• user warning: Table 'cache_filter' is marked as crashed and should be repaired query: SELECT data, created, headers, expire, serialized FROM cache_filter WHERE cid = '3:96e072fa8718af135b7654c5a9d2a402' in /home/tgv/htdocs/includes/cache.inc on line 27.
  • user warning: Table 'cache_filter' is marked as crashed and should be repaired query: UPDATE cache_filter SET data = '<!--paging_filter--><p>\nหน้า1\n</p>\n<p align=\"center\">\n<strong><u>หลักภาษาไทย</u></strong>\n</p>\n<p>\n<br />\n     <strong> ธรรมชาติของภาษา<br />\n</strong>1. ภาษาในความหมายอย่างแคบ คือ ภาษาพูดของคน\n</p>\n<p>\n<br />\n2. ทุกวันนี้ ยังมีอีกหลายภาษาที่ไม่มีภาษาเขียน\n</p>\n<p>\n<br />\n3. แต่ละกลุ่มกำหนดภาษากันเอง เสียงในแต่ละภาษาจึงมีความหมายไม่ตรงกัน\n</p>\n<p>\n<br />\n4. ลักษณะของภาษาทั่ว ๆ ไป<br />\n    1. มีเสียงสระและพยัญชนะ (วรรณยุกต์มีบางภาษาเช่น ไทย,จีน)<br />\n    2. ขยายให้ใหญ่ขึ้นได้<br />\n    3. มีคำนาม, กริยา, คำขยาย<br />\n    4. เปลี่ยนแปลงได้\n</p>\n<p>\n<br />\n5. ภาษาเปลี่ยนแปลงได้ เพราะสาเหตุหลายข้อ เช่น<br />\n    สิ่งแวดล้อมเปลี่ยน เช่น ขายตัว ศักดินา จริต สำส่อน แกล้ง ห่ม<br />\n    การพูด ได้แก่ การกร่อนเสียง และกลมกลืนเสียง<br />\n     -กร่อนเสียง เช่น&quot;หมากพร้าว&quot; กร่อนเป็น&quot;มะพร้าว&quot;<br />\n     -กลมกลืนเสียง เช่น&quot;อย่างไร&quot; กลืนเสียงเป็น &quot;ยังไง&quot;<br />\n    ภาษาต่างประเทศ เช่นสำนวน&quot;ในความคิดของข้าพเจ้า&quot;<br />\n    เด็กออกเสียงเพี้ยน เช่นกะหนม,ไอติม,ป้อ(พ่อ)\n</p>\n<p align=\"center\">\n<strong><u>ภาษาไทย</u></strong>\n</p>\n<p>\n<br />\n1. จุดเด่นภาษาไทย<br />\n    1. ภาษาคำโดด = ไม่มีการเปลี่ยนแปลงรูปของคำ<br />\n    2. การวางคำหลักคำขยาย ในภาษาไทยจะเอาคำหลักขึ้นก่อนแล้วจึงตามด้วยคำขยาย<br />\n        คำหลัก + คำขยาย เช่น ขนมอร่อย<br />\n    3. มีเสียงวรรณยุกต์\n</p>\n<p>\n<br />\n2.สำนวนภาษาต่างประเทศ<br />\n    1.เยิ่นเย้อ ดูได้จากมีคำว่า&quot;มีความ, ให้ความ, ทำการ,ต่อการ, ต่อความ, ซึ่ง&quot; แบบไม่จำเป็นเช่น ครูมีความดีใจมาก<br />\n    2.วางส่วนขยายหน้าคำหลัก เช่น ง่ายแก่ความเข้าใจ\n</p>\n<p>\n<br />\n3.เอาคำว่า &quot;มัน&quot; มาขึ้นประโยคแบบไม่มีความหมาย เช่น มันดีจังเลย\n</p>\n<p>\n<br />\n4. นิยมใช้ Passive Voice (ถูก+Verb)ในความหมายที่ดี เช่น ถูกชมเชย\n</p>\n<p>\n<br />\n5. สำนวนบางสำนวน เช่น ในที่สุด ในอนาคตอันใกล้นี้ ในความคิดของผม พบตัวเอง ใช้ชีวิต\n</p>\n<p>\nหน้า2\n</p>\n<p align=\"center\">\n <strong><u>คำ</u></strong>\n</p>\n<p>\n<strong>1.คำไทยแท้<br />\n</strong>   คำไทยแท้มักจะเป็นคำพยางค์เดียวและสะกดตรงตามมาตรา<br />\n  ยกเว้นบางคำ : <br />\n  1.คำไทยแท้เกิน 1 พยางค์ก็มี<br />\n     - ประ, กระ + คำไทย เช่น ประเดี๋ยว ประหนึ่ง กระดก กระดุม เป็นต้น<br />\n     - คำกร่อนเสียง เช่น มะพร้าว มะม่วง ตะเข้ ระริก<br />\n    คำบางคำ เช่นเสภา ระฆัง<br />\n  2.คำพยางค์เดียวสะกดตรงมาตรบางคำก็ไม่ใช่คำไทย<br />\n    -คำที่ใส่&quot;ำ&quot;(สระอำ) เข้าไปได้เป็นคำเขมร เช่น เกิดกราบ จง แจก ทาย เดิน อวย<br />\n    -คำที่อ่านโดยใส่สระ&quot;ะ&quot;ไปที่ตัวอักษรสุดท้ายได้ เป็นคำบาลี-สันสกฤต เช่น เอก ทาน นาม ชน พระ(วร) โลก กาม ครู\n</p>\n<p>\n<strong>2.คำไทยที่มีควบกล้ำ</strong>มี 11 เสียง คือ<br />\n   กร กล กว ก่อน คร คล คว ค่ำ ปร ปล ไป พร พล พบ ตร เตี่ย\n</p>\n<p>\n<strong>3.คำบาลี - สันสกฤต</strong><br />\n     คำสันสกฤต<br />\n      1.ควบกล้ำ หรือมี รร เช่น ปรโมทย์, วิเคราะห์, ภรรยา<br />\n      2. มี&quot;ศ,ษ,ฤ,ฤา,ฑ,สถ&quot; เช่น ศักดา ฤษี จุฑฑา เสถียร<br />\n      ***คำ &quot;ศ&quot;เป็นภาษาสันสกฤต ยกเว้น ศอก เศิก เศร้า ศึก เป็นคำไทย<br />\n     \n</p>\n<p>\n     คำบาลี    สังเกตจากตัวสะกดและตัวตาม<br />\n      - ถ้าตัวสะกด ตัวตามอยู่ในวรรคเดียวกัน ถือเป็นคำบาลี<br />\n        เช่น มัจฉา รัฏฐา หัตถ์ บุปผา สัมมา<br />\n     \n</p>\n<p>\n     <u>พยัญชนะวรรค<br />\n</u>        ก ก ข ค ฆ ง<br />\n        จ จ ฉ ช ฌ ญ<br />\n        ฎ ฎ ฐ ฑ ฒ ณ<br />\n        ต ต ถ ท ธ น<br />\n        ป ป ผ พ ภ ม<br />\n     <u>เศษวรรค</u> ย ร ล ว ส ห ฬ อ\n</p>\n<p>\n<br />\n<strong>4.คำเขมร</strong>  คำเขมรสังเกตจาก<br />\n    1. คำนั้นแผลง &quot; ำ&quot; เข้าไปได้ เช่น<br />\n        กราบ &gt; กำราบ เกิด &gt; กำเนิด เจริญ &gt; จำเริญ<br />\n        จอง(จำนอง) ชาญ(ชำนาญ) ตรวจ(ตำรวจ) เสร็จ(สำเร็จ) อาจ(อำนาจ) แข็ง(กำแหง) ตรง(ดำรง) ตรัส(ดำรัส)ทรุด(ชำรุด)         เปรอ(บำเรอ)<br />\n    2.คำนั้นเอาคำว่า บำ,บัง,,บรร นำหน้าได้ เช่น<br />\n       เพ็ญ &gt; บำเพ็ญ บำราศ บำบัด บรรจง บรรทม<br />\n \n</p>\n<p>\n    คำต่อไปนี้เป็นคำเขมร<br />\n    - ขจาย ขจร ขจอก ขดาน ขจัด ขจบ<br />\n    - เสด็จ เสวย บรรทม โปรด<br />\n    - ถนน กระทรวง ทบวง ทหาร ทลาย แถง โถง<br />\n    - ขนม สนุด นาน สนิม<br />\n<strong> </strong>\n</p>\n<p>\n<strong>5.คำภาษาอื่น ๆ</strong><br />\n   ภาษาทมิฬ เช่น ตะกั่ว อาจาด สาเก กุลี\n</p>\n<p>\n<br />\n   ภาษาชวา+ มลายู เช่น บุหลัน บุหงา บุหรง ทุเรียน น้อยหน่า มังคุด มะละกอ โสร่ง สลัด กริช\n</p>\n<p>\n   ภาษาโปรตุเกส เช่น สบู่ ปิ่นโต เหรียญ กาละแม\n</p>\n<p>\n   ภาษาเปอร์เชีย เช่นกุหลาย ตรา ชุกชี\n</p>\n<p>\n&nbsp;\n</p>\n<p align=\"center\">\n<strong><u>เสียงในภาษาไทย</u></strong>\n</p>\n<p>\n<br />\n<strong>1. อักษรควบ - อักษรนำ</strong>\n</p>\n<p><strong></strong></p>\n<p>\n<br />\n     <strong>อักษรควบ</strong> มี 2 แบบ คือ<br />\n     ควบแท้ -&gt; ออกเสียงพยัญชนะต้นทั้ง 2 เสียง เช่น ปลา ครีม เป็นต้น<br />\n     ควบไม่แท้ -&gt; ออกเสียงพยัญชนะต้นตัวแรกตัวเดียว มี 2 กรณี ดังนี้<br />\n     - แสร้ง จริง เศรษฐี เศร้า<br />\n     - ออกเสียง ทร เป็นซ เช่น ไทร ทราย ทรุด\n</p>\n<p></p>\n<p>\n<br />\n<strong>     อักษรนำ</strong> คือ คำที่<br />\n     - อ่านหรือเขียนแบบ มี &quot;ห&quot; นำพยัญชนะต้นอีกตัว เช่น หลอก หรู หนี หวาด ตลาด(ตะ-หลาด) ปรอท(ปะ-หรอด) ตลก(ตะ-หลก)         เรก(ดิ-เหรก)<br />\n     - รวมทั้งคำว่า &quot; อย่า อยู่ อย่าง อยาก&quot;\n</p>\n<p>\n<br />\n<strong>2.เสียงพยัญชนะต้น</strong><br />\n    เสียงพยัญชนะต้น &gt; เสียงที่นำเสียงสระ\n</p>\n<p>\n<br />\n   <strong> เสียงพยัญชนะต้น</strong> มีอยู่ 2 ประเภท คือ<br />\n    1. เสียงพยัญชนะเดี่ยว = ออกเสียงเสียงพยัญชนะต้นเสียงเดียว เช่น มา วิน ตี นุก หมู<br />\n    มีนิดนึงที่ระวัง * <br />\n    - เสียง ร ไม่เหมือนกับเสียง ล<br />\n    - ฤ ออกเสียงว่า รึ<br />\n    - ท ธ ฑ ฒ ถ ฐ ออกเสียงตรงกันว่า ท<br />\n    - พวกอักษรนำ จะออกเฉพาะเสียงเสียงพยัญชนะตัวหลัง(ไม่ออกเสียง&quot;ห&quot;หรือ&quot;อ&quot;ในพยัญชนะต้นตัวแรกนะ เช่น หรู (ออก&quot;ร&quot; ไม่ออก&quot;ห&quot;), หมี (ออก&quot;ม&quot;ไม่ออก&quot;ห&quot;) อยาก(ออก&quot;ย&quot; ไม่ออก&quot;อ&quot;)<br />\n   \n</p>\n<p>\n     2.เสียงพยัญชนะประสม ออกเสียงเสียงพยัญชนะต้นสองเสียงควบกัน เช่น กราบ ความ ปราม ไตร<br />\n       ลองทวนอีกนิดนึงนะ<br />\n    - ผิ ออกเสียงพยัญชนะต้น 1 เสียง คือ /ผ/<br />\n    - ผลิ ออกเสียงพยัญชนะต้น 1 เสียง คือ /ผล/<br />\n    - ผลิต ออกเสียงพยัญชนะต้น 2 เสียง คือ /ผ/ , /ล/ (คือเวลาออกต้องแยกว่า ผะ-หลิด)\n</p>\n<p>\n<strong>3.เสียงพยัญชนะตัวสะกด</strong> (พยัญชนะท้าย)<br />\nเสียงพยัญชนะท้าย = เสียงพยัญชนะที่อยู่หบังเสียงสระ\n</p>\n<p>\nเสียงพยัญชนะท้าย มี 8 เสียง คือ<br />\nแม่กก แทนด้วยเสียง /ก/ แม่กด แทนด้วยเสียง /ต/ แม่กบ แทนด้วยเสียง /ป/ แม่กม แทนด้วยเสียง /ม/ แม่กน แทนด้วยเสียง /น/ แม่กง แทนด้วยเสียง /ง/ แม่เกย แทนด้วยเสียง /ย/ แม่เกอว แทนด้วยเสียง /ว/<br />\nเช่น นาค เสียงพยัญชนะท้าย ช /ก/ รด เสียงพยัญชนะท้าย = /ต/<br />\nมีที่ต้องระวังนิดนึง<br />\n  1. อำ ออกเสียงคือ อะ + ะ + ม ไอ,ใอ ออกเสียงคือ อะ +ะ + ย เอา ออกเสียง คือ อะ+ะ+ว<br />\n      มีตัวสะกดทั้ง 4 เสียงเลยนะ<br />\n      เช่น น้ำ มีเสียงตัวสะกดคือ /ม/ ไฟ /ย/ เก่า /ว/<br />\n   2.บางคำดูเหมือนมีตัวสะกด แต่จริง ๆ คือรูปสระ ไม่ใช่ตัวสะกด เช่น ผัว เบื่อ เมีย ล่อ เสือ ชื่อ คำพวกนี้ไม่มีเสียงตัวสะกด<br />\n      ลองทวนอีกที<br />\n      ลองหาเสียงพยัญชนะตัวสะกดในคำต่อไปนี้ดู &quot;เจ้าหญิงคือผู้ที่ข้าต้องการ&quot;<br />\n      เฉลย ว ง - - - - ง น\n</p>\n<p>\n<strong>4.เสียงสระ<br />\n</strong>  1.เสียงสระสั้น ยาวให้ดูตอนที่ออกเสียงอย่าดูที่รูปเช่น<br />\n     วัด ออกเสียงสระสั้น ช่าง สระสั้น เท้า สระยาว เน่า สระสั้น น้ำ สระยาว ช้ำ สระสั้น<br />\n \n</p>\n<p>\n  2.เสียงสระ มี 2 ประเภท คือ<br />\n     สระประสม มี 6 เสียง คือ อัวะ อัว เอือะ เอือ เอียะ เอีย<br />\n     สระเดี่ยว มี 18 เสียง คือ สระที่ไม่ใช่ อัวะ อัว เอือะ เอือ เอียะ เอีย\n</p>\n<p>\n<br />\n<strong>5.เสียงวรรณยุกต์</strong> มี 5 ระดับ คือ สามัญ เอก โท ตรี จัตวา\n</p>\n<p>\n<br />\n<strong>6.พยางค์</strong> คือ เสียงที่ออกมา 1 ตรั้ง มี 2 ประเภท คือ\n</p>\n<p>\n<br />\n    พยางค์เปิด พยางค์ที่ไม่มีตัวสะกด เช่น เธอ มา ลา สู่\n</p>\n<p>\n<br />\n    พยางค์ปิด พยางค์ที่มีเสียงตัวสะกด เช่น ไป รบ กับ เขา\n</p>\n<p>\n<br />\n<strong>ในข้อสอบ Ent</strong><br />\n   @เวลาเขาถามถึง โครงสร้างของพยางค์ = องค์ประกอบของพยางค์ ให้ดูจากองค์ประกอบเสียงที่ออกมา คือ พยัญชนะ สระวรรณยุกต์ ตัวสะกด<br />\n   @ถ้าเขาถามว่ามีโครงสร้างพยางค์ต่างกันไหม ให้เช็คไล่จาก<br />\n   1. มีตัวสะกดไหม เช่น กางมี&quot;ง&quot;เป็นตัวสะกด แต่ กาไม่มีตัวสะกด<br />\n.  .โครงสร้างพยางค์ของ 2 คำนี้จะต่างกัน<br />\n   2.เสียงพยัญชนะต้นเป็นเดี่ยว(พยัญชนะออกเสียงเดียว)หรือควบ(พยัญชนะต้น 2 เสียง)<br />\nเช่น แสร้ง กับ เชี่ยว มีเสียงพยัญชนะต้นเป็นเสียงเดียวทั้งคู่<br />\n..โครงสร้างพยางค์เหมือนกัน<br />\n   3. เสียงวรรณยุกต์ตรงกันไหม เช่น ท้า กับ ท่า มีเสียงวรรณยุกต์ต่างกัน<br />\n..โครงสร้างพยางค์ค่างกัน<br />\n  4. เสียงสระสั้นยาวเท่ากันไหม เช่นช้าวออกเสียงสระยาว แต่ ตั้ง ออกเสียงสระสั้น<br />\n...โครงสร้างพยางค์ต่างกัน\n</p>\n<p>\n<br />\n<strong>7.เสียงหนักเบา<br />\n</strong>เสียงหนักเบาในวรรณคดีประเภทฉันท์<br />\n@ เราเรียกเสียงหนักว่า ครู ( ั) เรียกเสียงเยา ว่า ลหุ ( ุ )<br />\n@ คำครุ-ลหุ<br />\n   - ครุ คำที่มีเสียงตัวสะกดหรือไม่มีตัวสะกด แต่ออกเสียงสระยาว เช่น เบิร์ด ฟลุด คูณสาม ทาทา มาช่า ซาซ่า โมเม บับเบิ้ลเกิร์ล โดม\n</p>\n<p>\n   - ลหุ คำที่ไม่มีเสียงตัวสะกด + สระเสียงสั้น เช่น เต๊ะ โป๊ะเชะ มะตะบะ\n</p>\n<p>\n<br />\n   เสียงหนักเบาเวลาเราพูด<br />\n   เช่น กะปิ เวลาเราพูดเราจะเน้นเสียง ปิ ชัดชัด<br />\n   จำปา เวลาเราพูดเราจะเน้นเสียง จำ, ปา ชัดทั้งคู่<br />\n   โมเม เวลาเราพูดเราจะเน้นเสียง โม, เม ชัดทั้งคู่<br />\n   นิโคล เวลาเราพูดเราจะเน้นเสียง โคล ชัดชัด\n</p>\n<p>\n<br />\n<strong>8.อักษร 3 หมู่<br />\n</strong>อักษรสูง มี 11 ตัว ได้ แก่ ข ฃ ฉ ถ ผ ฝ ศ ษ ส ห<br />\nอักษรกลาง มี 9 ตัว ก ฎ ฏ ด ต บ ป อ<br />\nอักษรต่ำ มี 24 ตัว ได้แก่ ค ฅ ฆ ง ช ซ ฌ ญ ฑ ฒ ณ ท ธ น พ ฟ ภ ม ย ร ล ว ฬ ฮ<br />\n**อักษรสูงกลางต่ำหมายถึง ตัวอักษรที่เป็นพยัญชนะต้นทั้งหมดในคำนั้น ๆ เช่น<br />\n-ไว มีรูปอักษรต่ำ 1 ตัว คือ ว <br />\n- กลาย มีรูปอักษรกลาง 1 ตัว คือ ก รูปอักษรต่ำ 1 ตัวคือ ล (เพราะในที่นี้รูปพยัญชนะต้นมี 2 ตัว คือ ก กับ ล)\n</p>\n<p>\nหน้า3 </p>\n<!--pagebreak--><!--pagebreak-->\n<p>\nหน้า4 </p>\n<!--pagebreak--><!--pagebreak-->\n<p>\nหน้า5 </p>\n<!--pagebreak--><!--pagebreak-->\n<p>\nหน้า6 </p>\n<!--pagebreak--><!--pagebreak-->\n<p>\nหน้า7 </p>\n<!--pagebreak--><!--pagebreak-->\n<p>\nหน้า8 </p>\n<!--pagebreak--><!--pagebreak-->\n<p>\nหน้า9 </p>\n<!--pagebreak--><!--pagebreak-->\n<p>\nหน้า10 </p>\n<!--pagebreak--><!--pagebreak-->\n<p>\nหน้า11 </p>\n<!--pagebreak--><!--pagebreak-->\n<p>\nหน้า12 </p>\n<!--pagebreak--><!--pagebreak-->\n<p>\nหน้า13 </p>\n<!--pagebreak--><!--pagebreak-->\n<p>\nหน้า14 </p>\n<!--pagebreak--><!--pagebreak-->\n<p>\nหน้า15 </p>\n<!--pagebreak--><!--pagebreak-->\n<p>\nหน้า16 </p>\n<!--pagebreak--><!--pagebreak-->\n<p>\nหน้า17 </p>\n<!--pagebreak--><!--pagebreak-->\n<p>\nหน้า18 </p>\n<!--pagebreak--><!--pagebreak-->\n<p>\nหน้า19 </p>\n<!--pagebreak--><!--pagebreak-->\n<p>\nหน้า20 </p>\n<!--pagebreak--><!--pagebreak-->\n<p>\nหน้า21 </p>\n<!--pagebreak--><!--pagebreak-->\n<p>\nหน้า22 </p>\n<!--pagebreak--><!--pagebreak-->\n<p>\nหน้า23 </p>\n<!--pagebreak--><!--pagebreak-->\n<p>\nหน้า24 </p>\n<!--pagebreak--><!--pagebreak-->\n<p>\nหน้า25 </p>\n<!--pagebreak--><!--pagebreak-->\n<p>\nหน้า26 </p>\n<!--pagebreak--><!--pagebreak-->\n<p>\nหน้า27 </p>\n<!--pagebreak--><!--pagebreak-->\n<p>\nหน้า28 </p>\n<!--pagebreak--><!--pagebreak-->\n<p>\nหน้า29 </p>\n<!--pagebreak--><!--pagebreak-->\n<p>\nหน้า30\n</p>\n<p>\n&nbsp;\n</p>\n', created = 1715736820, expire = 1715823220, headers = '', serialized = 0 WHERE cid = '3:96e072fa8718af135b7654c5a9d2a402' in /home/tgv/htdocs/includes/cache.inc on line 112.
  • user warning: Table 'cache_filter' is marked as crashed and should be repaired query: SELECT data, created, headers, expire, serialized FROM cache_filter WHERE cid = '3:851d56ba450cd07d2a3bc6e3117f3eb7' in /home/tgv/htdocs/includes/cache.inc on line 27.
  • user warning: Table 'cache_filter' is marked as crashed and should be repaired query: UPDATE cache_filter SET data = '<!--paging_filter--><p>\nหน้า1\n</p>\n<p align=\"center\">\n<strong><u>หลักภาษาไทย</u></strong>\n</p>\n<p>\n<br />\n     <strong> ธรรมชาติของภาษา<br />\n</strong>1. ภาษาในความหมายอย่างแคบ คือ ภาษาพูดของคน\n</p>\n<p>\n<br />\n2. ทุกวันนี้ ยังมีอีกหลายภาษาที่ไม่มีภาษาเขียน\n</p>\n<p>\n<br />\n3. แต่ละกลุ่มกำหนดภาษากันเอง เสียงในแต่ละภาษาจึงมีความหมายไม่ตรงกัน\n</p>\n<p>\n<br />\n4. ลักษณะของภาษาทั่ว ๆ ไป<br />\n    1. มีเสียงสระและพยัญชนะ (วรรณยุกต์มีบางภาษาเช่น ไทย,จีน)<br />\n    2. ขยายให้ใหญ่ขึ้นได้<br />\n    3. มีคำนาม, กริยา, คำขยาย<br />\n    4. เปลี่ยนแปลงได้\n</p>\n<p>\n<br />\n5. ภาษาเปลี่ยนแปลงได้ เพราะสาเหตุหลายข้อ เช่น<br />\n    สิ่งแวดล้อมเปลี่ยน เช่น ขายตัว ศักดินา จริต สำส่อน แกล้ง ห่ม<br />\n    การพูด ได้แก่ การกร่อนเสียง และกลมกลืนเสียง<br />\n     -กร่อนเสียง เช่น&quot;หมากพร้าว&quot; กร่อนเป็น&quot;มะพร้าว&quot;<br />\n     -กลมกลืนเสียง เช่น&quot;อย่างไร&quot; กลืนเสียงเป็น &quot;ยังไง&quot;<br />\n    ภาษาต่างประเทศ เช่นสำนวน&quot;ในความคิดของข้าพเจ้า&quot;<br />\n    เด็กออกเสียงเพี้ยน เช่นกะหนม,ไอติม,ป้อ(พ่อ)\n</p>\n<p align=\"center\">\n<strong><u>ภาษาไทย</u></strong>\n</p>\n<p>\n<br />\n1. จุดเด่นภาษาไทย<br />\n    1. ภาษาคำโดด = ไม่มีการเปลี่ยนแปลงรูปของคำ<br />\n    2. การวางคำหลักคำขยาย ในภาษาไทยจะเอาคำหลักขึ้นก่อนแล้วจึงตามด้วยคำขยาย<br />\n        คำหลัก + คำขยาย เช่น ขนมอร่อย<br />\n    3. มีเสียงวรรณยุกต์\n</p>\n<p>\n<br />\n2.สำนวนภาษาต่างประเทศ<br />\n    1.เยิ่นเย้อ ดูได้จากมีคำว่า&quot;มีความ, ให้ความ, ทำการ,ต่อการ, ต่อความ, ซึ่ง&quot; แบบไม่จำเป็นเช่น ครูมีความดีใจมาก<br />\n    2.วางส่วนขยายหน้าคำหลัก เช่น ง่ายแก่ความเข้าใจ\n</p>\n<p>\n<br />\n3.เอาคำว่า &quot;มัน&quot; มาขึ้นประโยคแบบไม่มีความหมาย เช่น มันดีจังเลย\n</p>\n<p>\n<br />\n4. นิยมใช้ Passive Voice (ถูก+Verb)ในความหมายที่ดี เช่น ถูกชมเชย\n</p>\n<p>\n<br />\n5. สำนวนบางสำนวน เช่น ในที่สุด ในอนาคตอันใกล้นี้ ในความคิดของผม พบตัวเอง ใช้ชีวิต\n</p>\n<p>\nหน้า2\n</p>\n<p align=\"center\">\n <strong><u>คำ</u></strong>\n</p>\n<p>\n<strong>1.คำไทยแท้<br />\n</strong>   คำไทยแท้มักจะเป็นคำพยางค์เดียวและสะกดตรงตามมาตรา<br />\n  ยกเว้นบางคำ : <br />\n  1.คำไทยแท้เกิน 1 พยางค์ก็มี<br />\n     - ประ, กระ + คำไทย เช่น ประเดี๋ยว ประหนึ่ง กระดก กระดุม เป็นต้น<br />\n     - คำกร่อนเสียง เช่น มะพร้าว มะม่วง ตะเข้ ระริก<br />\n    คำบางคำ เช่นเสภา ระฆัง<br />\n  2.คำพยางค์เดียวสะกดตรงมาตรบางคำก็ไม่ใช่คำไทย<br />\n    -คำที่ใส่&quot;ำ&quot;(สระอำ) เข้าไปได้เป็นคำเขมร เช่น เกิดกราบ จง แจก ทาย เดิน อวย<br />\n    -คำที่อ่านโดยใส่สระ&quot;ะ&quot;ไปที่ตัวอักษรสุดท้ายได้ เป็นคำบาลี-สันสกฤต เช่น เอก ทาน นาม ชน พระ(วร) โลก กาม ครู\n</p>\n<p>\n<strong>2.คำไทยที่มีควบกล้ำ</strong>มี 11 เสียง คือ<br />\n   กร กล กว ก่อน คร คล คว ค่ำ ปร ปล ไป พร พล พบ ตร เตี่ย\n</p>\n<p>\n<strong>3.คำบาลี - สันสกฤต</strong><br />\n     คำสันสกฤต<br />\n      1.ควบกล้ำ หรือมี รร เช่น ปรโมทย์, วิเคราะห์, ภรรยา<br />\n      2. มี&quot;ศ,ษ,ฤ,ฤา,ฑ,สถ&quot; เช่น ศักดา ฤษี จุฑฑา เสถียร<br />\n      ***คำ &quot;ศ&quot;เป็นภาษาสันสกฤต ยกเว้น ศอก เศิก เศร้า ศึก เป็นคำไทย<br />\n     \n</p>\n<p>\n     คำบาลี    สังเกตจากตัวสะกดและตัวตาม<br />\n      - ถ้าตัวสะกด ตัวตามอยู่ในวรรคเดียวกัน ถือเป็นคำบาลี<br />\n        เช่น มัจฉา รัฏฐา หัตถ์ บุปผา สัมมา<br />\n     \n</p>\n<p>\n     <u>พยัญชนะวรรค<br />\n</u>        ก ก ข ค ฆ ง<br />\n        จ จ ฉ ช ฌ ญ<br />\n        ฎ ฎ ฐ ฑ ฒ ณ<br />\n        ต ต ถ ท ธ น<br />\n        ป ป ผ พ ภ ม<br />\n     <u>เศษวรรค</u> ย ร ล ว ส ห ฬ อ\n</p>\n<p>\n<br />\n<strong>4.คำเขมร</strong>  คำเขมรสังเกตจาก<br />\n    1. คำนั้นแผลง &quot; ำ&quot; เข้าไปได้ เช่น<br />\n        กราบ &gt; กำราบ เกิด &gt; กำเนิด เจริญ &gt; จำเริญ<br />\n        จอง(จำนอง) ชาญ(ชำนาญ) ตรวจ(ตำรวจ) เสร็จ(สำเร็จ) อาจ(อำนาจ) แข็ง(กำแหง) ตรง(ดำรง) ตรัส(ดำรัส)ทรุด(ชำรุด)         เปรอ(บำเรอ)<br />\n    2.คำนั้นเอาคำว่า บำ,บัง,,บรร นำหน้าได้ เช่น<br />\n       เพ็ญ &gt; บำเพ็ญ บำราศ บำบัด บรรจง บรรทม<br />\n \n</p>\n<p>\n    คำต่อไปนี้เป็นคำเขมร<br />\n    - ขจาย ขจร ขจอก ขดาน ขจัด ขจบ<br />\n    - เสด็จ เสวย บรรทม โปรด<br />\n    - ถนน กระทรวง ทบวง ทหาร ทลาย แถง โถง<br />\n    - ขนม สนุด นาน สนิม<br />\n<strong> </strong>\n</p>\n<p>\n<strong>5.คำภาษาอื่น ๆ</strong><br />\n   ภาษาทมิฬ เช่น ตะกั่ว อาจาด สาเก กุลี\n</p>\n<p>\n<br />\n   ภาษาชวา+ มลายู เช่น บุหลัน บุหงา บุหรง ทุเรียน น้อยหน่า มังคุด มะละกอ โสร่ง สลัด กริช\n</p>\n<p>\n   ภาษาโปรตุเกส เช่น สบู่ ปิ่นโต เหรียญ กาละแม\n</p>\n<p>\n   ภาษาเปอร์เชีย เช่นกุหลาย ตรา ชุกชี\n</p>\n<p>\n&nbsp;\n</p>\n<p align=\"center\">\n<strong><u>เสียงในภาษาไทย</u></strong>\n</p>\n<p>\n<br />\n<strong>1. อักษรควบ - อักษรนำ</strong>\n</p>\n<p><strong></strong></p>\n<p>\n<br />\n     <strong>อักษรควบ</strong> มี 2 แบบ คือ<br />\n     ควบแท้ -&gt; ออกเสียงพยัญชนะต้นทั้ง 2 เสียง เช่น ปลา ครีม เป็นต้น<br />\n     ควบไม่แท้ -&gt; ออกเสียงพยัญชนะต้นตัวแรกตัวเดียว มี 2 กรณี ดังนี้<br />\n     - แสร้ง จริง เศรษฐี เศร้า<br />\n     - ออกเสียง ทร เป็นซ เช่น ไทร ทราย ทรุด\n</p>\n<p></p>\n<p>\n<br />\n<strong>     อักษรนำ</strong> คือ คำที่<br />\n     - อ่านหรือเขียนแบบ มี &quot;ห&quot; นำพยัญชนะต้นอีกตัว เช่น หลอก หรู หนี หวาด ตลาด(ตะ-หลาด) ปรอท(ปะ-หรอด) ตลก(ตะ-หลก)         เรก(ดิ-เหรก)<br />\n     - รวมทั้งคำว่า &quot; อย่า อยู่ อย่าง อยาก&quot;\n</p>\n<p>\n<br />\n<strong>2.เสียงพยัญชนะต้น</strong><br />\n    เสียงพยัญชนะต้น &gt; เสียงที่นำเสียงสระ\n</p>\n<p>\n<br />\n   <strong> เสียงพยัญชนะต้น</strong> มีอยู่ 2 ประเภท คือ<br />\n    1. เสียงพยัญชนะเดี่ยว = ออกเสียงเสียงพยัญชนะต้นเสียงเดียว เช่น มา วิน ตี นุก หมู<br />\n    มีนิดนึงที่ระวัง * <br />\n    - เสียง ร ไม่เหมือนกับเสียง ล<br />\n    - ฤ ออกเสียงว่า รึ<br />\n    - ท ธ ฑ ฒ ถ ฐ ออกเสียงตรงกันว่า ท<br />\n    - พวกอักษรนำ จะออกเฉพาะเสียงเสียงพยัญชนะตัวหลัง(ไม่ออกเสียง&quot;ห&quot;หรือ&quot;อ&quot;ในพยัญชนะต้นตัวแรกนะ เช่น หรู (ออก&quot;ร&quot; ไม่ออก&quot;ห&quot;), หมี (ออก&quot;ม&quot;ไม่ออก&quot;ห&quot;) อยาก(ออก&quot;ย&quot; ไม่ออก&quot;อ&quot;)<br />\n   \n</p>\n<p>\n     2.เสียงพยัญชนะประสม ออกเสียงเสียงพยัญชนะต้นสองเสียงควบกัน เช่น กราบ ความ ปราม ไตร<br />\n       ลองทวนอีกนิดนึงนะ<br />\n    - ผิ ออกเสียงพยัญชนะต้น 1 เสียง คือ /ผ/<br />\n    - ผลิ ออกเสียงพยัญชนะต้น 1 เสียง คือ /ผล/<br />\n    - ผลิต ออกเสียงพยัญชนะต้น 2 เสียง คือ /ผ/ , /ล/ (คือเวลาออกต้องแยกว่า ผะ-หลิด)\n</p>\n<p>\n<strong>3.เสียงพยัญชนะตัวสะกด</strong> (พยัญชนะท้าย)<br />\nเสียงพยัญชนะท้าย = เสียงพยัญชนะที่อยู่หบังเสียงสระ\n</p>\n<p>\nเสียงพยัญชนะท้าย มี 8 เสียง คือ<br />\nแม่กก แทนด้วยเสียง /ก/ แม่กด แทนด้วยเสียง /ต/ แม่กบ แทนด้วยเสียง /ป/ แม่กม แทนด้วยเสียง /ม/ แม่กน แทนด้วยเสียง /น/ แม่กง แทนด้วยเสียง /ง/ แม่เกย แทนด้วยเสียง /ย/ แม่เกอว แทนด้วยเสียง /ว/<br />\nเช่น นาค เสียงพยัญชนะท้าย ช /ก/ รด เสียงพยัญชนะท้าย = /ต/<br />\nมีที่ต้องระวังนิดนึง<br />\n  1. อำ ออกเสียงคือ อะ + ะ + ม ไอ,ใอ ออกเสียงคือ อะ +ะ + ย เอา ออกเสียง คือ อะ+ะ+ว<br />\n      มีตัวสะกดทั้ง 4 เสียงเลยนะ<br />\n      เช่น น้ำ มีเสียงตัวสะกดคือ /ม/ ไฟ /ย/ เก่า /ว/<br />\n   2.บางคำดูเหมือนมีตัวสะกด แต่จริง ๆ คือรูปสระ ไม่ใช่ตัวสะกด เช่น ผัว เบื่อ เมีย ล่อ เสือ ชื่อ คำพวกนี้ไม่มีเสียงตัวสะกด<br />\n      ลองทวนอีกที<br />\n      ลองหาเสียงพยัญชนะตัวสะกดในคำต่อไปนี้ดู &quot;เจ้าหญิงคือผู้ที่ข้าต้องการ&quot;<br />\n      เฉลย ว ง - - - - ง น\n</p>\n<p>\n<strong>4.เสียงสระ<br />\n</strong>  1.เสียงสระสั้น ยาวให้ดูตอนที่ออกเสียงอย่าดูที่รูปเช่น<br />\n     วัด ออกเสียงสระสั้น ช่าง สระสั้น เท้า สระยาว เน่า สระสั้น น้ำ สระยาว ช้ำ สระสั้น<br />\n \n</p>\n<p>\n  2.เสียงสระ มี 2 ประเภท คือ<br />\n     สระประสม มี 6 เสียง คือ อัวะ อัว เอือะ เอือ เอียะ เอีย<br />\n     สระเดี่ยว มี 18 เสียง คือ สระที่ไม่ใช่ อัวะ อัว เอือะ เอือ เอียะ เอีย\n</p>\n<p>\n<br />\n<strong>5.เสียงวรรณยุกต์</strong> มี 5 ระดับ คือ สามัญ เอก โท ตรี จัตวา\n</p>\n<p>\n<br />\n<strong>6.พยางค์</strong> คือ เสียงที่ออกมา 1 ตรั้ง มี 2 ประเภท คือ\n</p>\n<p>\n<br />\n    พยางค์เปิด พยางค์ที่ไม่มีตัวสะกด เช่น เธอ มา ลา สู่\n</p>\n<p>\n<br />\n    พยางค์ปิด พยางค์ที่มีเสียงตัวสะกด เช่น ไป รบ กับ เขา\n</p>\n<p>\n<br />\n<strong>ในข้อสอบ Ent</strong><br />\n   @เวลาเขาถามถึง โครงสร้างของพยางค์ = องค์ประกอบของพยางค์ ให้ดูจากองค์ประกอบเสียงที่ออกมา คือ พยัญชนะ สระวรรณยุกต์ ตัวสะกด<br />\n   @ถ้าเขาถามว่ามีโครงสร้างพยางค์ต่างกันไหม ให้เช็คไล่จาก<br />\n   1. มีตัวสะกดไหม เช่น กางมี&quot;ง&quot;เป็นตัวสะกด แต่ กาไม่มีตัวสะกด<br />\n.  .โครงสร้างพยางค์ของ 2 คำนี้จะต่างกัน<br />\n   2.เสียงพยัญชนะต้นเป็นเดี่ยว(พยัญชนะออกเสียงเดียว)หรือควบ(พยัญชนะต้น 2 เสียง)<br />\nเช่น แสร้ง กับ เชี่ยว มีเสียงพยัญชนะต้นเป็นเสียงเดียวทั้งคู่<br />\n..โครงสร้างพยางค์เหมือนกัน<br />\n   3. เสียงวรรณยุกต์ตรงกันไหม เช่น ท้า กับ ท่า มีเสียงวรรณยุกต์ต่างกัน<br />\n..โครงสร้างพยางค์ค่างกัน<br />\n  4. เสียงสระสั้นยาวเท่ากันไหม เช่นช้าวออกเสียงสระยาว แต่ ตั้ง ออกเสียงสระสั้น<br />\n...โครงสร้างพยางค์ต่างกัน\n</p>\n<p>\n<br />\n<strong>7.เสียงหนักเบา<br />\n</strong>เสียงหนักเบาในวรรณคดีประเภทฉันท์<br />\n@ เราเรียกเสียงหนักว่า ครู ( ั) เรียกเสียงเยา ว่า ลหุ ( ุ )<br />\n@ คำครุ-ลหุ<br />\n   - ครุ คำที่มีเสียงตัวสะกดหรือไม่มีตัวสะกด แต่ออกเสียงสระยาว เช่น เบิร์ด ฟลุด คูณสาม ทาทา มาช่า ซาซ่า โมเม บับเบิ้ลเกิร์ล โดม\n</p>\n<p>\n   - ลหุ คำที่ไม่มีเสียงตัวสะกด + สระเสียงสั้น เช่น เต๊ะ โป๊ะเชะ มะตะบะ\n</p>\n<p>\n<br />\n   เสียงหนักเบาเวลาเราพูด<br />\n   เช่น กะปิ เวลาเราพูดเราจะเน้นเสียง ปิ ชัดชัด<br />\n   จำปา เวลาเราพูดเราจะเน้นเสียง จำ, ปา ชัดทั้งคู่<br />\n   โมเม เวลาเราพูดเราจะเน้นเสียง โม, เม ชัดทั้งคู่<br />\n   นิโคล เวลาเราพูดเราจะเน้นเสียง โคล ชัดชัด\n</p>\n<p>\n<br />\n<strong>8.อักษร 3 หมู่<br />\n</strong>อักษรสูง มี 11 ตัว ได้ แก่ ข ฃ ฉ ถ ผ ฝ ศ ษ ส ห<br />\nอักษรกลาง มี 9 ตัว ก ฎ ฏ ด ต บ ป อ<br />\nอักษรต่ำ มี 24 ตัว ได้แก่ ค ฅ ฆ ง ช ซ ฌ ญ ฑ ฒ ณ ท ธ น พ ฟ ภ ม ย ร ล ว ฬ ฮ<br />\n**อักษรสูงกลางต่ำหมายถึง ตัวอักษรที่เป็นพยัญชนะต้นทั้งหมดในคำนั้น ๆ เช่น<br />\n-ไว มีรูปอักษรต่ำ 1 ตัว คือ ว <br />\n- กลาย มีรูปอักษรกลาง 1 ตัว คือ ก รูปอักษรต่ำ 1 ตัวคือ ล (เพราะในที่นี้รูปพยัญชนะต้นมี 2 ตัว คือ ก กับ ล)\n</p>\n<p>\nหน้า3 </p>\n', created = 1715736820, expire = 1715823220, headers = '', serialized = 0 WHERE cid = '3:851d56ba450cd07d2a3bc6e3117f3eb7' in /home/tgv/htdocs/includes/cache.inc on line 112.

หลักภาษา

หน้า1

หลักภาษาไทย


      ธรรมชาติของภาษา
1. ภาษาในความหมายอย่างแคบ คือ ภาษาพูดของคน


2. ทุกวันนี้ ยังมีอีกหลายภาษาที่ไม่มีภาษาเขียน


3. แต่ละกลุ่มกำหนดภาษากันเอง เสียงในแต่ละภาษาจึงมีความหมายไม่ตรงกัน


4. ลักษณะของภาษาทั่ว ๆ ไป
    1. มีเสียงสระและพยัญชนะ (วรรณยุกต์มีบางภาษาเช่น ไทย,จีน)
    2. ขยายให้ใหญ่ขึ้นได้
    3. มีคำนาม, กริยา, คำขยาย
    4. เปลี่ยนแปลงได้


5. ภาษาเปลี่ยนแปลงได้ เพราะสาเหตุหลายข้อ เช่น
    สิ่งแวดล้อมเปลี่ยน เช่น ขายตัว ศักดินา จริต สำส่อน แกล้ง ห่ม
    การพูด ได้แก่ การกร่อนเสียง และกลมกลืนเสียง
     -กร่อนเสียง เช่น"หมากพร้าว" กร่อนเป็น"มะพร้าว"
     -กลมกลืนเสียง เช่น"อย่างไร" กลืนเสียงเป็น "ยังไง"
    ภาษาต่างประเทศ เช่นสำนวน"ในความคิดของข้าพเจ้า"
    เด็กออกเสียงเพี้ยน เช่นกะหนม,ไอติม,ป้อ(พ่อ)

ภาษาไทย


1. จุดเด่นภาษาไทย
    1. ภาษาคำโดด = ไม่มีการเปลี่ยนแปลงรูปของคำ
    2. การวางคำหลักคำขยาย ในภาษาไทยจะเอาคำหลักขึ้นก่อนแล้วจึงตามด้วยคำขยาย
        คำหลัก + คำขยาย เช่น ขนมอร่อย
    3. มีเสียงวรรณยุกต์


2.สำนวนภาษาต่างประเทศ
    1.เยิ่นเย้อ ดูได้จากมีคำว่า"มีความ, ให้ความ, ทำการ,ต่อการ, ต่อความ, ซึ่ง" แบบไม่จำเป็นเช่น ครูมีความดีใจมาก
    2.วางส่วนขยายหน้าคำหลัก เช่น ง่ายแก่ความเข้าใจ


3.เอาคำว่า "มัน" มาขึ้นประโยคแบบไม่มีความหมาย เช่น มันดีจังเลย


4. นิยมใช้ Passive Voice (ถูก+Verb)ในความหมายที่ดี เช่น ถูกชมเชย


5. สำนวนบางสำนวน เช่น ในที่สุด ในอนาคตอันใกล้นี้ ในความคิดของผม พบตัวเอง ใช้ชีวิต

หน้า2

 คำ

1.คำไทยแท้
   คำไทยแท้มักจะเป็นคำพยางค์เดียวและสะกดตรงตามมาตรา
  ยกเว้นบางคำ :
  1.คำไทยแท้เกิน 1 พยางค์ก็มี
     - ประ, กระ + คำไทย เช่น ประเดี๋ยว ประหนึ่ง กระดก กระดุม เป็นต้น
     - คำกร่อนเสียง เช่น มะพร้าว มะม่วง ตะเข้ ระริก
    คำบางคำ เช่นเสภา ระฆัง
  2.คำพยางค์เดียวสะกดตรงมาตรบางคำก็ไม่ใช่คำไทย
    -คำที่ใส่"ำ"(สระอำ) เข้าไปได้เป็นคำเขมร เช่น เกิดกราบ จง แจก ทาย เดิน อวย
    -คำที่อ่านโดยใส่สระ"ะ"ไปที่ตัวอักษรสุดท้ายได้ เป็นคำบาลี-สันสกฤต เช่น เอก ทาน นาม ชน พระ(วร) โลก กาม ครู

2.คำไทยที่มีควบกล้ำมี 11 เสียง คือ
   กร กล กว ก่อน คร คล คว ค่ำ ปร ปล ไป พร พล พบ ตร เตี่ย

3.คำบาลี - สันสกฤต
     คำสันสกฤต
      1.ควบกล้ำ หรือมี รร เช่น ปรโมทย์, วิเคราะห์, ภรรยา
      2. มี"ศ,ษ,ฤ,ฤา,ฑ,สถ" เช่น ศักดา ฤษี จุฑฑา เสถียร
      ***คำ "ศ"เป็นภาษาสันสกฤต ยกเว้น ศอก เศิก เศร้า ศึก เป็นคำไทย
     

     คำบาลี    สังเกตจากตัวสะกดและตัวตาม
      - ถ้าตัวสะกด ตัวตามอยู่ในวรรคเดียวกัน ถือเป็นคำบาลี
        เช่น มัจฉา รัฏฐา หัตถ์ บุปผา สัมมา
     

     พยัญชนะวรรค
        ก ก ข ค ฆ ง
        จ จ ฉ ช ฌ ญ
        ฎ ฎ ฐ ฑ ฒ ณ
        ต ต ถ ท ธ น
        ป ป ผ พ ภ ม
     เศษวรรค ย ร ล ว ส ห ฬ อ


4.คำเขมร  คำเขมรสังเกตจาก
    1. คำนั้นแผลง " ำ" เข้าไปได้ เช่น
        กราบ > กำราบ เกิด > กำเนิด เจริญ > จำเริญ
        จอง(จำนอง) ชาญ(ชำนาญ) ตรวจ(ตำรวจ) เสร็จ(สำเร็จ) อาจ(อำนาจ) แข็ง(กำแหง) ตรง(ดำรง) ตรัส(ดำรัส)ทรุด(ชำรุด)         เปรอ(บำเรอ)
    2.คำนั้นเอาคำว่า บำ,บัง,,บรร นำหน้าได้ เช่น
       เพ็ญ > บำเพ็ญ บำราศ บำบัด บรรจง บรรทม
 

    คำต่อไปนี้เป็นคำเขมร
    - ขจาย ขจร ขจอก ขดาน ขจัด ขจบ
    - เสด็จ เสวย บรรทม โปรด
    - ถนน กระทรวง ทบวง ทหาร ทลาย แถง โถง
    - ขนม สนุด นาน สนิม
 

5.คำภาษาอื่น ๆ
   ภาษาทมิฬ เช่น ตะกั่ว อาจาด สาเก กุลี


   ภาษาชวา+ มลายู เช่น บุหลัน บุหงา บุหรง ทุเรียน น้อยหน่า มังคุด มะละกอ โสร่ง สลัด กริช

   ภาษาโปรตุเกส เช่น สบู่ ปิ่นโต เหรียญ กาละแม

   ภาษาเปอร์เชีย เช่นกุหลาย ตรา ชุกชี

 

เสียงในภาษาไทย


1. อักษรควบ - อักษรนำ


     อักษรควบ มี 2 แบบ คือ
     ควบแท้ -> ออกเสียงพยัญชนะต้นทั้ง 2 เสียง เช่น ปลา ครีม เป็นต้น
     ควบไม่แท้ -> ออกเสียงพยัญชนะต้นตัวแรกตัวเดียว มี 2 กรณี ดังนี้
     - แสร้ง จริง เศรษฐี เศร้า
     - ออกเสียง ทร เป็นซ เช่น ไทร ทราย ทรุด


     อักษรนำ คือ คำที่
     - อ่านหรือเขียนแบบ มี "ห" นำพยัญชนะต้นอีกตัว เช่น หลอก หรู หนี หวาด ตลาด(ตะ-หลาด) ปรอท(ปะ-หรอด) ตลก(ตะ-หลก)         เรก(ดิ-เหรก)
     - รวมทั้งคำว่า " อย่า อยู่ อย่าง อยาก"


2.เสียงพยัญชนะต้น
    เสียงพยัญชนะต้น > เสียงที่นำเสียงสระ


    เสียงพยัญชนะต้น มีอยู่ 2 ประเภท คือ
    1. เสียงพยัญชนะเดี่ยว = ออกเสียงเสียงพยัญชนะต้นเสียงเดียว เช่น มา วิน ตี นุก หมู
    มีนิดนึงที่ระวัง *
    - เสียง ร ไม่เหมือนกับเสียง ล
    - ฤ ออกเสียงว่า รึ
    - ท ธ ฑ ฒ ถ ฐ ออกเสียงตรงกันว่า ท
    - พวกอักษรนำ จะออกเฉพาะเสียงเสียงพยัญชนะตัวหลัง(ไม่ออกเสียง"ห"หรือ"อ"ในพยัญชนะต้นตัวแรกนะ เช่น หรู (ออก"ร" ไม่ออก"ห"), หมี (ออก"ม"ไม่ออก"ห") อยาก(ออก"ย" ไม่ออก"อ")
   

     2.เสียงพยัญชนะประสม ออกเสียงเสียงพยัญชนะต้นสองเสียงควบกัน เช่น กราบ ความ ปราม ไตร
       ลองทวนอีกนิดนึงนะ
    - ผิ ออกเสียงพยัญชนะต้น 1 เสียง คือ /ผ/
    - ผลิ ออกเสียงพยัญชนะต้น 1 เสียง คือ /ผล/
    - ผลิต ออกเสียงพยัญชนะต้น 2 เสียง คือ /ผ/ , /ล/ (คือเวลาออกต้องแยกว่า ผะ-หลิด)

3.เสียงพยัญชนะตัวสะกด (พยัญชนะท้าย)
เสียงพยัญชนะท้าย = เสียงพยัญชนะที่อยู่หบังเสียงสระ

เสียงพยัญชนะท้าย มี 8 เสียง คือ
แม่กก แทนด้วยเสียง /ก/ แม่กด แทนด้วยเสียง /ต/ แม่กบ แทนด้วยเสียง /ป/ แม่กม แทนด้วยเสียง /ม/ แม่กน แทนด้วยเสียง /น/ แม่กง แทนด้วยเสียง /ง/ แม่เกย แทนด้วยเสียง /ย/ แม่เกอว แทนด้วยเสียง /ว/
เช่น นาค เสียงพยัญชนะท้าย ช /ก/ รด เสียงพยัญชนะท้าย = /ต/
มีที่ต้องระวังนิดนึง
  1. อำ ออกเสียงคือ อะ + ะ + ม ไอ,ใอ ออกเสียงคือ อะ +ะ + ย เอา ออกเสียง คือ อะ+ะ+ว
      มีตัวสะกดทั้ง 4 เสียงเลยนะ
      เช่น น้ำ มีเสียงตัวสะกดคือ /ม/ ไฟ /ย/ เก่า /ว/
   2.บางคำดูเหมือนมีตัวสะกด แต่จริง ๆ คือรูปสระ ไม่ใช่ตัวสะกด เช่น ผัว เบื่อ เมีย ล่อ เสือ ชื่อ คำพวกนี้ไม่มีเสียงตัวสะกด
      ลองทวนอีกที
      ลองหาเสียงพยัญชนะตัวสะกดในคำต่อไปนี้ดู "เจ้าหญิงคือผู้ที่ข้าต้องการ"
      เฉลย ว ง - - - - ง น

4.เสียงสระ
  1.เสียงสระสั้น ยาวให้ดูตอนที่ออกเสียงอย่าดูที่รูปเช่น
     วัด ออกเสียงสระสั้น ช่าง สระสั้น เท้า สระยาว เน่า สระสั้น น้ำ สระยาว ช้ำ สระสั้น
 

  2.เสียงสระ มี 2 ประเภท คือ
     สระประสม มี 6 เสียง คือ อัวะ อัว เอือะ เอือ เอียะ เอีย
     สระเดี่ยว มี 18 เสียง คือ สระที่ไม่ใช่ อัวะ อัว เอือะ เอือ เอียะ เอีย


5.เสียงวรรณยุกต์ มี 5 ระดับ คือ สามัญ เอก โท ตรี จัตวา


6.พยางค์ คือ เสียงที่ออกมา 1 ตรั้ง มี 2 ประเภท คือ


    พยางค์เปิด พยางค์ที่ไม่มีตัวสะกด เช่น เธอ มา ลา สู่


    พยางค์ปิด พยางค์ที่มีเสียงตัวสะกด เช่น ไป รบ กับ เขา


ในข้อสอบ Ent
   @เวลาเขาถามถึง โครงสร้างของพยางค์ = องค์ประกอบของพยางค์ ให้ดูจากองค์ประกอบเสียงที่ออกมา คือ พยัญชนะ สระวรรณยุกต์ ตัวสะกด
   @ถ้าเขาถามว่ามีโครงสร้างพยางค์ต่างกันไหม ให้เช็คไล่จาก
   1. มีตัวสะกดไหม เช่น กางมี"ง"เป็นตัวสะกด แต่ กาไม่มีตัวสะกด
.  .โครงสร้างพยางค์ของ 2 คำนี้จะต่างกัน
   2.เสียงพยัญชนะต้นเป็นเดี่ยว(พยัญชนะออกเสียงเดียว)หรือควบ(พยัญชนะต้น 2 เสียง)
เช่น แสร้ง กับ เชี่ยว มีเสียงพยัญชนะต้นเป็นเสียงเดียวทั้งคู่
..โครงสร้างพยางค์เหมือนกัน
   3. เสียงวรรณยุกต์ตรงกันไหม เช่น ท้า กับ ท่า มีเสียงวรรณยุกต์ต่างกัน
..โครงสร้างพยางค์ค่างกัน
  4. เสียงสระสั้นยาวเท่ากันไหม เช่นช้าวออกเสียงสระยาว แต่ ตั้ง ออกเสียงสระสั้น
...โครงสร้างพยางค์ต่างกัน


7.เสียงหนักเบา
เสียงหนักเบาในวรรณคดีประเภทฉันท์
@ เราเรียกเสียงหนักว่า ครู ( ั) เรียกเสียงเยา ว่า ลหุ ( ุ )
@ คำครุ-ลหุ
   - ครุ คำที่มีเสียงตัวสะกดหรือไม่มีตัวสะกด แต่ออกเสียงสระยาว เช่น เบิร์ด ฟลุด คูณสาม ทาทา มาช่า ซาซ่า โมเม บับเบิ้ลเกิร์ล โดม

   - ลหุ คำที่ไม่มีเสียงตัวสะกด + สระเสียงสั้น เช่น เต๊ะ โป๊ะเชะ มะตะบะ


   เสียงหนักเบาเวลาเราพูด
   เช่น กะปิ เวลาเราพูดเราจะเน้นเสียง ปิ ชัดชัด
   จำปา เวลาเราพูดเราจะเน้นเสียง จำ, ปา ชัดทั้งคู่
   โมเม เวลาเราพูดเราจะเน้นเสียง โม, เม ชัดทั้งคู่
   นิโคล เวลาเราพูดเราจะเน้นเสียง โคล ชัดชัด


8.อักษร 3 หมู่
อักษรสูง มี 11 ตัว ได้ แก่ ข ฃ ฉ ถ ผ ฝ ศ ษ ส ห
อักษรกลาง มี 9 ตัว ก ฎ ฏ ด ต บ ป อ
อักษรต่ำ มี 24 ตัว ได้แก่ ค ฅ ฆ ง ช ซ ฌ ญ ฑ ฒ ณ ท ธ น พ ฟ ภ ม ย ร ล ว ฬ ฮ
**อักษรสูงกลางต่ำหมายถึง ตัวอักษรที่เป็นพยัญชนะต้นทั้งหมดในคำนั้น ๆ เช่น
-ไว มีรูปอักษรต่ำ 1 ตัว คือ ว
- กลาย มีรูปอักษรกลาง 1 ตัว คือ ก รูปอักษรต่ำ 1 ตัวคือ ล (เพราะในที่นี้รูปพยัญชนะต้นมี 2 ตัว คือ ก กับ ล)

หน้า3

สร้างโดย: 
ครูรัตนา สถิตานนท์

เนื้อหาดีมากครับ

มหาวิทยาลัยศรีปทุม ผู้ใหญ่ใจดี
 

 ช่วยด้วยครับ
นักเรียนที่สร้างบล็อก กรุณาอย่า
คัดลอกข้อมูลจากเว็บอื่นทั้งหมด
ควรนำมาจากหลายๆ เว็บ แล้ววิเคราะห์ สังเคราะห์ และเขียนขึ้นใหม่
หากคัดลอกทั้งหมด จะถูกดำเนินคดี
ตามกฎหมายจากเจ้าของลิขสิทธิ์
มีโทษทั้งจำคุกและปรับในอัตราสูง

ช่วยกันนะครับ 
ไทยกู๊ดวิวจะได้อยู่นานๆ 
ไม่ถูกปิดเสียก่อน

ขอขอบคุณในความร่วมมือครับ

อ่านรายละเอียด

ด่วน...... ขณะนี้
พระราชบัญญัติลิขสิทธิ์ (ฉบับที่ 2) พ.ศ. 2558 
มีผลบังคับใช้แล้ว 
ขอให้นักเรียนและคุณครูที่ใช้งาน
เว็บ thaigoodview ในการส่งการบ้าน
ระมัดระวังการละเมิดลิขสิทธิ์ด้วย
อ่านรายละเอียดที่นี่ครับ

 

สมาชิกที่ออนไลน์

ขณะนี้มี สมาชิก 0 คน และ ผู้เยี่ยมชม 323 คน กำลังออนไลน์