• user warning: Table 'cache_filter' is marked as crashed and should be repaired query: SELECT data, created, headers, expire, serialized FROM cache_filter WHERE cid = '3:0e812fb09f5f98d3db37eaa94a41ce52' in /home/tgv/htdocs/includes/cache.inc on line 27.
  • user warning: Table 'cache_filter' is marked as crashed and should be repaired query: UPDATE cache_filter SET data = '<!--paging_filter--><p align=\"center\">\n<span style=\"font-size: small; color: #990000; font-family: MS Sans Serif, Microsoft Sans Serif\"><b>ความเป็นมาของทฤษฏีหลังทันสมัยนิยม</b></span>\n</p>\n<p><span style=\"font-size: small; color: #990000; font-family: MS Sans Serif, Microsoft Sans Serif\"></span></p>\n<p>\n<br />\n     กระแสทฤษฎีหลังทันสมัยนิยมได้รับการกล่าวถึงมาตั้งแต่ทศวรรษที่ 1960 ก่อนที่จะก่อตัวขึ้นในวงวิชาการสังคมวิทยาและมานุษยวิทยา อันเกิดขึ้นจากการตั้งคำถามและวิพากษ์วิจารณ์แบบถอนรากถอนโคนจากทฤษฎีทันสมัยนิยม (modernism) ในประเด็นสำคัญ 4 ประการ ได้แก่<br />\n1.  เชื่อว่า ชายผิวขาวชาวยุโรปสามารถแยกตัวเองจากมายาคติทางวัฒนธรรมของตน แล้วศึกษาโลกได้อย่างเป็นกลางและปราศจากอคติ</p>\n<p>2. ความผิดพลาดที่เกิดจากการคาดการณ์ว่าทฤษฎีสามารถสร้างความรู้เกี่ยวกับโลกได้เหมือนกับการจำลองความเป็นจริง</p>\n<p>3. ถ้าความหมายถูกสร้างขึ้นจากปฏิสัมพันธ์ทางสังคม ดังนั้น จิตสำนึกร่วมที่สำนักโครงสร้างนิยมเชื่อว่า ฝังแน่นอยู่ในพฤติกรรมทางสังคมก็เป็นไม่มีอยู่จริง</p>\n<p>4. ไม่มีงาช้างสำหรับนักวิชาการ (ที่ชอบอ้างความเป็นกลาง) เพราะว่าทฤษฎีต่างๆก็มีนัยยะทางการเมือง และมีผลกระทบต่อชีวิตของผู้คนในสังคมทั้งสิ้น\n</p>\n<p>\n          งานเขียนของนักมานุษยวิทยาไม่เพียงถูกสร้างขึ้นผ่านการเขียนที่เกิดจากกระบวนการคิด วิเคราะห์ สังเคราะห์ และจินตนาการของตน แต่เป็นเพียงความจริงบางส่วนเท่านั้น คำว่า&quot;มุมมองของคนพื้นเมือง&quot;(from the native\'s point of view) ถูกเปลี่ยนความหมายแสดงให้เห็นการเข้าถึงวิธีคิดและโลกทัศน์ของผู้คนต่างวัฒนธรรม ให้เป็นเพียงนิยายหรือปมปัญหาของนักมานุษยวิทยารุ่นหลังนำมาวิพากษ์วิจารณ์กัน\n</p>\n<p></p>\n<p align=\"center\">\n<span style=\"font-size: small; color: #990000; font-family: MS Sans Serif, Microsoft Sans Serif\"><b>นักคิดที่สำคัญ</b></span>\n</p>\n<p align=\"center\">\n<span style=\"font-size: small; color: #990000; font-family: MS Sans Serif, Microsoft Sans Serif\"><b> Ferdinand de Saussure</b> <b></b> </span>\n</p>\n<p align=\"center\">\n<span style=\"font-size: small; color: #990000; font-family: MS Sans Serif, Microsoft Sans Serif\"><a href=\"http://images.google.co.th/imgres?imgurl=http://cyberlab.lh1.ku.ac.th/elearn/faculty/social/soc65/saussure.jpg&amp;imgrefurl=http://cyberlab.lh1.ku.ac.th/elearn/faculty/social/soc65/14-2.html&amp;usg=__jpfd_qZ69eb3LIiq9SDfMwMFZsI=&amp;h=242&amp;w=200&amp;sz=11&amp;hl=th&amp;start=1&amp;um=1&amp;tbnid=p9Q9i59rlp6SqM:&amp;tbnh=110&amp;tbnw=91&amp;prev=/images%3Fq%3D%25E0%25B8%2581%25E0%25B8%25B2%25E0%25B8%25A3%25E0%25B8%259B%25E0%25B8%258F%25E0%25B8%25B4%25E0%25B8%25A7%25E0%25B8%25B1%25E0%25B8%2595%25E0%25B8%25B4%25E0%25B8%2597%25E0%25B8%25B2%25E0%25B8%2587%25E0%25B8%25A0%25E0%25B8%25B9%25E0%25B8%25A1%25E0%25B8%25B4%25E0%25B8%259B%25E0%25B8%25B1%25E0%25B8%258D%25E0%25B8%258D%25E0%25B8%25B2%26um%3D1%26hl%3Dth%26sa%3DN\"><img width=\"91\" src=\"http://tbn1.google.com/images?q=tbn:p9Q9i59rlp6SqM:http://cyberlab.lh1.ku.ac.th/elearn/faculty/social/soc65/saussure.jpg\" height=\"110\" style=\"border: 1px solid\" /></a><br />\n </span>\n</p>\n<p>\n<span style=\"font-size: small; color: #990000; font-family: MS Sans Serif, Microsoft Sans Serif\">    <strong><u>โซซูร์</u></strong>เป็นนักภาษาศาสตร์ชาวสวิส เป็นผู้มีอิทธิพลสำคัญต่อการปฏิวัติที่เรียกว่า &quot;The Linguistic Turn&quot; ซึ่งเป็นการเปลี่ยนแปลงที่ก่อให้เกิดความสนใจอิทธิพลของภาษาที่มีต่อวิธีคิดด้วยวิธีคิดแบบเดิม ซึ่งผลงานนี้เป็นการแสวงหาระบบภาษา อาจอยู่เบื้องหลังทุกภาษาที่ใช้กันอยู่จริงๆ และเป็นโครงสร้างภาษาที่กล่อมเกลาจิตใจ ความหมายและโลกทัศน์ของมนุษย์<br />\n</span>\n</p>\n<p align=\"center\">\n<span style=\"font-size: small; color: #990000; font-family: MS Sans Serif, Microsoft Sans Serif\"><b> Jacquess Derrida</b> <b></b> </span>\n</p>\n<p align=\"center\">\n<a href=\"http://images.google.co.th/imgres?imgurl=http://cyberlab.lh1.ku.ac.th/elearn/faculty/social/soc65/Derrida.jpg&amp;imgrefurl=http://cyberlab.lh1.ku.ac.th/elearn/faculty/social/soc65/14-2.html&amp;usg=__6ZLKDLG9n8eLJkt_PhV5hEySu6Q=&amp;h=190&amp;w=157&amp;sz=6&amp;hl=th&amp;start=9&amp;um=1&amp;tbnid=6OGOiUFfRTtjDM:&amp;tbnh=103&amp;tbnw=85&amp;prev=/images%3Fq%3D%25E0%25B8%2581%25E0%25B8%25B2%25E0%25B8%25A3%25E0%25B8%259B%25E0%25B8%258F%25E0%25B8%25B4%25E0%25B8%25A7%25E0%25B8%25B1%25E0%25B8%2595%25E0%25B8%25B4%25E0%25B8%2597%25E0%25B8%25B2%25E0%25B8%2587%25E0%25B8%25A0%25E0%25B8%25B9%25E0%25B8%25A1%25E0%25B8%25B4%25E0%25B8%259B%25E0%25B8%25B1%25E0%25B8%258D%25E0%25B8%258D%25E0%25B8%25B2%26um%3D1%26hl%3Dth%26sa%3DN\"><img width=\"85\" src=\"http://tbn2.google.com/images?q=tbn:6OGOiUFfRTtjDM:http://cyberlab.lh1.ku.ac.th/elearn/faculty/social/soc65/Derrida.jpg\" height=\"103\" style=\"border: 1px solid\" /></a>\n</p>\n<p>\n<span style=\"font-size: small; color: #990000; font-family: MS Sans Serif, Microsoft Sans Serif\">     <u><strong>เดอริดา</strong></u>เป็นนักปรัชญาชาวฝรั่งเศสที่นำแนวคิดของโซซูว์มา deconstruct ทำให้เกิดแนวคิดหลังโครงสร้างนิยม (poststructuralism) ซึ่งเดอริดาเห็นว่า ภาษามีธรรมชาติที่ไร้ระเบียบ ความหมายผันแปรไปตามบริบทที่เปลี่ยนไป อันเป็นพื้นฐานในการก่อตัวแนวคิดหลังทันสมัยใหม่ โดยเฉพาะแนวคิดที่ต่อต้าน logocentrism อันเป็นแนวคิดที่เชื่อว่ามีระบบสากลที่บอกได้อย่างชัดเจนว่าอะไรคือ ความถูกต้อง ความงาม ความจริง ฯลฯ ในความเป็นจริงโครงสร้างความหมายที่ปรากฏผ่านถ้อยคำในภาษา พฤติกรรมต่างๆ และข้อเขียนทุกชนิด ไม่อาจนำมาแปลความหรือตีความได้ ทุกสังคมวัฒนธรรมต่างก็สร้างและอยู่ในโลกของความหมายเฉพาะของตน<br />\n<u>Micheal Foucault : ฟูโกลต์เป็นนักทฤษฎีหลังทันสมัยนิยมแบบประนีประนอม (moderate postmodernism) เชื่อว่า</u> มีชุมชนจำนวนมากที่ใช้วาทกรรมร่วมกัน แม้ว่าจะมีกฎระเบียบและข้อจำกัดของตนเอง แต่การอ้างอิงความหมาย สามารถทำได้โดยอ้างถึงสิ่งอื่นที่อิสระจากวาทกรรมเฉพาะ เช่น กระบวนการยุติธรรม การตัดสินความผิดและลงโทษอาชญากรเป็นเรื่องการใช้อำนาจและความรุนแรงโดยรัฐเพื่อสร้างระเบียบวินัย และควบคุมพฤติกรรมของคนในสังคม<br />\n</span>\n</p>\n<p align=\"center\">\n<span style=\"font-size: small; color: #990000; font-family: MS Sans Serif, Microsoft Sans Serif\"><b> Jean-Francios Lyotard</b> <b></b></span>\n</p>\n<p align=\"center\">\n<a href=\"http://images.google.co.th/imgres?imgurl=http://cyberlab.lh1.ku.ac.th/elearn/faculty/social/soc65/lyotard.jpg&amp;imgrefurl=http://cyberlab.lh1.ku.ac.th/elearn/faculty/social/soc65/14-2.html&amp;usg=__W_l385wM1KZWE0cDDTknXXN6qLg=&amp;h=277&amp;w=241&amp;sz=51&amp;hl=th&amp;start=11&amp;um=1&amp;tbnid=XpqCIfDBxnLrCM:&amp;tbnh=114&amp;tbnw=99&amp;prev=/images%3Fq%3D%25E0%25B8%2581%25E0%25B8%25B2%25E0%25B8%25A3%25E0%25B8%259B%25E0%25B8%258F%25E0%25B8%25B4%25E0%25B8%25A7%25E0%25B8%25B1%25E0%25B8%2595%25E0%25B8%25B4%25E0%25B8%2597%25E0%25B8%25B2%25E0%25B8%2587%25E0%25B8%25A0%25E0%25B8%25B9%25E0%25B8%25A1%25E0%25B8%25B4%25E0%25B8%259B%25E0%25B8%25B1%25E0%25B8%258D%25E0%25B8%258D%25E0%25B8%25B2%26um%3D1%26hl%3Dth%26sa%3DN\"><img width=\"99\" src=\"http://tbn2.google.com/images?q=tbn:XpqCIfDBxnLrCM:http://cyberlab.lh1.ku.ac.th/elearn/faculty/social/soc65/lyotard.jpg\" height=\"114\" style=\"border: 1px solid\" /></a>\n</p>\n<p>\n<span style=\"font-size: small; color: #990000; font-family: MS Sans Serif, Microsoft Sans Serif\">    <strong><u>เลียวทาร์</u></strong>เสนอว่า ควรจะเปลี่ยนโลกทัศน์ต่อความรู้เสียใหม่ จากที่ได้รับอิทธิพลจากวิทยาศาสตร์แบบกลไก มาอยู่ในระบบของโลกที่เปลี่ยนแปลงตลอดเวลา ดังนั้นความรู้จึงมีลักษณะอย่างดีที่สุด คือ เป็นความรู้แบบชั่วคราว <br />\n</span>\n</p>\n<p align=\"center\">\n<span style=\"font-size: small; color: #990000; font-family: MS Sans Serif, Microsoft Sans Serif\"><b> Jean Baudrillard</b> <b></b></span>\n</p>\n<p align=\"center\">\n<a href=\"http://images.google.co.th/imgres?imgurl=http://cyberlab.lh1.ku.ac.th/elearn/faculty/social/soc65/baudrillard-self.jpg&amp;imgrefurl=http://cyberlab.lh1.ku.ac.th/elearn/faculty/social/soc65/14-2.html&amp;usg=__p4sANHTxprIjCgNM2xDQgkD4mpo=&amp;h=190&amp;w=138&amp;sz=6&amp;hl=th&amp;start=10&amp;um=1&amp;tbnid=liZjyKMuJUxyjM:&amp;tbnh=103&amp;tbnw=75&amp;prev=/images%3Fq%3D%25E0%25B8%2581%25E0%25B8%25B2%25E0%25B8%25A3%25E0%25B8%259B%25E0%25B8%258F%25E0%25B8%25B4%25E0%25B8%25A7%25E0%25B8%25B1%25E0%25B8%2595%25E0%25B8%25B4%25E0%25B8%2597%25E0%25B8%25B2%25E0%25B8%2587%25E0%25B8%25A0%25E0%25B8%25B9%25E0%25B8%25A1%25E0%25B8%25B4%25E0%25B8%259B%25E0%25B8%25B1%25E0%25B8%258D%25E0%25B8%258D%25E0%25B8%25B2%26um%3D1%26hl%3Dth%26sa%3DN\"><img width=\"75\" src=\"http://tbn3.google.com/images?q=tbn:liZjyKMuJUxyjM:http://cyberlab.lh1.ku.ac.th/elearn/faculty/social/soc65/baudrillard-self.jpg\" height=\"103\" style=\"border: 1px solid\" /></a>\n</p>\n<p>\n<span style=\"font-size: small; color: #990000; font-family: MS Sans Serif, Microsoft Sans Serif\">    <strong><u>โบดริยาร์ด</u></strong>เสนอว่า วัฒนธรรมของโลกยุคหลังทันส<a href=\"http://images.google.co.th/imgres?imgurl=http://cyberlab.lh1.ku.ac.th/elearn/faculty/social/soc65/baudrillard-self.jpg&amp;imgrefurl=http://cyberlab.lh1.ku.ac.th/elearn/faculty/social/soc65/14-2.html&amp;usg=__p4sANHTxprIjCgNM2xDQgkD4mpo=&amp;h=190&amp;w=138&amp;sz=6&amp;hl=th&amp;start=10&amp;um=1&amp;tbnid=liZjyKMuJUxyjM:&amp;tbnh=103&amp;tbnw=75&amp;prev=/images%3Fq%3D%25E0%25B8%2581%25E0%25B8%25B2%25E0%25B8%25A3%25E0%25B8%259B%25E0%25B8%258F%25E0%25B8%25B4%25E0%25B8%25A7%25E0%25B8%25B1%25E0%25B8%2595%25E0%25B8%25B4%25E0%25B8%2597%25E0%25B8%25B2%25E0%25B8%2587%25E0%25B8%25A0%25E0%25B8%25B9%25E0%25B8%25A1%25E0%25B8%25B4%25E0%25B8%259B%25E0%25B8%25B1%25E0%25B8%258D%25E0%25B8%258D%25E0%25B8%25B2%26um%3D1%26hl%3Dth%26sa%3DN\"></a>มัยมีเนื้อหาหลักอยู่ที่ </span>\n</p>\n<p>\n<span style=\"font-size: small; color: #990000; font-family: MS Sans Serif, Microsoft Sans Serif\">- เศรษฐกิจที่เน้นเรื่องการผลิตกับวัฒนธรรม (ที่กลายมาเป็นวัฒนธรรมของสัญญาณที่สามารถนำมาผลิตเป็นสินค้า) จะเห็นว่า เศรษฐกิจที่มีมูลค่ามากที่สุดและมีความยั่งยืนมากที่สุดมีฐานมาจากวัฒนธรรมทั้งสิ้น เข่น ภาพยนตร์ ดนตรี แฟชั่น ฯลฯ <br />\n- เศรษฐกิจเชิงวัฒนธรรมของโลกสมัยใหม่ถึงจุดเปลี่ยน กล่าวคือ สินค้าที่มูลค่ามากที่สุดในตลาดโลกไม่ใช่สินค้าและบริการเช่นเดิม แต่เป็น&quot;ข้อมูลข่าวสาร&quot; <br />\n- ลักษณะที่โดดเด่นของวัฒนธรรมโลกยุคหลังทันสมัยอย่างหนึ่ง คือ การสร้างความจริงที่เหนือจริง (hyperreality) โดยผ่านการผลิตซ้ำแบบจำลอง เลียนแบบด้วยเทคโนโลยี ความจริงที่เหนือจริงนี้ เช่น การติดต่อสื่อสารผ่านโทรทัศน์หรือสื่อมวลชนต่างๆ อินเตอร์เน็ต ภาพยนตร์ การจัดนิทรรศการ การเดินทางท่องเที่ยว<br />\n</span>\n</p>\n<p align=\"center\">\n<span style=\"font-size: small; color: #990000; font-family: MS Sans Serif, Microsoft Sans Serif\"><b>เนื้อหาสำคัญของทฤษฎีหลังทันสมัยนิยม</b></span>\n</p>\n<p><span style=\"font-size: small; color: #990000; font-family: MS Sans Serif, Microsoft Sans Serif\"><strong></strong></span></p>\n<p>\n<br />\n1. มีจุดเริ่มต้นเหมือนกับนักทฤษฎีโครงสร้างนิยมที่ว่า การให้ความสำคัญกับภาษาและกระบวนการทำงานของภาษาในฐานะที่เป็นจุดเริ่มต้นในการทำความเข้าใจความคิด การสื่อสาร และปรากฏการณ์ทางวัฒนธรรม หรือการมองว่า &quot;ภาษา คือ ระบบของสัญญาณที่สื่อความหมาย ความคิด และประสบการณ์&quot;</p>\n<p>2. ทฤษฎีหลังโครงสร้างนิยมปฏิเสธว่า ปรากฎการณ์ทางสังคมหรือความคิดของแต่ละบุคคลมีชุดของความหมายที่แน่นอนชุดหนึ่งแฝงอยู่ แต่ความหมายและความคิดกลับเป็นสิ่งที่ขึ้นอยู่กับความสามารถของผู้รับสารหรือผู้วิเคราะห์ มุมมองเฉพาะและบริบทเฉพาะในการรับสาร ซึ่งเป็นเงื่อนไขสำคัญต่อการผลิตความหมายหรือการเข้าใจปรากฏการณ์ทางสังคมแต่ละครั้ง</p>\n<p>3. ความหมายของภาษาอยู่ที่ &quot;linguistic sign&quot; ซึ่งประกอบด้วย &quot;signified&quot; (ตัวความหมาย) และ &quot;signifier&quot; (สัญญะที่สื่อความหมาย) เช่น BMW (signifer) แต่ซื้อเพราะความมีระดับและหรูหรา (signified) ความสัมพันธ์ระหว่างความหมายกับสัญญะไม่อยู่ภายใต้กฎเกณฑ์ทางภาษาหรือแบบแผนใดๆ แต่เป็นเรื่องของความบังเอิญของภาษา</p>\n<p>4. ความสัมพันธ์ระหว่างสัญญะกับความหมายที่ซับซ้อนและมีนัยสำคัญหลายมิติ เช่น สัญญะไม่ได้ยึดติดอยู่กับความหมายใดความหมายนิ่งในลักษณะคงที่ แต่มันเกี่ยวโยงสัมพันธ์กับสัญญะชุดอื่นอีกจำนวนหนึ่ง เช่น letter ได้ผลิตความหมายและสัญญะมากมาย อย่าง alphabet, message, agreement หรือกริยาที่แปลว่าเขียนหรือทำเครื่องหมายก็ได้</p>\n<p>5. ความหมายเป็นสิ่งที่เกิดจากความแตกต่างระหว่างสัญญะใดๆ และไม่ใช่สิ่งที่แน่นอนตายตัว เช่น ไก่ ไม่อาจหมายถึงเพียงสัตว์ปีกชนิดหนึ่งที่ขยายพันธุ์โดยการออกไข่ แต่อาจหมายถึง ไก่หลง ไก่อ่อน ไก่แก่ ดังนั้นความหมายจึงเป็นผลผลิตที่เกิดขึ้นในกระบวนการสื่อสารหรือการตีความที่ดำเนินต่อไปในความคิด ความเข้าใจของผู้รับสาร</p>\n<p>6. การทำความเข้าใจความหมายใดๆ มีนัยสำคัญอย่างยิ่งสำหรับการสื่อสาร การวิเคราะห์ และการตีความทางวัฒนธรรม โดยเนื้อหาของสารที่ได้รับการสื่อออกมาโดยตะรางแล้วผู้รับเข้าใจได้ เป็น &quot;ความหมายที่ปรากฏ&quot; (present) ส่วนความหมายอื่นที่แทรก แฝง ซ่อนหรือตีความหมายต่อได้อีก ถือเป็น &quot;ความหมายที่ไม่ขาดหาย&quot; (absent)</p>\n<p>7. การศึกษาวิเคราะห์ทางสังคมวัฒนธรรม เป็นผลของปฏิสัมพันธ์ที่ไม่มีวันสิ่นสุดของสัญญะ การเข้าถึงความหมายเกิดขึ้นภายใต้บริบททางสังคมวัฒนธรรม ที่ขึ้นอยู่กับคนรับสาร (ไม่ใช่ผู้ส่งสาร) </p>\n<p>8. ความหมายที่เกิดจาการสื่อสารและกิจกรรมทางเศรษฐกิจ การเมือง และสังคม ประกอบด้วยลักษณะสำคัญ ได้แก่ <br />\n-  ความหลากหลายมิติอยู่ในตัวเอง<br />\n-  ความหมายไม่ได้จำกัดด้วยโครงสร้างที่ตายตัวแบบแนวคิด <a target=\"_blank\" href=\"/binary%20op.html\" onclick=\"NewWindow(this.href,\'name\',\'320\',\'330\',\'no\');return false\"><span style=\"color: #0099ff\">binary oppositions </span></a><br />\n-  ผู้ส่งสาร ไม่มีอำนาจสิทธิ์ขาดในการสร้างความหมาย แต่เป็นผู้รับสาร ซึ่งมีความสามารถ โอกาส รวมทั้งเงื่อนไขที่จะเข้าถึงและตีความที่ผู้ส่งสารไม่ได้คิดถึงหรือเตรียมไว้เลย<br />\n - ผู้รับสารเป็นผู้มีบทบาทในการทำความจริงให้ปรากฏ และทำสิ่งผู้ส่งสารจงใจซ่อนให้ปรากฏ\n</p>\n<p></p>\n<p align=\"left\">\n&nbsp;\n</p>\n<p align=\"left\">\n&nbsp;\n</p>\n', created = 1719970172, expire = 1720056572, headers = '', serialized = 0 WHERE cid = '3:0e812fb09f5f98d3db37eaa94a41ce52' in /home/tgv/htdocs/includes/cache.inc on line 112.

ยุคปฏิวัติทางภูมิปัญญา

รูปภาพของ Paskorn2

ความเป็นมาของทฤษฏีหลังทันสมัยนิยม


     กระแสทฤษฎีหลังทันสมัยนิยมได้รับการกล่าวถึงมาตั้งแต่ทศวรรษที่ 1960 ก่อนที่จะก่อตัวขึ้นในวงวิชาการสังคมวิทยาและมานุษยวิทยา อันเกิดขึ้นจากการตั้งคำถามและวิพากษ์วิจารณ์แบบถอนรากถอนโคนจากทฤษฎีทันสมัยนิยม (modernism) ในประเด็นสำคัญ 4 ประการ ได้แก่
1.  เชื่อว่า ชายผิวขาวชาวยุโรปสามารถแยกตัวเองจากมายาคติทางวัฒนธรรมของตน แล้วศึกษาโลกได้อย่างเป็นกลางและปราศจากอคติ

2. ความผิดพลาดที่เกิดจากการคาดการณ์ว่าทฤษฎีสามารถสร้างความรู้เกี่ยวกับโลกได้เหมือนกับการจำลองความเป็นจริง

3. ถ้าความหมายถูกสร้างขึ้นจากปฏิสัมพันธ์ทางสังคม ดังนั้น จิตสำนึกร่วมที่สำนักโครงสร้างนิยมเชื่อว่า ฝังแน่นอยู่ในพฤติกรรมทางสังคมก็เป็นไม่มีอยู่จริง

4. ไม่มีงาช้างสำหรับนักวิชาการ (ที่ชอบอ้างความเป็นกลาง) เพราะว่าทฤษฎีต่างๆก็มีนัยยะทางการเมือง และมีผลกระทบต่อชีวิตของผู้คนในสังคมทั้งสิ้น

          งานเขียนของนักมานุษยวิทยาไม่เพียงถูกสร้างขึ้นผ่านการเขียนที่เกิดจากกระบวนการคิด วิเคราะห์ สังเคราะห์ และจินตนาการของตน แต่เป็นเพียงความจริงบางส่วนเท่านั้น คำว่า"มุมมองของคนพื้นเมือง"(from the native's point of view) ถูกเปลี่ยนความหมายแสดงให้เห็นการเข้าถึงวิธีคิดและโลกทัศน์ของผู้คนต่างวัฒนธรรม ให้เป็นเพียงนิยายหรือปมปัญหาของนักมานุษยวิทยารุ่นหลังนำมาวิพากษ์วิจารณ์กัน

นักคิดที่สำคัญ

 Ferdinand de Saussure  


 

    โซซูร์เป็นนักภาษาศาสตร์ชาวสวิส เป็นผู้มีอิทธิพลสำคัญต่อการปฏิวัติที่เรียกว่า "The Linguistic Turn" ซึ่งเป็นการเปลี่ยนแปลงที่ก่อให้เกิดความสนใจอิทธิพลของภาษาที่มีต่อวิธีคิดด้วยวิธีคิดแบบเดิม ซึ่งผลงานนี้เป็นการแสวงหาระบบภาษา อาจอยู่เบื้องหลังทุกภาษาที่ใช้กันอยู่จริงๆ และเป็นโครงสร้างภาษาที่กล่อมเกลาจิตใจ ความหมายและโลกทัศน์ของมนุษย์

 Jacquess Derrida 

     เดอริดาเป็นนักปรัชญาชาวฝรั่งเศสที่นำแนวคิดของโซซูว์มา deconstruct ทำให้เกิดแนวคิดหลังโครงสร้างนิยม (poststructuralism) ซึ่งเดอริดาเห็นว่า ภาษามีธรรมชาติที่ไร้ระเบียบ ความหมายผันแปรไปตามบริบทที่เปลี่ยนไป อันเป็นพื้นฐานในการก่อตัวแนวคิดหลังทันสมัยใหม่ โดยเฉพาะแนวคิดที่ต่อต้าน logocentrism อันเป็นแนวคิดที่เชื่อว่ามีระบบสากลที่บอกได้อย่างชัดเจนว่าอะไรคือ ความถูกต้อง ความงาม ความจริง ฯลฯ ในความเป็นจริงโครงสร้างความหมายที่ปรากฏผ่านถ้อยคำในภาษา พฤติกรรมต่างๆ และข้อเขียนทุกชนิด ไม่อาจนำมาแปลความหรือตีความได้ ทุกสังคมวัฒนธรรมต่างก็สร้างและอยู่ในโลกของความหมายเฉพาะของตน
Micheal Foucault : ฟูโกลต์เป็นนักทฤษฎีหลังทันสมัยนิยมแบบประนีประนอม (moderate postmodernism) เชื่อว่า มีชุมชนจำนวนมากที่ใช้วาทกรรมร่วมกัน แม้ว่าจะมีกฎระเบียบและข้อจำกัดของตนเอง แต่การอ้างอิงความหมาย สามารถทำได้โดยอ้างถึงสิ่งอื่นที่อิสระจากวาทกรรมเฉพาะ เช่น กระบวนการยุติธรรม การตัดสินความผิดและลงโทษอาชญากรเป็นเรื่องการใช้อำนาจและความรุนแรงโดยรัฐเพื่อสร้างระเบียบวินัย และควบคุมพฤติกรรมของคนในสังคม

 Jean-Francios Lyotard

    เลียวทาร์เสนอว่า ควรจะเปลี่ยนโลกทัศน์ต่อความรู้เสียใหม่ จากที่ได้รับอิทธิพลจากวิทยาศาสตร์แบบกลไก มาอยู่ในระบบของโลกที่เปลี่ยนแปลงตลอดเวลา ดังนั้นความรู้จึงมีลักษณะอย่างดีที่สุด คือ เป็นความรู้แบบชั่วคราว

 Jean Baudrillard

    โบดริยาร์ดเสนอว่า วัฒนธรรมของโลกยุคหลังทันสมัยมีเนื้อหาหลักอยู่ที่

- เศรษฐกิจที่เน้นเรื่องการผลิตกับวัฒนธรรม (ที่กลายมาเป็นวัฒนธรรมของสัญญาณที่สามารถนำมาผลิตเป็นสินค้า) จะเห็นว่า เศรษฐกิจที่มีมูลค่ามากที่สุดและมีความยั่งยืนมากที่สุดมีฐานมาจากวัฒนธรรมทั้งสิ้น เข่น ภาพยนตร์ ดนตรี แฟชั่น ฯลฯ
- เศรษฐกิจเชิงวัฒนธรรมของโลกสมัยใหม่ถึงจุดเปลี่ยน กล่าวคือ สินค้าที่มูลค่ามากที่สุดในตลาดโลกไม่ใช่สินค้าและบริการเช่นเดิม แต่เป็น"ข้อมูลข่าวสาร"
- ลักษณะที่โดดเด่นของวัฒนธรรมโลกยุคหลังทันสมัยอย่างหนึ่ง คือ การสร้างความจริงที่เหนือจริง (hyperreality) โดยผ่านการผลิตซ้ำแบบจำลอง เลียนแบบด้วยเทคโนโลยี ความจริงที่เหนือจริงนี้ เช่น การติดต่อสื่อสารผ่านโทรทัศน์หรือสื่อมวลชนต่างๆ อินเตอร์เน็ต ภาพยนตร์ การจัดนิทรรศการ การเดินทางท่องเที่ยว

เนื้อหาสำคัญของทฤษฎีหลังทันสมัยนิยม


1. มีจุดเริ่มต้นเหมือนกับนักทฤษฎีโครงสร้างนิยมที่ว่า การให้ความสำคัญกับภาษาและกระบวนการทำงานของภาษาในฐานะที่เป็นจุดเริ่มต้นในการทำความเข้าใจความคิด การสื่อสาร และปรากฏการณ์ทางวัฒนธรรม หรือการมองว่า "ภาษา คือ ระบบของสัญญาณที่สื่อความหมาย ความคิด และประสบการณ์"

2. ทฤษฎีหลังโครงสร้างนิยมปฏิเสธว่า ปรากฎการณ์ทางสังคมหรือความคิดของแต่ละบุคคลมีชุดของความหมายที่แน่นอนชุดหนึ่งแฝงอยู่ แต่ความหมายและความคิดกลับเป็นสิ่งที่ขึ้นอยู่กับความสามารถของผู้รับสารหรือผู้วิเคราะห์ มุมมองเฉพาะและบริบทเฉพาะในการรับสาร ซึ่งเป็นเงื่อนไขสำคัญต่อการผลิตความหมายหรือการเข้าใจปรากฏการณ์ทางสังคมแต่ละครั้ง

3. ความหมายของภาษาอยู่ที่ "linguistic sign" ซึ่งประกอบด้วย "signified" (ตัวความหมาย) และ "signifier" (สัญญะที่สื่อความหมาย) เช่น BMW (signifer) แต่ซื้อเพราะความมีระดับและหรูหรา (signified) ความสัมพันธ์ระหว่างความหมายกับสัญญะไม่อยู่ภายใต้กฎเกณฑ์ทางภาษาหรือแบบแผนใดๆ แต่เป็นเรื่องของความบังเอิญของภาษา

4. ความสัมพันธ์ระหว่างสัญญะกับความหมายที่ซับซ้อนและมีนัยสำคัญหลายมิติ เช่น สัญญะไม่ได้ยึดติดอยู่กับความหมายใดความหมายนิ่งในลักษณะคงที่ แต่มันเกี่ยวโยงสัมพันธ์กับสัญญะชุดอื่นอีกจำนวนหนึ่ง เช่น letter ได้ผลิตความหมายและสัญญะมากมาย อย่าง alphabet, message, agreement หรือกริยาที่แปลว่าเขียนหรือทำเครื่องหมายก็ได้

5. ความหมายเป็นสิ่งที่เกิดจากความแตกต่างระหว่างสัญญะใดๆ และไม่ใช่สิ่งที่แน่นอนตายตัว เช่น ไก่ ไม่อาจหมายถึงเพียงสัตว์ปีกชนิดหนึ่งที่ขยายพันธุ์โดยการออกไข่ แต่อาจหมายถึง ไก่หลง ไก่อ่อน ไก่แก่ ดังนั้นความหมายจึงเป็นผลผลิตที่เกิดขึ้นในกระบวนการสื่อสารหรือการตีความที่ดำเนินต่อไปในความคิด ความเข้าใจของผู้รับสาร

6. การทำความเข้าใจความหมายใดๆ มีนัยสำคัญอย่างยิ่งสำหรับการสื่อสาร การวิเคราะห์ และการตีความทางวัฒนธรรม โดยเนื้อหาของสารที่ได้รับการสื่อออกมาโดยตะรางแล้วผู้รับเข้าใจได้ เป็น "ความหมายที่ปรากฏ" (present) ส่วนความหมายอื่นที่แทรก แฝง ซ่อนหรือตีความหมายต่อได้อีก ถือเป็น "ความหมายที่ไม่ขาดหาย" (absent)

7. การศึกษาวิเคราะห์ทางสังคมวัฒนธรรม เป็นผลของปฏิสัมพันธ์ที่ไม่มีวันสิ่นสุดของสัญญะ การเข้าถึงความหมายเกิดขึ้นภายใต้บริบททางสังคมวัฒนธรรม ที่ขึ้นอยู่กับคนรับสาร (ไม่ใช่ผู้ส่งสาร)

8. ความหมายที่เกิดจาการสื่อสารและกิจกรรมทางเศรษฐกิจ การเมือง และสังคม ประกอบด้วยลักษณะสำคัญ ได้แก่ 
-  ความหลากหลายมิติอยู่ในตัวเอง
-  ความหมายไม่ได้จำกัดด้วยโครงสร้างที่ตายตัวแบบแนวคิด binary oppositions 
-  ผู้ส่งสาร ไม่มีอำนาจสิทธิ์ขาดในการสร้างความหมาย แต่เป็นผู้รับสาร ซึ่งมีความสามารถ โอกาส รวมทั้งเงื่อนไขที่จะเข้าถึงและตีความที่ผู้ส่งสารไม่ได้คิดถึงหรือเตรียมไว้เลย
 - ผู้รับสารเป็นผู้มีบทบาทในการทำความจริงให้ปรากฏ และทำสิ่งผู้ส่งสารจงใจซ่อนให้ปรากฏ

 

 

สร้างโดย: 
นายภาสกร ดำดี เลขที่ 2 ชั้นม.6/1

มหาวิทยาลัยศรีปทุม ผู้ใหญ่ใจดี
 

 ช่วยด้วยครับ
นักเรียนที่สร้างบล็อก กรุณาอย่า
คัดลอกข้อมูลจากเว็บอื่นทั้งหมด
ควรนำมาจากหลายๆ เว็บ แล้ววิเคราะห์ สังเคราะห์ และเขียนขึ้นใหม่
หากคัดลอกทั้งหมด จะถูกดำเนินคดี
ตามกฎหมายจากเจ้าของลิขสิทธิ์
มีโทษทั้งจำคุกและปรับในอัตราสูง

ช่วยกันนะครับ 
ไทยกู๊ดวิวจะได้อยู่นานๆ 
ไม่ถูกปิดเสียก่อน

ขอขอบคุณในความร่วมมือครับ

อ่านรายละเอียด

ด่วน...... ขณะนี้
พระราชบัญญัติลิขสิทธิ์ (ฉบับที่ 2) พ.ศ. 2558 
มีผลบังคับใช้แล้ว 
ขอให้นักเรียนและคุณครูที่ใช้งาน
เว็บ thaigoodview ในการส่งการบ้าน
ระมัดระวังการละเมิดลิขสิทธิ์ด้วย
อ่านรายละเอียดที่นี่ครับ

 

สมาชิกที่ออนไลน์

ขณะนี้มี สมาชิก 0 คน และ ผู้เยี่ยมชม 414 คน กำลังออนไลน์