• user warning: Table 'cache_filter' is marked as crashed and should be repaired query: SELECT data, created, headers, expire, serialized FROM cache_filter WHERE cid = '3:38e424e2915bb30a7588aeaa9c0bd5e6' in /home/tgv/htdocs/includes/cache.inc on line 27.
  • user warning: Table 'cache_filter' is marked as crashed and should be repaired query: UPDATE cache_filter SET data = '<!--paging_filter--><table border=\"0\" width=\"780\" id=\"table1\">\n<tbody>\n<tr>\n<td align=\"center\">\n<p align=\"center\">\n <span style=\"font-size: medium; font-family: andale mono,times\"><span style=\"font-size: large; font-family: andale mono,times\"><span style=\"font-size: xx-large; color: #000000\"><span style=\"font-size: large; font-family: andale mono,times\"></span></span></span></span>\n </p>\n</td>\n</tr>\n<tr>\n<td>\n<p align=\"center\">\n <span style=\"font-size: x-large\"><u><span style=\"color: #ff0000\"><span style=\"font-family: andale mono,times\"><span style=\"font-size: x-large\"><span style=\"font-size: xx-large\"><span style=\"color: #000000\"><span style=\"color: #000000\"><span style=\"font-size: x-large\"><span style=\"font-family: andale mono,times\"><b><span style=\"font-family: andale mono,times\">องค์การสนธิสัญญาแอตแลนติกเหนือ</span></b><span style=\"font-family: andale mono,times\"> </span></span></span></span></span></span></span></span></span></u></span>\n </p>\n<p align=\"center\">\n <span style=\"font-size: x-large\"><u><span style=\"color: #ff0000\"><span style=\"font-family: andale mono,times\"><span style=\"font-family: andale mono,times\"></span></span></span></u></span><span style=\"color: #000000\"><span style=\"font-size: medium; font-family: andale mono,times\"><span style=\"font-size: large\"><span style=\"font-family: andale mono,times\"><span style=\"font-size: xx-large\"><span style=\"color: #000000\"><span style=\"color: #000000\"><span style=\"font-size: large\"><span style=\"font-family: andale mono,times\"><span style=\"font-size: x-large; color: #ff0000\"><u><span style=\"font-size: x-large\"><span style=\"font-size: x-large\">(North Atlantic Treaty Organization หรือ NATO)</span></span> <br />\n </u></span><br />\n  </span></span></span></span></span></span></span></span></span><span style=\"color: #000000\"><span style=\"font-size: large\"><span style=\"font-family: andale mono,times\"><span style=\"font-size: xx-large; color: #000000\"><span style=\"font-size: medium; font-family: andale mono,times\"><span style=\"font-size: large; color: #000000; font-family: andale mono,times\"> </span></span></span><span style=\"font-size: x-large\"><span style=\"color: #000000\"><span style=\"color: #000000\"><span style=\"font-size: large\"><span style=\"font-family: andale mono,times\"><span style=\"font-size: medium; color: #ff6600; font-family: andale mono,times\">ก่อตั้งขึ้นเมื่อ 4 เมษายน พ.ศ. 2492 เมื่อประเทศภาคีสมาชิก ลงนามในสนธิสัญญาร่วมป้องกันภูมิภาคแอตแลนติกเหนือ ประกอบด้วย อังกฤษ ฝรั่งเศส เบลเยียม เนเธอร์แลนด์ ลักเซมเบิร์ก สหรัฐอเมริกา แคนาดา เดนมาร์ก ไอซ์แลนด์ อิตาลี นอร์เวย์และโปรตุเกส เดือนกุมภาพันธ์ พ.ศ. 2493 กรีซ และตุรกี เข้าร่วมเป็นสมาชิก ในปี พ.ศ. 2498 เยอรมนีตะวันตกเข้าร่วมเป็นสมาชิก </span><span style=\"font-size: medium; font-family: andale mono,times\"><span style=\"color: #ff6600\">การก่อตั้งองค์การสนธิสัญญาแอตแลนติกเหนือ เป็นการร่วมมือทางทหารเพื่อสกัดกั้นอิทธิพลของของอดีตสหภาพโซเวียต และต่อต้านสนธิสัญญาวอร์ซอ เป็นผลของความขัดแย้งระหว่างโลกเสรี ซึ่งมีสหรัฐอเมริกาเป็นผู้นำ และโลกคอมมิวนิสต์ นำโดยอดีตสหภาพโซเวียต</span> </span></span></span></span></span></span></span></span></span></p>\n<p> <span style=\"font-family: andale mono,times\"><span style=\"font-size: medium\"><span style=\"font-size: large\"><span style=\"color: #0000ff\"><b><u>วัตถุประสงค์ และสาระสำคัญ</u> </b></span></span></span></span></p>\n<ul>\n<li><span style=\"font-size: medium; color: #ff00ff; font-family: andale mono,times\"><span style=\"font-size: large; font-family: andale mono,times\"><span style=\"font-size: x-large; color: #000000\"><span style=\"font-size: large; color: #000000; font-family: andale mono,times\">สร้างความมั่นคงร่วมกันระหว่างกลุ่มประเทศประชาธิปไตยในยุโรป ด้วยความร่วมมือและช่วยเหลือของสหรัฐอเมริกา แคนาดา </span></span></span></span></li>\n<li><span style=\"font-size: medium; color: #ff00ff; font-family: andale mono,times\"><span style=\"font-size: large; font-family: andale mono,times\"><span style=\"font-size: x-large; color: #000000\"><span style=\"font-size: large; color: #000000; font-family: andale mono,times\">สำนักงานใหญ่ขององค์การนี้ตั้งอยู่ที่กรุงบรัสเซลส์ ประเทศเบลเยียม </span></span></span></span></li>\n<li><span style=\"font-size: medium; color: #ff00ff; font-family: andale mono,times\"><span style=\"font-size: large; font-family: andale mono,times\"><span style=\"font-size: x-large; color: #000000\"><span style=\"font-size: large; color: #000000; font-family: andale mono,times\">กติกาสำคัญของสัญญานี้ กล่าวว่า ถ้าประเทศหนึ่งประเทศใดแห่งสมาชิกสัญญานี้ ถูกโจมตี ให้ถือว่าทุกประเทศถูกศัตรูรุกราน ซึ่งเป็นภาระที่ต้องร่วมมือกันต่อสู้ และป้องกันตัวเองของประเทศสมาชิก </span></span></span></span></li>\n<li><span style=\"font-size: medium; color: #00ccff; font-family: andale mono,times\"><span style=\"font-size: large\"><span style=\"font-family: andale mono,times\"><span style=\"font-size: x-large\"><span style=\"color: #000000\"><span style=\"color: #000000\"><span style=\"font-size: large\"><span style=\"font-family: andale mono,times\"><span style=\"color: #ff00ff\">สนธิสัญญานี้ ไม่มีการจำกัดอายุ แต่ภาคีสมาชิกอาจลาออกได้ หลังก่อตั้งองค์การไปแล้ว 20 ปี โดยจะต้องแจ้งให้ทราบล่วงหน้าเป็นเวลาอย่างน้อย 1 ปี</span> </span></span></span></span></span></span></span></span></li>\n</ul>\n<p> <span style=\"font-size: medium; font-family: andale mono,times\"><span style=\"font-size: large\"><span style=\"font-family: andale mono,times\"><span style=\"font-size: x-large\"><span style=\"color: #000000\"><span style=\"color: #000000\"><span style=\"font-size: large\"><span style=\"font-family: andale mono,times\"><span style=\"color: #008000\"><b><span style=\"font-size: large\"><u>ฐานะขององค์การสนธิสัญญาแอตแลนติกเหนือ ในปัจจุบัน</u></span> </b><br />\n </span>  <span style=\"color: #800080\">  จุดมุ่งหมายของ NATO เมื่อแรกก่อตั้งคือ การรวมกลุ่มพันธมิตรทางการทหารเพื่อถ่วงดุลอำนาจกับสหภาพโซเวียตในยุคสงครามเย็น (The Cold War) นับตั้งแต่หลังสงครามโลกครั้งที่ 2 เป็นต้นมา <b>ในปัจจุบัน สงครามเย็นได้สิ้นสุดลงแล้ว </b>เพราะการล่มสลายของสหภาพโซเวียต และลัทธิคอมมิวนิสต์ในยุโรปตะวันออก จึงทำให้บทบาทความสำคัญของ NATO ทางด้านการทหารปัจจุบันลดลงไปด้วย</span> <br />\n  </span></span></span></span></span></span></span></span>\n </p>\n<p> <span style=\"color: #000000\"><span style=\"font-size: large\"><span style=\"font-family: andale mono,times\"><span style=\"font-size: x-large\"><span style=\"color: #000000\"><span style=\"font-size: large; font-family: andale mono,times\"></span></span></span></span></span></span></p></td>\n</tr>\n</tbody>\n</table>\n<p>\n<span style=\"font-size: large\"><span style=\"font-family: andale mono,times\"><span style=\"font-size: x-large\"><span style=\"color: #000000\"><span style=\"color: #000000\"><span style=\"font-size: large\"><span style=\"font-family: andale mono,times\"><span style=\"font-size: medium; color: #000080; font-family: andale mono,times\">     <span style=\"color: #0000ff\">กติกาสำคัญของสนธิสัญญานี้ คือ ถ้าประเทศหนึ่งประเทศใดแห่งสนธิสัญญานี้ถูกโจมตี ให้ถือว่าทุกประเทศถูกศัตรูรุกราน และเป็นภาระที่สมาชิกทุกประเทศจะต้องร่วมมือกันต่อสู้และป้องกันตัวเอง</span><br />\n    </span> </span></span></span></span></span></span></span>\n</p>\n<p>\n<span style=\"font-size: medium; color: #000080; font-family: andale mono,times\"><span style=\"font-size: large; font-family: andale mono,times\"><span style=\"font-size: x-large; color: #000000\"><span style=\"font-size: large; color: #000000; font-family: andale mono,times\"></span></span></span></span>\n</p>\n<p>\n<span style=\"font-size: large\"><span style=\"font-family: andale mono,times\"><span style=\"font-size: x-large\"><span style=\"color: #000000\"><span style=\"color: #000000\"><span style=\"font-size: large\"><span style=\"font-family: andale mono,times\"><strong><span style=\"font-size: large; color: #000080; font-family: andale mono,times\"><u>การขยายสมาชิกภาพของนาโต้</u></span></strong> </span></span></span></span></span></span></span>\n</p>\n<ul>\n<li><span style=\"font-size: medium; color: #993300; font-family: andale mono,times\"><span style=\"font-size: large; font-family: andale mono,times\"><span style=\"font-size: x-large; color: #000000\"><span style=\"font-size: large; color: #000000; font-family: andale mono,times\">ระหว่างปี 2495 – 2525 นาโต้รับสมาชิกใหม่ 4 ประเทศ ได้แก่ กรีซ ตุรกี เยอรมนี และสเปน        </span></span></span></span></li>\n<li><span style=\"font-size: medium; color: #993300; font-family: andale mono,times\"><span style=\"font-size: large; font-family: andale mono,times\"><span style=\"font-size: x-large; color: #000000\"><span style=\"font-size: large; color: #000000; font-family: andale mono,times\">เมื่อวันที่ 12 มี.ค. 2542 นาโต้รับสมาชิกเพิ่มอีก 3 ประเทศ คือ เช็ก ฮังการี และโปแลนด์ </span></span></span></span></li>\n<li><span style=\"font-size: medium; color: #993300; font-family: andale mono,times\"><span style=\"font-size: large; font-family: andale mono,times\"><span style=\"font-size: x-large; color: #000000\"><span style=\"font-size: large; color: #000000; font-family: andale mono,times\">เมื่อวันที่ 26 มี.ค. 2547 สมาชิกนาโต้ลงนามในพิธีสารว่าด้วยการรับสมาชิกใหม่ ที่กรุงบรัสเซลส์ โดยเพิ่มประเทศในเขตยุโรปตะวันออกอีก 7 ประเทศ ได้แก่ บัลแกเรีย เอสโตเนีย ลัตเวีย ลิทัวเนีย สโลวาเกีย สโลวีเนีย และโรมาเนีย ซึ่งถือเป็นการเปิดยุคใหม่ของการเป็นพันธมิตรครั้งยิ่งใหญ่ที่สุดในประวัติศาสตร์ เพราะทำให้นาโต้มีสมาชิกที่เคยเป็นอดีตคอมมิวนิสต์ถึงร้อยละ 40 และทำให้ขอบเขตของนาโต้ขยายไปจดพรมแดนของรัสเซีย </span></span></span></span></li>\n<li><span style=\"font-size: medium; color: #800080; font-family: andale mono,times\"><span style=\"font-size: large\"><span style=\"font-family: andale mono,times\"><span style=\"font-size: x-large\"><span style=\"color: #000000\"><span style=\"color: #000000\"><span style=\"font-size: large\"><span style=\"font-family: andale mono,times\"><span style=\"color: #993300\">ปัจจุบัน นาโต้มีสมาชิก 26 ประเทศ ได้แก่ สหรัฐอเมริกา สหราชอาณาจักร แคนาดา เบลเยียม เดนมาร์ก ฝรั่งเศส ไอซ์แลนด์ อิตาลี ลักเซมเบิร์ก เนเธอร์แลนด์ นอร์เวย์ โปรตุเกส กรีซ ตุรกี เยอรมนี สเปน เช็ก ฮังการี โปแลนด์  บัลแกเรีย เอสโตเนีย ลัตเวีย ลิทัวเนีย สโลวาเกีย สโลวีเนีย และโรมาเนีย</span> </span></span></span></span></span></span></span></span></li>\n</ul>\n<p>\n<span style=\"font-size: large\"><span style=\"font-family: andale mono,times\"><span style=\"font-size: x-large\"><span style=\"color: #000000\"><span style=\"color: #000000\"><span style=\"font-size: large\"><span style=\"font-family: andale mono,times\"><strong><span style=\"color: #990000\"><span style=\"font-size: large; color: #ff00ff; font-family: andale mono,times\"><u>โครงสร้าง</u></span></span></strong> </span></span></span></span></span></span></span>\n</p>\n<p>\n<span style=\"font-size: medium; font-family: andale mono,times\"><span style=\"font-size: large; font-family: andale mono,times\"><span style=\"font-size: x-large; color: #000000\"><span style=\"font-size: large; color: #000000; font-family: andale mono,times\">    </span></span></span><span style=\"font-size: large\"><span style=\"font-family: andale mono,times\"><span style=\"font-size: x-large\"><span style=\"color: #000000\"><span style=\"color: #000000\"><span style=\"font-size: large\"><span style=\"font-family: andale mono,times\"><span style=\"color: #008000\"> <strong>1   <span style=\"text-decoration: underline\">องค์กรฝ่ายพลเรือน</span></strong><br />\n         1.)  คณะมนตรีแอตแลนติกเหนือ (North Atlantic Council - NAC) เป็นองค์กรหลักรับผิดชอบต่อการตัดสินใจในเรื่องต่างๆ ของนาโต้ที่เกี่ยวกับการตีความสนธิสัญญาและการนำไปปฏิบัติ คณะมนตรีฯ ประกอบด้วยรัฐมนตรีว่าการกระทรวงการต่างประเทศ รัฐมนตรีว่าการกระทรวงกลาโหม หรือรัฐมนตรีว่าการกระทรวงการคลังของประเทศสมาชิก มีการประชุมอย่างน้อยปีละ 2 ครั้ง<br />\n        2.)  สำนักงานเลขาธิการนาโต้ตั้งอยู่ที่กรุงบรัสเซลส์ ประเทศเบลเยียม มีหน้าที่บริหารงานทั่วไปขององค์กร รวมถึงการวางแผนนโยบาย หัวหน้า สนง. / เลขาธิการนาโต้ คนปัจจุบัน คือ นาย Jaap de Hoop Scheffer (อดีต รมว. กต. เนเธอร์แลนด์) เข้ารับตำแหน่งเมื่อปี 2547<br />\n</span>     <br />\n  <strong>   </strong></span></span></span></span></span></span></span><span style=\"color: #0000ff\"><span style=\"font-size: large\"><span style=\"font-family: andale mono,times\"><span style=\"font-size: x-large\"><span style=\"color: #000000\"><span style=\"color: #000000\"><span style=\"font-size: large\"><span style=\"font-family: andale mono,times\"><strong>2   <span style=\"text-decoration: underline\">องค์กรฝ่ายทหาร</span></strong><br />\n         • คณะกรรมาธิการทางทหาร (The Military Committee) มีหน้าที่ให้คำแนะนำด้านการทหารแก่คณะมนตรีและผู้บัญชาการกองกำลังผสม ประกอบด้วยเสนาธิการทหารของทุกประเทศภาคี ยกเว้นฝรั่งเศส และไอซ์แลนด์ (ซึ่งไม่มีกำลังทหาร) มีการประชุมอย่างน้อยปีละ 2 ครั้ง โดยนาโต้ได้แบ่งเขตยุทธศาสตร์ตามภูมิศาสตร์เป็น 3 เขต คือ<br />\n           1.) เขตยุโรป (The European Command) อยู่ภายใต้การดูแลของผู้บัญชาการกองกำลังผสมยุโรป (Supreme Allied Commander Europe - SACEUR) โดยมีกองบัญชาการ เรียกว่า Supreme Headquaters Allied Powers Europe (SHAPE) ประกอบด้วยกองกำลังเคลื่อนที่เร็วจากประเทศสมาชิก ซึ่งพร้อมจะปฏิบัติการได้ทันที เขตการรับผิดชอบ คือ แอฟริกาเหนือ เมดิเตอร์เรเนียน ยุโรปกลาง และยุโรปเหนือ ยกเว้นโปรตุเกส และสหราชอาณาจักร SHAPE มีกองบัญชาการย่อยในยุโรปเหนือที่เมืองโคสชัส ประเทศนอรเวย์ ในยุโรปกลางที่เมืองบรุนส์ชุน ประเทศเนเธอร์แลนด์ ในยุโรปใต้ที่เมือง Naples ประเทศอิตาลี<br />\n           2.) เขตแอตแลนติก (The Atlantic Ocean Command) อยู่ภายใต้การดูแลของ Supreme Allied Commander Atlantic (SACLANT) เขตการรับผิดชอบตั้งแต่ขั้วโลกเหนือถึงเส้น Tropic of Cancer และจากฝั่งสหรัฐอเมริกาถึงยุโรป SACLANT มีหน้าที่หลักในการพิทักษ์เส้นทางเดินเรือในเขตแอตแลนติก ซึ่งเน้นลักษณะการปฏิบัติการกองกำลังทัพเรือแอตแลนติก (Standing Naval Force Atlantic -- STANA RR LNT) มีกองบัญชาการตั้งอยู่ที่ Norfolk สหรัฐฯ<br />\n           3.) เขตช่องแคบ (The Channel Command) อยู่ภายใต้การดูแลของ Allied Commander in Chief Channel – CINCHAN) เขตการรับผิดชอบบริเวณช่องแคบอังกฤษ และทะเลเหนือตอนใต้ ทำหน้าที่คุ้มครองป้องกันเรือพาณิชย์ในเขตประสานงานกับ SACEUR ในการป้องกันภัยทางอากาศในเขตช่องแคบ CINCHAN มีกองกำลังเรือรบอยู่ภายใต้การควบคุมเรียกว่า Standing Naval Force Channel (STANAFORCHAN) มีกองบัญชาการอยู่ที่ Nortwood สหราชอาณาจักร</span></span></span></span></span></span></span></span></span><span style=\"font-size: large; font-family: andale mono,times\"><span style=\"font-size: x-large; color: #000000\"><span style=\"font-size: large; color: #000000; font-family: andale mono,times\"> </span></span></span>\n</p>\n<p>\n<span style=\"font-size: large\"><span style=\"font-family: andale mono,times\"><span style=\"font-size: x-large\"><span style=\"color: #000000\"><span style=\"color: #000000\"><span style=\"font-size: large\"><span style=\"font-family: andale mono,times\"><strong><span style=\"color: #990000\"><span style=\"font-size: large; color: #008080; font-family: andale mono,times\"><u>นโยบายของนาโต้ยุคหลังสงครามเย็น</u></span></span></strong> </span></span></span></span></span></span></span>\n</p>\n<p>\n<span style=\"font-size: medium; font-family: andale mono,times\"><span style=\"font-size: large; font-family: andale mono,times\"><span style=\"font-size: x-large; color: #000000\"><span style=\"font-size: large; color: #000000; font-family: andale mono,times\">         </span></span></span><span style=\"color: #ff0000\"><span style=\"font-size: large; font-family: andale mono,times\"><span style=\"font-size: x-large; color: #000000\"><span style=\"font-size: large; color: #000000; font-family: andale mono,times\">หลังจากที่สงครามเย็นสิ้นสุดลง นาโต้ได้ปรับเปลี่ยนโครงสร้างและปรับปรุงนโยบายในหลายๆ ด้านเพื่อให้สอดคล้องกับการเปลี่ยนแปลงในยุโรปกลางและยุโรปตะวันออก ดังนี้<br />\n         1.) การให้ความสำคัญแก่ปฏิบัติการรักษาสันติภาพ (Peace-keeping) ได้แก่ การ   สร้างความเข้าใจในกระบวนการรักษาสันติภาพ การสร้างความร่วมมือ การวางแผน และการสร้างความสัมพันธ์กับองค์การสหประชาชาติ และองค์การว่าด้วยความมั่นคงและความร่วมมือในยุโรป (OSCE) ในกระบวนการดังกล่าว รวมทั้งการประสานงานระหว่างฝ่ายพลเรือนกับฝ่ายทหารโดยคำนึงถึงหลักมนุษยธรรม<br />\n         2.) การหาแนวทางที่จะส่งเสริมความสัมพันธ์กับรัสเซีย โดยมุ่งเน้นให้รัสเซียมีบทบาทสำคัญและสร้างสรรค์ในการสร้างเสถียรภาพในยุโรปในกรอบกว้าง <br />\n         3.) การปรับบทบาททางการทหารให้เอื้อต่อสภาพความเป็นอยู่ที่ดีของประชาชนการดำเนินนโยบายทางด้านความมั่นคงที่เอื้อต่อพัฒนาการทางด้านเศรษฐกิจ และการจัดสรรงบประมาณที่เหมาะสม ระหว่างงบประมาณด้านการทหารและงบประมาณด้านเศรษฐกิจของประเทศ<br />\n        4.) ความร่วมมือในโครงการวิทยาศาสตร์ต่าง ๆ โดยเฉพาะด้านสิ่งแวดล้อม<br />\n        5.) การเสริมสร้างความไว้เนื้อเชื่อใจและการพัฒนาความร่วมมือกับประเทศที่ไม่ใช่สมาชิก</span></span></span></span></span><span style=\"font-size: large; font-family: andale mono,times\"><span style=\"font-size: x-large; color: #000000\"><span style=\"font-size: large; color: #000000; font-family: andale mono,times\"> </span></span></span>\n</p>\n<p>\n<span style=\"font-size: medium; font-family: andale mono,times\"><span style=\"font-size: large; font-family: andale mono,times\"><span style=\"font-size: x-large; color: #000000\"><span style=\"font-size: large; color: #000000; font-family: andale mono,times\"></span></span></span></span>\n</p>\n<p>\n<span style=\"font-size: large\"><span style=\"font-family: andale mono,times\"><span style=\"font-size: x-large\"><span style=\"color: #000000\"><span style=\"color: #000000\"><span style=\"font-size: large\"><span style=\"font-family: andale mono,times\"><strong><span style=\"color: #990000\"><span style=\"font-size: large; color: #800080; font-family: andale mono,times\"><u>ความสัมพันธ์ไทย-นาโต้</u></span></span></strong> </span></span></span></span></span></span></span>\n</p>\n<p>\n<span style=\"font-size: medium; font-family: andale mono,times\"><span style=\"font-size: large; font-family: andale mono,times\"><span style=\"font-size: x-large; color: #000000\"><span style=\"font-size: large; color: #000000; font-family: andale mono,times\">        </span></span></span><span style=\"color: #33cccc\"><span style=\"font-size: large; font-family: andale mono,times\"><span style=\"font-size: x-large; color: #000000\"><span style=\"font-size: large; color: #000000; font-family: andale mono,times\">เมื่อวันที่ 19 ต.ค. 2546 ในระหว่างการเยือนประเทศไทยอย่างเป็นทางการ ประธานาธิบดีจอร์จ บุช แห่งสหรัฐอเมริกาได้ประกาศให้ไทยเป็น “ชาติพันธมิตรหลักนอกกลุ่มนาโต้” (Major Non-NATO Ally -- MNNA) การได้รับสถานะดังกล่าวไม่ได้หมายถึงการมีหลักประกันด้านความมั่นคงและการป้องกันประเทศร่วมกันเช่นเดียวกับที่สหรัฐฯมีกับประเทศสมาชิกนาโต้ แต่เป็นการแสดงให้เห็นถึงความสําคัญที่สหรัฐฯ ให้แก่ความสัมพันธ์ในลักษณะพันธมิตรกับประเทศไทยในศตวรรษที่ 21 <br />\n         <br />\n</span></span></span></span></span>\n</p>\n', created = 1719971766, expire = 1720058166, headers = '', serialized = 0 WHERE cid = '3:38e424e2915bb30a7588aeaa9c0bd5e6' in /home/tgv/htdocs/includes/cache.inc on line 112.

สนธิสัญญาแอตแลนติกเหนือ

องค์การสนธิสัญญาแอตแลนติกเหนือ

(North Atlantic Treaty Organization หรือ NATO) 

 
ก่อตั้งขึ้นเมื่อ 4 เมษายน พ.ศ. 2492 เมื่อประเทศภาคีสมาชิก ลงนามในสนธิสัญญาร่วมป้องกันภูมิภาคแอตแลนติกเหนือ ประกอบด้วย อังกฤษ ฝรั่งเศส เบลเยียม เนเธอร์แลนด์ ลักเซมเบิร์ก สหรัฐอเมริกา แคนาดา เดนมาร์ก ไอซ์แลนด์ อิตาลี นอร์เวย์และโปรตุเกส เดือนกุมภาพันธ์ พ.ศ. 2493 กรีซ และตุรกี เข้าร่วมเป็นสมาชิก ในปี พ.ศ. 2498 เยอรมนีตะวันตกเข้าร่วมเป็นสมาชิก การก่อตั้งองค์การสนธิสัญญาแอตแลนติกเหนือ เป็นการร่วมมือทางทหารเพื่อสกัดกั้นอิทธิพลของของอดีตสหภาพโซเวียต และต่อต้านสนธิสัญญาวอร์ซอ เป็นผลของความขัดแย้งระหว่างโลกเสรี ซึ่งมีสหรัฐอเมริกาเป็นผู้นำ และโลกคอมมิวนิสต์ นำโดยอดีตสหภาพโซเวียต

วัตถุประสงค์ และสาระสำคัญ

  • สร้างความมั่นคงร่วมกันระหว่างกลุ่มประเทศประชาธิปไตยในยุโรป ด้วยความร่วมมือและช่วยเหลือของสหรัฐอเมริกา แคนาดา
  • สำนักงานใหญ่ขององค์การนี้ตั้งอยู่ที่กรุงบรัสเซลส์ ประเทศเบลเยียม
  • กติกาสำคัญของสัญญานี้ กล่าวว่า ถ้าประเทศหนึ่งประเทศใดแห่งสมาชิกสัญญานี้ ถูกโจมตี ให้ถือว่าทุกประเทศถูกศัตรูรุกราน ซึ่งเป็นภาระที่ต้องร่วมมือกันต่อสู้ และป้องกันตัวเองของประเทศสมาชิก
  • สนธิสัญญานี้ ไม่มีการจำกัดอายุ แต่ภาคีสมาชิกอาจลาออกได้ หลังก่อตั้งองค์การไปแล้ว 20 ปี โดยจะต้องแจ้งให้ทราบล่วงหน้าเป็นเวลาอย่างน้อย 1 ปี

ฐานะขององค์การสนธิสัญญาแอตแลนติกเหนือ ในปัจจุบัน
    จุดมุ่งหมายของ NATO เมื่อแรกก่อตั้งคือ การรวมกลุ่มพันธมิตรทางการทหารเพื่อถ่วงดุลอำนาจกับสหภาพโซเวียตในยุคสงครามเย็น (The Cold War) นับตั้งแต่หลังสงครามโลกครั้งที่ 2 เป็นต้นมา ในปัจจุบัน สงครามเย็นได้สิ้นสุดลงแล้ว เพราะการล่มสลายของสหภาพโซเวียต และลัทธิคอมมิวนิสต์ในยุโรปตะวันออก จึงทำให้บทบาทความสำคัญของ NATO ทางด้านการทหารปัจจุบันลดลงไปด้วย
 

     กติกาสำคัญของสนธิสัญญานี้ คือ ถ้าประเทศหนึ่งประเทศใดแห่งสนธิสัญญานี้ถูกโจมตี ให้ถือว่าทุกประเทศถูกศัตรูรุกราน และเป็นภาระที่สมาชิกทุกประเทศจะต้องร่วมมือกันต่อสู้และป้องกันตัวเอง
    

การขยายสมาชิกภาพของนาโต้

  • ระหว่างปี 2495 – 2525 นาโต้รับสมาชิกใหม่ 4 ประเทศ ได้แก่ กรีซ ตุรกี เยอรมนี และสเปน       
  • เมื่อวันที่ 12 มี.ค. 2542 นาโต้รับสมาชิกเพิ่มอีก 3 ประเทศ คือ เช็ก ฮังการี และโปแลนด์
  • เมื่อวันที่ 26 มี.ค. 2547 สมาชิกนาโต้ลงนามในพิธีสารว่าด้วยการรับสมาชิกใหม่ ที่กรุงบรัสเซลส์ โดยเพิ่มประเทศในเขตยุโรปตะวันออกอีก 7 ประเทศ ได้แก่ บัลแกเรีย เอสโตเนีย ลัตเวีย ลิทัวเนีย สโลวาเกีย สโลวีเนีย และโรมาเนีย ซึ่งถือเป็นการเปิดยุคใหม่ของการเป็นพันธมิตรครั้งยิ่งใหญ่ที่สุดในประวัติศาสตร์ เพราะทำให้นาโต้มีสมาชิกที่เคยเป็นอดีตคอมมิวนิสต์ถึงร้อยละ 40 และทำให้ขอบเขตของนาโต้ขยายไปจดพรมแดนของรัสเซีย
  • ปัจจุบัน นาโต้มีสมาชิก 26 ประเทศ ได้แก่ สหรัฐอเมริกา สหราชอาณาจักร แคนาดา เบลเยียม เดนมาร์ก ฝรั่งเศส ไอซ์แลนด์ อิตาลี ลักเซมเบิร์ก เนเธอร์แลนด์ นอร์เวย์ โปรตุเกส กรีซ ตุรกี เยอรมนี สเปน เช็ก ฮังการี โปแลนด์  บัลแกเรีย เอสโตเนีย ลัตเวีย ลิทัวเนีย สโลวาเกีย สโลวีเนีย และโรมาเนีย

โครงสร้าง

     1   องค์กรฝ่ายพลเรือน
         1.)  คณะมนตรีแอตแลนติกเหนือ (North Atlantic Council - NAC) เป็นองค์กรหลักรับผิดชอบต่อการตัดสินใจในเรื่องต่างๆ ของนาโต้ที่เกี่ยวกับการตีความสนธิสัญญาและการนำไปปฏิบัติ คณะมนตรีฯ ประกอบด้วยรัฐมนตรีว่าการกระทรวงการต่างประเทศ รัฐมนตรีว่าการกระทรวงกลาโหม หรือรัฐมนตรีว่าการกระทรวงการคลังของประเทศสมาชิก มีการประชุมอย่างน้อยปีละ 2 ครั้ง
        2.)  สำนักงานเลขาธิการนาโต้ตั้งอยู่ที่กรุงบรัสเซลส์ ประเทศเบลเยียม มีหน้าที่บริหารงานทั่วไปขององค์กร รวมถึงการวางแผนนโยบาย หัวหน้า สนง. / เลขาธิการนาโต้ คนปัจจุบัน คือ นาย Jaap de Hoop Scheffer (อดีต รมว. กต. เนเธอร์แลนด์) เข้ารับตำแหน่งเมื่อปี 2547
    
    
2   องค์กรฝ่ายทหาร
         • คณะกรรมาธิการทางทหาร (The Military Committee) มีหน้าที่ให้คำแนะนำด้านการทหารแก่คณะมนตรีและผู้บัญชาการกองกำลังผสม ประกอบด้วยเสนาธิการทหารของทุกประเทศภาคี ยกเว้นฝรั่งเศส และไอซ์แลนด์ (ซึ่งไม่มีกำลังทหาร) มีการประชุมอย่างน้อยปีละ 2 ครั้ง โดยนาโต้ได้แบ่งเขตยุทธศาสตร์ตามภูมิศาสตร์เป็น 3 เขต คือ
           1.) เขตยุโรป (The European Command) อยู่ภายใต้การดูแลของผู้บัญชาการกองกำลังผสมยุโรป (Supreme Allied Commander Europe - SACEUR) โดยมีกองบัญชาการ เรียกว่า Supreme Headquaters Allied Powers Europe (SHAPE) ประกอบด้วยกองกำลังเคลื่อนที่เร็วจากประเทศสมาชิก ซึ่งพร้อมจะปฏิบัติการได้ทันที เขตการรับผิดชอบ คือ แอฟริกาเหนือ เมดิเตอร์เรเนียน ยุโรปกลาง และยุโรปเหนือ ยกเว้นโปรตุเกส และสหราชอาณาจักร SHAPE มีกองบัญชาการย่อยในยุโรปเหนือที่เมืองโคสชัส ประเทศนอรเวย์ ในยุโรปกลางที่เมืองบรุนส์ชุน ประเทศเนเธอร์แลนด์ ในยุโรปใต้ที่เมือง Naples ประเทศอิตาลี
           2.) เขตแอตแลนติก (The Atlantic Ocean Command) อยู่ภายใต้การดูแลของ Supreme Allied Commander Atlantic (SACLANT) เขตการรับผิดชอบตั้งแต่ขั้วโลกเหนือถึงเส้น Tropic of Cancer และจากฝั่งสหรัฐอเมริกาถึงยุโรป SACLANT มีหน้าที่หลักในการพิทักษ์เส้นทางเดินเรือในเขตแอตแลนติก ซึ่งเน้นลักษณะการปฏิบัติการกองกำลังทัพเรือแอตแลนติก (Standing Naval Force Atlantic -- STANA RR LNT) มีกองบัญชาการตั้งอยู่ที่ Norfolk สหรัฐฯ
           3.) เขตช่องแคบ (The Channel Command) อยู่ภายใต้การดูแลของ Allied Commander in Chief Channel – CINCHAN) เขตการรับผิดชอบบริเวณช่องแคบอังกฤษ และทะเลเหนือตอนใต้ ทำหน้าที่คุ้มครองป้องกันเรือพาณิชย์ในเขตประสานงานกับ SACEUR ในการป้องกันภัยทางอากาศในเขตช่องแคบ CINCHAN มีกองกำลังเรือรบอยู่ภายใต้การควบคุมเรียกว่า Standing Naval Force Channel (STANAFORCHAN) มีกองบัญชาการอยู่ที่ Nortwood สหราชอาณาจักร

นโยบายของนาโต้ยุคหลังสงครามเย็น

         หลังจากที่สงครามเย็นสิ้นสุดลง นาโต้ได้ปรับเปลี่ยนโครงสร้างและปรับปรุงนโยบายในหลายๆ ด้านเพื่อให้สอดคล้องกับการเปลี่ยนแปลงในยุโรปกลางและยุโรปตะวันออก ดังนี้
         1.) การให้ความสำคัญแก่ปฏิบัติการรักษาสันติภาพ (Peace-keeping) ได้แก่ การ   สร้างความเข้าใจในกระบวนการรักษาสันติภาพ การสร้างความร่วมมือ การวางแผน และการสร้างความสัมพันธ์กับองค์การสหประชาชาติ และองค์การว่าด้วยความมั่นคงและความร่วมมือในยุโรป (OSCE) ในกระบวนการดังกล่าว รวมทั้งการประสานงานระหว่างฝ่ายพลเรือนกับฝ่ายทหารโดยคำนึงถึงหลักมนุษยธรรม
         2.) การหาแนวทางที่จะส่งเสริมความสัมพันธ์กับรัสเซีย โดยมุ่งเน้นให้รัสเซียมีบทบาทสำคัญและสร้างสรรค์ในการสร้างเสถียรภาพในยุโรปในกรอบกว้าง
         3.) การปรับบทบาททางการทหารให้เอื้อต่อสภาพความเป็นอยู่ที่ดีของประชาชนการดำเนินนโยบายทางด้านความมั่นคงที่เอื้อต่อพัฒนาการทางด้านเศรษฐกิจ และการจัดสรรงบประมาณที่เหมาะสม ระหว่างงบประมาณด้านการทหารและงบประมาณด้านเศรษฐกิจของประเทศ
        4.) ความร่วมมือในโครงการวิทยาศาสตร์ต่าง ๆ โดยเฉพาะด้านสิ่งแวดล้อม
        5.) การเสริมสร้างความไว้เนื้อเชื่อใจและการพัฒนาความร่วมมือกับประเทศที่ไม่ใช่สมาชิก

ความสัมพันธ์ไทย-นาโต้

        เมื่อวันที่ 19 ต.ค. 2546 ในระหว่างการเยือนประเทศไทยอย่างเป็นทางการ ประธานาธิบดีจอร์จ บุช แห่งสหรัฐอเมริกาได้ประกาศให้ไทยเป็น “ชาติพันธมิตรหลักนอกกลุ่มนาโต้” (Major Non-NATO Ally -- MNNA) การได้รับสถานะดังกล่าวไม่ได้หมายถึงการมีหลักประกันด้านความมั่นคงและการป้องกันประเทศร่วมกันเช่นเดียวกับที่สหรัฐฯมีกับประเทศสมาชิกนาโต้ แต่เป็นการแสดงให้เห็นถึงความสําคัญที่สหรัฐฯ ให้แก่ความสัมพันธ์ในลักษณะพันธมิตรกับประเทศไทยในศตวรรษที่ 21 
         

สร้างโดย: 
นางสาว สรรศิริ เพริศพรายวงศ์

มหาวิทยาลัยศรีปทุม ผู้ใหญ่ใจดี
 

 ช่วยด้วยครับ
นักเรียนที่สร้างบล็อก กรุณาอย่า
คัดลอกข้อมูลจากเว็บอื่นทั้งหมด
ควรนำมาจากหลายๆ เว็บ แล้ววิเคราะห์ สังเคราะห์ และเขียนขึ้นใหม่
หากคัดลอกทั้งหมด จะถูกดำเนินคดี
ตามกฎหมายจากเจ้าของลิขสิทธิ์
มีโทษทั้งจำคุกและปรับในอัตราสูง

ช่วยกันนะครับ 
ไทยกู๊ดวิวจะได้อยู่นานๆ 
ไม่ถูกปิดเสียก่อน

ขอขอบคุณในความร่วมมือครับ

อ่านรายละเอียด

ด่วน...... ขณะนี้
พระราชบัญญัติลิขสิทธิ์ (ฉบับที่ 2) พ.ศ. 2558 
มีผลบังคับใช้แล้ว 
ขอให้นักเรียนและคุณครูที่ใช้งาน
เว็บ thaigoodview ในการส่งการบ้าน
ระมัดระวังการละเมิดลิขสิทธิ์ด้วย
อ่านรายละเอียดที่นี่ครับ

 

สมาชิกที่ออนไลน์

ขณะนี้มี สมาชิก 0 คน และ ผู้เยี่ยมชม 426 คน กำลังออนไลน์