซึ่งเป็นเรือส่วนตัวของพระสถลฯ รีบเดินทางกลับประเทศไทยทันที ยางที่นำมาครั้งนี้มีจำนวน ถึง 4 ลัง ด้วยกันพระสถลสถานพิทักษ์ ได้นำมาปลูกไว้ที่บริเวณหน้าบ้านพัก ที่อำเภอกันตัง จังหวัดตรัง ซึ่งปัจจุบันนี้ยังเหลือให้เห็นเป็นหลักฐานเพียงต้นเดียว อยู่บริเวณหน้าสหกรณ์การเกษตรกันตัง และจากยางรุ่นแรกนี้ พระสถลสถานพิทักษ์ ได้ขยายเนื้อที่ปลูกออกไป จนมีเนื้อที่ปลูกประมาณ 45 ไร่ นับได้ว่า พระสถลสถานพิทักษ์ คือผู้เป็นเจ้าของสวนยางคนแรกของประเทศไทย</span><o:p><span style=\"font-size: 12pt; color: #4f6228; line-height: 115%; font-family: \'Tahoma\',\'sans-serif\'\"><o:p><span style=\"font-size: 12pt; color: #4f6228; line-height: 115%; font-family: \'Tahoma\',\'sans-serif\'\"><o:p><span style=\"font-size: 12pt; color: #4f6228; line-height: 115%; font-family: \'Tahoma\',\'sans-serif\'\"><span lang=\"TH\"><span style=\"font-size: 12pt; color: #4f6228; line-height: 115%; font-family: \'Tahoma\',\'sans-serif\'\"><o:p><span lang=\"TH\"><span style=\"color: #800000\"><span style=\"font-size: 12pt; color: #4f6228; line-height: 115%; font-family: \'Tahoma\',\'sans-serif\'\"><o:p> </o:p></span></span></span></o:p></span></span></span></o:p></span></o:p></span></o:p></span><span style=\"font-size: 12pt; color: #4f6228; line-height: 115%; font-family: \'Tahoma\',\'sans-serif\'\" lang=\"TH\"><o:p><span style=\"font-size: 12pt; color: #4f6228; line-height: 115%; font-family: \'Tahoma\',\'sans-serif\'\"><o:p><span style=\"font-size: 12pt; color: #4f6228; line-height: 115%; font-family: \'Tahoma\',\'sans-serif\'\"><o:p><span style=\"font-size: 12pt; color: #4f6228; line-height: 115%; font-family: \'Tahoma\',\'sans-serif\'\"><span lang=\"TH\"><span style=\"font-size: 12pt; color: #4f6228; line-height: 115%; font-family: \'Tahoma\',\'sans-serif\'\"><o:p><span lang=\"TH\"><span style=\"color: #800000\"><span style=\"font-size: 12pt; color: #4f6228; line-height: 115%; font-family: \'Tahoma\',\'sans-serif\'\"><o:p></o:p></span></span></span></o:p></span></span></span></o:p></span></o:p></span></o:p></span></p>\n<div style=\"text-align: center\">\n<span style=\"font-size: 12pt\"><img border=\"0\" width=\"250\" src=\"http://guru.sanook.com/picfront/pedia/5823__26082007045016.jpg\" height=\"373\" style=\"width: 111px; height: 175px\" /></span>\n</div>\n<div style=\"text-align: center\">\n<span style=\"font-size: 12pt\"></span>\n</div>\n<div style=\"text-align: center\">\n<span lang=\"TH\"><span style=\"font-size: 12pt; color: #008080\">พระยารัษฎานุประดิษฐ์มหิศรภักดี (คอซิมบี้ ณ ระนอง)</span></span>\n</div>\n<div style=\"text-align: center\">\n<span lang=\"TH\"></span>\n</div>\n<p><span style=\"font-size: 12pt; color: #4f6228; line-height: 115%; font-family: \'Tahoma\',\'sans-serif\'\"><o:p><span style=\"font-size: 12pt; color: #4f6228; line-height: 115%; font-family: \'Tahoma\',\'sans-serif\'\"><o:p><span style=\"font-size: 12pt; color: #4f6228; line-height: 115%; font-family: \'Tahoma\',\'sans-serif\'\"><o:p><span style=\"font-size: 12pt; color: #4f6228; line-height: 115%; font-family: \'Tahoma\',\'sans-serif\'\"><span lang=\"TH\"><span style=\"font-size: 12pt; color: #4f6228; line-height: 115%; font-family: \'Tahoma\',\'sans-serif\'\"><o:p><span lang=\"TH\"><span style=\"color: #800000\"></span></span></o:p></span></span></span></o:p></span></o:p></span></o:p></span><span style=\"font-size: 12pt; color: #4f6228; line-height: 115%; font-family: \'Tahoma\',\'sans-serif\'\"><o:p><span style=\"font-size: 12pt; color: #4f6228; line-height: 115%; font-family: \'Tahoma\',\'sans-serif\'\"><o:p><span style=\"font-size: 12pt; color: #4f6228; line-height: 115%; font-family: \'Tahoma\',\'sans-serif\'\"><o:p><span style=\"font-size: 12pt; color: #4f6228; line-height: 115%; font-family: \'Tahoma\',\'sans-serif\'\"><span lang=\"TH\"><span style=\"font-size: 12pt; color: #4f6228; line-height: 115%; font-family: \'Tahoma\',\'sans-serif\'\"><o:p><span lang=\"TH\"><span style=\"color: #800000\"></span></span></o:p></span></span></span></o:p></span></o:p></span></o:p></span><span style=\"font-size: 12pt; color: #4f6228; line-height: 115%; font-family: \'Tahoma\',\'sans-serif\'\"><o:p></o:p></span><span style=\"font-size: 12pt\"><b><span style=\"color: #4f6228; font-family: \'Tahoma\',\'sans-serif\'\" lang=\"TH\"> </span></b></span> </p>\n<p align=\"center\">\n<span style=\"font-size: 12pt\"><b><span style=\"color: #4f6228; font-family: \'Tahoma\',\'sans-serif\'\" lang=\"TH\"><img border=\"0\" width=\"630\" src=\"http://i242.photobucket.com/albums/ff298/akapong999/dookdik/linepattern/linenew/049.gif\" height=\"27\" style=\"width: 573px; height: 27px\" /> </span></b></span>\n</p>\n<!--pagebreak--><!--pagebreak--><p>\n<span style=\"font-size: 14pt; color: #993366\"><img border=\"0\" width=\"50\" src=\"http://i242.photobucket.com/albums/ff298/akapong999/dookdik2/cute/065.gif\" height=\"50\" />  ยางพารา</span>\n</p>\n<p>\n<span style=\"font-size: 12pt\"><span style=\"color: #4f6228; font-family: \'Tahoma\',\'sans-serif\'\" lang=\"TH\">           เป็นพอลิเมอร์ธรรมชาติที่มนุษย์นำมาใช้ประโยชน์เป็นเวลานาน น้ำยางสดจากต้นยางมีลักษณะข้นสีขาวคล้ายน้ำนม มีสารหลายชนิดผสมอยู่ด้วยกัน เมื่อทิ้งไว้จะบูดเน่าได้ ถ้าต้องการเก็บน้ำยางดิบไว้เป็นเวลานานจะต้องเติมแอมโมเนียลงไปเพื่อเป็นสารกันบูดและป้องกันการจับตัวของน้ำยางการแยกเนื้อยางจากน้ำยางทำได้โดยเติมกรดบางชนิด เช่น กรดแอซีติก หรือกรดฟอร์มิก (HCOOH) เจือจาง เพื่อทำให้เนื้อยางรวมตัวเป็นก้อนตกตะกอนแยกออกมา โดยทั่วไปน้ำยางสดมีเนื้อยางอยู่ประมาณร้อยละ 25-45 ทั้งนี้ขึ้นกับพันธุ์ยาง</span></span>\n</p>\n<p align=\"center\">\n<span style=\"font-size: 12pt\"><span style=\"color: #4f6228; font-family: \'Tahoma\',\'sans-serif\'\" lang=\"TH\"></span> <img border=\"0\" width=\"300\" src=\"http://www.lib.ru.ac.th/trang/trangtravel/image/yang_first.jpg\" height=\"467\" style=\"width: 199px; height: 217px\" /></span>\n</p>\n<p align=\"center\">\n<span style=\"font-size: 12pt\"><span style=\"font-size: 12pt\"><span style=\"font-size: 12pt\">ต้นยางพาราต้นแรกที่จังหวัดตรัง</span></span></span>\n</p>\n<p align=\"center\">\n<span style=\"font-size: 12pt\"><img border=\"0\" width=\"1\" src=\"http://www.oknation.net/blog/home/blog_data/299/3299/images/para/para112.jpg\" height=\"1\" /><img border=\"0\" width=\"500\" src=\"http://www.oknation.net/blog/home/blog_data/299/3299/images/para/para112.jpg\" height=\"375\" style=\"width: 216px; height: 196px\" /></span>\n</p>\n<p align=\"center\">\n<span style=\"font-size: 12pt\">น้ำยางที่กรีดออกมาจากต้นยางพารา </span>\n</p>\n<p align=\"center\">\n<span style=\"font-size: 12pt\"><img border=\"0\" width=\"400\" src=\"http://www.insee-hiso.com/shop/i/insee-hiso/img-lib/wbp_2006080860131.jpg\" height=\"370\" style=\"width: 224px; height: 202px\" /></span>\n</p>\n<p align=\"center\">\n<span style=\"font-size: 12pt\"></span><span style=\"font-size: 12pt; color: #5f497a; line-height: 115%; font-family: \'Tahoma\',\'sans-serif\'\"><span lang=\"TH\"><span class=\"grame\"><span style=\"font-size: 12pt\">ผลของยางพารา</span></span></span></span>\n</p>\n<p>\n<span style=\"font-size: 12pt; color: #5f497a; line-height: 115%; font-family: \'Tahoma\',\'sans-serif\'\"><span lang=\"TH\"><span class=\"grame\"><span style=\"font-size: 12pt\"></span></span></span></span>\n</p>\n<p><span style=\"font-size: 14pt\"><span style=\"color: #003300\"><strong><img border=\"0\" width=\"50\" src=\"http://i242.photobucket.com/albums/ff298/akapong999/dookdik2/cute/122.gif\" height=\"50\" />  โครงสร้างทางเคมีของยางพารา</strong></span>  </span><span style=\"font-size: 14pt\"><span style=\"color: #003300\"></span></span><span style=\"font-size: 14pt\"></span></p>\n<p>\n<span style=\"font-size: 12pt\"><span style=\"color: #003300\"></span></span>\n</p>\n<p>\n<span style=\"font-size: 12pt\"><span style=\"color: #003300\">                โครงสร้างทางเคมีของเนื้อยางประกอบด้วยมอนอเมอร์ไอโซพรีน (isoprene) ที่เชื่อมต่อกันอยู่ในช่วง 1500 ถึง 15000 หน่วย มีสูตรดังนี้ </span></span>\n</p>\n<p><span style=\"font-size: 12pt\"><span style=\"color: #003300\"><o:p></o:p></span></span></p>\n<p align=\"center\">\n<img border=\"0\" width=\"321\" src=\"http://www.benbest.com/nutrceut/isoprene.jpg\" height=\"259\" style=\"width: 113px; height: 84px\" />\n</p>\n<p></p>\n<p align=\"center\">\nISOPRENE\n</p>\n<p><span style=\"color: #003300\" lang=\"TH\"><span style=\"font-size: 14pt\"><img border=\"0\" width=\"50\" src=\"http://i242.photobucket.com/albums/ff298/akapong999/dookdik2/cute/122.gif\" height=\"50\" />   สมบัติของยาง</span> </span><span style=\"color: #003300\" lang=\"TH\"></span></p>\n<p>\n<span style=\"color: #993300\" lang=\"TH\"><span style=\"font-size: 12pt\">                 สมบัติสำคัญประการหนึ่งของยางคือมีความยืดหยุ่นสูงซึ่งเกิดจากโครงสร้างโมเลกุลของยางที่มีลักษณะม้วนขดไปมาเป็นวงและบิดเป็นเกลียว โดยมีแรงแวนเดอร์วาลส์ยึดเหนี่ยวระหว่างโซ่ของพอลิเมอร์เข้าไว้ด้วยกัน ยางพารามีความต้านทานแรงดึงสูง ทนต่อการขัดถู เป็นฉนวนที่ดีมากทนน้ำ ทนน้ำมันจากพืชและจากสัตว์ แต่ไม่ทนต่อน้ำมันเบนซินและตัวทำละลายอินทรีย์ เมื่อได้รับความร้อนจะเหนียวและอ่อนตัว แต่จะแข็งและเปราะที่อุณหภูมิต่ำกว่าอุณหภูมิห้อง</span></span>\n</p>\n<p align=\"center\">\n<span style=\"color: #993300\" lang=\"TH\"><span style=\"font-size: 12pt\"></span></span>\n</p>\n<p align=\"center\">\n<span style=\"color: #993300\" lang=\"TH\"><span style=\"font-size: 12pt\"><img border=\"0\" width=\"402\" src=\"http://rubber.sc.mahidol.ac.th/rubbertech/tran-1,4-polyisoprene.jpg\" height=\"235\" style=\"width: 208px; height: 120px\" /></span></span>\n</p>\n<p align=\"center\">\n<span style=\"color: #993300\" lang=\"TH\"><span style=\"color: #993300\" lang=\"TH\"><span style=\"font-size: small\">polyisoprene</span></span></span>\n</p>\n<p></p>\n', created = 1729394325, expire = 1729480725, headers = '', serialized = 0 WHERE cid = '3:5647d9d0d1665f69382b6042a102e3b5' in /home/tgv/htdocs/includes/cache.inc on line 112.
  • user warning: Table 'cache_filter' is marked as crashed and should be repaired query: SELECT data, created, headers, expire, serialized FROM cache_filter WHERE cid = '3:5847356e34dc0afb6d6c69cf27987644' in /home/tgv/htdocs/includes/cache.inc on line 27.
  • user warning: Table 'cache_filter' is marked as crashed and should be repaired query: UPDATE cache_filter SET data = '<!--paging_filter--><p>\n<span style=\"font-size: 14pt; color: #993366\"><img border=\"0\" width=\"50\" src=\"http://i242.photobucket.com/albums/ff298/akapong999/dookdik2/cute/065.gif\" height=\"50\" />  ยางพารา</span>\n</p>\n<p>\n<span style=\"font-size: 12pt\"><span style=\"color: #4f6228; font-family: \'Tahoma\',\'sans-serif\'\" lang=\"TH\">           เป็นพอลิเมอร์ธรรมชาติที่มนุษย์นำมาใช้ประโยชน์เป็นเวลานาน น้ำยางสดจากต้นยางมีลักษณะข้นสีขาวคล้ายน้ำนม มีสารหลายชนิดผสมอยู่ด้วยกัน เมื่อทิ้งไว้จะบูดเน่าได้ ถ้าต้องการเก็บน้ำยางดิบไว้เป็นเวลานานจะต้องเติมแอมโมเนียลงไปเพื่อเป็นสารกันบูดและป้องกันการจับตัวของน้ำยางการแยกเนื้อยางจากน้ำยางทำได้โดยเติมกรดบางชนิด เช่น กรดแอซีติก หรือกรดฟอร์มิก (HCOOH) เจือจาง เพื่อทำให้เนื้อยางรวมตัวเป็นก้อนตกตะกอนแยกออกมา โดยทั่วไปน้ำยางสดมีเนื้อยางอยู่ประมาณร้อยละ 25-45 ทั้งนี้ขึ้นกับพันธุ์ยาง</span></span>\n</p>\n<p align=\"center\">\n<span style=\"font-size: 12pt\"><span style=\"color: #4f6228; font-family: \'Tahoma\',\'sans-serif\'\" lang=\"TH\"></span> <img border=\"0\" width=\"300\" src=\"http://www.lib.ru.ac.th/trang/trangtravel/image/yang_first.jpg\" height=\"467\" style=\"width: 199px; height: 217px\" /></span>\n</p>\n<p align=\"center\">\n<span style=\"font-size: 12pt\"><span style=\"font-size: 12pt\"><span style=\"font-size: 12pt\">ต้นยางพาราต้นแรกที่จังหวัดตรัง</span></span></span>\n</p>\n<p align=\"center\">\n<span style=\"font-size: 12pt\"><img border=\"0\" width=\"1\" src=\"http://www.oknation.net/blog/home/blog_data/299/3299/images/para/para112.jpg\" height=\"1\" /><img border=\"0\" width=\"500\" src=\"http://www.oknation.net/blog/home/blog_data/299/3299/images/para/para112.jpg\" height=\"375\" style=\"width: 216px; height: 196px\" /></span>\n</p>\n<p align=\"center\">\n<span style=\"font-size: 12pt\">น้ำยางที่กรีดออกมาจากต้นยางพารา </span>\n</p>\n<p align=\"center\">\n<span style=\"font-size: 12pt\"><img border=\"0\" width=\"400\" src=\"http://www.insee-hiso.com/shop/i/insee-hiso/img-lib/wbp_2006080860131.jpg\" height=\"370\" style=\"width: 224px; height: 202px\" /></span>\n</p>\n<p align=\"center\">\n<span style=\"font-size: 12pt\"></span><span style=\"font-size: 12pt; color: #5f497a; line-height: 115%; font-family: \'Tahoma\',\'sans-serif\'\"><span lang=\"TH\"><span class=\"grame\"><span style=\"font-size: 12pt\">ผลของยางพารา</span></span></span></span>\n</p>\n<p>\n<span style=\"font-size: 12pt; color: #5f497a; line-height: 115%; font-family: \'Tahoma\',\'sans-serif\'\"><span lang=\"TH\"><span class=\"grame\"><span style=\"font-size: 12pt\"></span></span></span></span>\n</p>\n<p><span style=\"font-size: 14pt\"><span style=\"color: #003300\"><strong><img border=\"0\" width=\"50\" src=\"http://i242.photobucket.com/albums/ff298/akapong999/dookdik2/cute/122.gif\" height=\"50\" />  โครงสร้างทางเคมีของยางพารา</strong></span>  </span><span style=\"font-size: 14pt\"><span style=\"color: #003300\"></span></span><span style=\"font-size: 14pt\"></span></p>\n<p>\n<span style=\"font-size: 12pt\"><span style=\"color: #003300\"></span></span>\n</p>\n<p>\n<span style=\"font-size: 12pt\"><span style=\"color: #003300\">                โครงสร้างทางเคมีของเนื้อยางประกอบด้วยมอนอเมอร์ไอโซพรีน (isoprene) ที่เชื่อมต่อกันอยู่ในช่วง 1500 ถึง 15000 หน่วย มีสูตรดังนี้ </span></span>\n</p>\n<p><span style=\"font-size: 12pt\"><span style=\"color: #003300\"><o:p></o:p></span></span></p>\n<p align=\"center\">\n<img border=\"0\" width=\"321\" src=\"http://www.benbest.com/nutrceut/isoprene.jpg\" height=\"259\" style=\"width: 113px; height: 84px\" />\n</p>\n<p></p>\n<p align=\"center\">\nISOPRENE\n</p>\n<p><span style=\"color: #003300\" lang=\"TH\"><span style=\"font-size: 14pt\"><img border=\"0\" width=\"50\" src=\"http://i242.photobucket.com/albums/ff298/akapong999/dookdik2/cute/122.gif\" height=\"50\" />   สมบัติของยาง</span> </span><span style=\"color: #003300\" lang=\"TH\"></span></p>\n<p>\n<span style=\"color: #993300\" lang=\"TH\"><span style=\"font-size: 12pt\">                 สมบัติสำคัญประการหนึ่งของยางคือมีความยืดหยุ่นสูงซึ่งเกิดจากโครงสร้างโมเลกุลของยางที่มีลักษณะม้วนขดไปมาเป็นวงและบิดเป็นเกลียว โดยมีแรงแวนเดอร์วาลส์ยึดเหนี่ยวระหว่างโซ่ของพอลิเมอร์เข้าไว้ด้วยกัน ยางพารามีความต้านทานแรงดึงสูง ทนต่อการขัดถู เป็นฉนวนที่ดีมากทนน้ำ ทนน้ำมันจากพืชและจากสัตว์ แต่ไม่ทนต่อน้ำมันเบนซินและตัวทำละลายอินทรีย์ เมื่อได้รับความร้อนจะเหนียวและอ่อนตัว แต่จะแข็งและเปราะที่อุณหภูมิต่ำกว่าอุณหภูมิห้อง</span></span>\n</p>\n<p align=\"center\">\n<span style=\"color: #993300\" lang=\"TH\"><span style=\"font-size: 12pt\"></span></span>\n</p>\n<p align=\"center\">\n<span style=\"color: #993300\" lang=\"TH\"><span style=\"font-size: 12pt\"><img border=\"0\" width=\"402\" src=\"http://rubber.sc.mahidol.ac.th/rubbertech/tran-1,4-polyisoprene.jpg\" height=\"235\" style=\"width: 208px; height: 120px\" /></span></span>\n</p>\n<p align=\"center\">\n<span style=\"color: #993300\" lang=\"TH\"><span style=\"color: #993300\" lang=\"TH\"><span style=\"font-size: small\">polyisoprene</span></span></span>\n</p>\n<p></p>\n', created = 1729394325, expire = 1729480725, headers = '', serialized = 0 WHERE cid = '3:5847356e34dc0afb6d6c69cf27987644' in /home/tgv/htdocs/includes/cache.inc on line 112.

ยาง

รูปภาพของ wawa05

  ยางพารา

           เป็นพอลิเมอร์ธรรมชาติที่มนุษย์นำมาใช้ประโยชน์เป็นเวลานาน น้ำยางสดจากต้นยางมีลักษณะข้นสีขาวคล้ายน้ำนม มีสารหลายชนิดผสมอยู่ด้วยกัน เมื่อทิ้งไว้จะบูดเน่าได้ ถ้าต้องการเก็บน้ำยางดิบไว้เป็นเวลานานจะต้องเติมแอมโมเนียลงไปเพื่อเป็นสารกันบูดและป้องกันการจับตัวของน้ำยางการแยกเนื้อยางจากน้ำยางทำได้โดยเติมกรดบางชนิด เช่น กรดแอซีติก หรือกรดฟอร์มิก (HCOOH) เจือจาง เพื่อทำให้เนื้อยางรวมตัวเป็นก้อนตกตะกอนแยกออกมา โดยทั่วไปน้ำยางสดมีเนื้อยางอยู่ประมาณร้อยละ 25-45 ทั้งนี้ขึ้นกับพันธุ์ยาง

 

ต้นยางพาราต้นแรกที่จังหวัดตรัง

น้ำยางที่กรีดออกมาจากต้นยางพารา 

ผลของยางพารา

  โครงสร้างทางเคมีของยางพารา 

                โครงสร้างทางเคมีของเนื้อยางประกอบด้วยมอนอเมอร์ไอโซพรีน (isoprene) ที่เชื่อมต่อกันอยู่ในช่วง 1500 ถึง 15000 หน่วย มีสูตรดังนี้

ISOPRENE

   สมบัติของยาง

                 สมบัติสำคัญประการหนึ่งของยางคือมีความยืดหยุ่นสูงซึ่งเกิดจากโครงสร้างโมเลกุลของยางที่มีลักษณะม้วนขดไปมาเป็นวงและบิดเป็นเกลียว โดยมีแรงแวนเดอร์วาลส์ยึดเหนี่ยวระหว่างโซ่ของพอลิเมอร์เข้าไว้ด้วยกัน ยางพารามีความต้านทานแรงดึงสูง ทนต่อการขัดถู เป็นฉนวนที่ดีมากทนน้ำ ทนน้ำมันจากพืชและจากสัตว์ แต่ไม่ทนต่อน้ำมันเบนซินและตัวทำละลายอินทรีย์ เมื่อได้รับความร้อนจะเหนียวและอ่อนตัว แต่จะแข็งและเปราะที่อุณหภูมิต่ำกว่าอุณหภูมิห้อง

polyisoprene

สร้างโดย: 
นางไวยุด๊ะ เหตุเหล๊าะ

มหาวิทยาลัยศรีปทุม ผู้ใหญ่ใจดี
 

 ช่วยด้วยครับ
นักเรียนที่สร้างบล็อก กรุณาอย่า
คัดลอกข้อมูลจากเว็บอื่นทั้งหมด
ควรนำมาจากหลายๆ เว็บ แล้ววิเคราะห์ สังเคราะห์ และเขียนขึ้นใหม่
หากคัดลอกทั้งหมด จะถูกดำเนินคดี
ตามกฎหมายจากเจ้าของลิขสิทธิ์
มีโทษทั้งจำคุกและปรับในอัตราสูง

ช่วยกันนะครับ 
ไทยกู๊ดวิวจะได้อยู่นานๆ 
ไม่ถูกปิดเสียก่อน

ขอขอบคุณในความร่วมมือครับ

อ่านรายละเอียด

ด่วน...... ขณะนี้
พระราชบัญญัติลิขสิทธิ์ (ฉบับที่ 2) พ.ศ. 2558 
มีผลบังคับใช้แล้ว 
ขอให้นักเรียนและคุณครูที่ใช้งาน
เว็บ thaigoodview ในการส่งการบ้าน
ระมัดระวังการละเมิดลิขสิทธิ์ด้วย
อ่านรายละเอียดที่นี่ครับ

 

สมาชิกที่ออนไลน์

ขณะนี้มี สมาชิก 0 คน และ ผู้เยี่ยมชม 399 คน กำลังออนไลน์