• user warning: Table 'cache_filter' is marked as crashed and should be repaired query: SELECT data, created, headers, expire, serialized FROM cache_filter WHERE cid = '3:173e47353fb0edd0e7b5608ddf34e641' in /home/tgv/htdocs/includes/cache.inc on line 27.
  • user warning: Table 'cache_filter' is marked as crashed and should be repaired query: UPDATE cache_filter SET data = '<!--paging_filter--><p>\n♥                                                   <span style=\"font-size: medium\">      <span style=\"color: #ff9900\">    <img src=\"/sites/all/modules/tinymce/tinymce/jscripts/tiny_mce/plugins/emotions/images/smiley-sealed.gif\" alt=\"Sealed\" title=\"Sealed\" border=\"0\" />  <b>สามัคคีเภทคำฉันท์  <img src=\"/sites/all/modules/tinymce/tinymce/jscripts/tiny_mce/plugins/emotions/images/smiley-wink.gif\" alt=\"Wink\" title=\"Wink\" border=\"0\" /></b></span><br />\n<span style=\"color: #ff00ff\">ผู้แต่ง</span> นาย ชิต บุรทัต<br />\n<span style=\"color: #ff00ff\">วัตถุประสงค์</span>  <br />\nเพื่อมุ่งชี้ความสำคัญของการรวมเป็นหมู่คณะ  เป็นน้ำหนึ่งใจเดียวกันเพื่อป้องกันรักษาบ้านเมืองให้มีความเป็นปึกแผ่น <br />\n<span style=\"color: #ff00ff\">ประวัติของเรื่อง</span> <img src=\"/sites/all/modules/tinymce/tinymce/jscripts/tiny_mce/plugins/emotions/images/smiley-innocent.gif\" alt=\"Innocent\" title=\"Innocent\" border=\"0\" /> <img src=\"/sites/all/modules/tinymce/tinymce/jscripts/tiny_mce/plugins/emotions/images/smiley-cool.gif\" alt=\"Cool\" title=\"Cool\" border=\"0\" /><br />\nในสมัยรัชกาลที่6 เกิดเหตุการณ์ต่างๆ เช่น สงครามโลกครั้งที่1กบฏ ร.ศ.130 ทำให้เกิดความตื่นตัวทางความคิด มีความเห็นเกี่ยวกับการดำเนินการบ้านเมืองแตกต่างกันเป็นหลายฝ่าย จึงทำให้ส่งผลกระทบต่อความไม่มั่นคงของบ้านเมือง ในภาวะดังกล่าวจึงมีการแต่งวรรณคดีปลุกใจให้มีการรักษาขึ้นโดยเรื่องสามัคคีเภทแต่งขึ้นในปี พ.ศ 2457 โดยมุ่งเน้นความสำคัญของความสามัคคีเพื่อรักษาบ้านเมือง<br />\n<span style=\"color: #ff00ff\">   <br />\nเนื้อเรื่อง</span>   <img src=\"/sites/all/modules/tinymce/tinymce/jscripts/tiny_mce/plugins/emotions/images/smiley-frown.gif\" alt=\"Frown\" title=\"Frown\" border=\"0\" /><br />\nพระเจ้าอชาตศัตรูแห่งแคว้นมคธมีพระประสงค์จะขยายอาณาจักรให้กว้างขวางแคว้นที่หมายตาคือแควันวัชชีของเหล่ากษัตริย์ลิจฉวีเป็นแคว้นขนาดใหญ่และเจริญกว่าแคว้นใดในสมัยนั้นผู้ใดครอบครองได้ย่อมแสดงความยิ่งใหญ่ของกษัตริย์พระองค์นั้น <br />\nเหล่ากษัตริย์ลิจฉวีแห่งแคว้นวัชชีร่วมกันปกครองแคว้นโดยสมัคคีธรรมกษัตริย์แต่พระองค์มีพระโอรสบริวารตลอดจนดินแดนของพระองค์ทรงมีฐานะเสมอกันทรงยกย่องให้เกียรติกันไม่ว่าจะทำกิจใด ๆ ก็ทรงปรึกษาหารือกันที่สำคัญคือทรงยึดมั่นในอปริหานิยธรรมซึ่งเน้นความสามัคคีธรรมเป็นหลักหากทุกโจมตีเหล่ากษัตริย์ลิจฉวีก็จะทรงร่วมกันต่อสู้จนฝ่ายศัตรูพ่ายแพ้ไปการทำสงครามกับแคว้นวัชชีจึงไม่ใช่เรื่องง่ายต้องใช้ปัญญาไม่ใช้กำลังพระเจ้าอชาตศัตรูทรงมีปุโรหิตที่ปรึกษาชื่อวัสสการพราหมณ์เป็นผู้รอบรู้ศิลปศาสตร์และมีสติปัญญาเฉียบแหลมวัสสการพราหมณ์กราบทูลให้ทรงใช้อุบายในการตีแคว้นวัชชีโดยอาสาเป็นไส้ศึกไปยุ่งยงเหล่ากษัตริย์ลิจฉวีให้ทรงแตกความสามัคคี<br />\nพระเจ้าอชาตศัตรูเห็นชอบวัสสการพราหมณ์จึงเริ่มใช้แผนการโดยการทูลคัดค้านการไปตีแคว้นวัชชีพระเจ้าอชาตศัตรูแสร้งกริ้วทรงสั่งให้ลงโทษวัสสการพราหมณ์อย่างหนักและเนรเทศไป  วัสสการพราหมณ์มุ่งหน้าไปเมืองเวสาลีเพื่อขอรับราชการด้วยความเป็นผู้มีวาทศิลป์รู้จักใช้เหตุผลโน้มน้าวใจทำให้เหล่ากษัตริย์ลิจฉวีหลงเชื่อรับวัสสการพราหมณ์ไว้ในพระราชสำนักให้ทำที่พิจารณาคดีความและถวายพระอักษรเหล่าพระกุมารเมื่อทำหน้าที่เต็มความสามารถให้เป็นที่ไว้วางใจแล้ว  วัสสการพราหมณ์เริ่มสร้างความแคลงใจในเหล่าพระกุมารโดยออกอุบายให้พระกุมารเข้าใจผิดว่าพระกุมารพระองค์อื่นนำปมด้อยของตนไปเหล่าให้ผู้อื่นทราบทำให้เสียชื่อ  เหล่าพระกุมารนำความไปกราบทูลพระบิดาต่างก็เชื่อพระโอรสของพระองค์ทำให้เกิดความขุ่นเคืองกันทั่วไปในหมู่กษัตริย์ลิจฉวี  เมื่อเวลาผ่านไป 3 ปี สามัคคีพราหมณ์ในหมู่กษัตริย์ลิจฉวีก็สูญสิ้นไป  <br />\nวัสสการพราหมณ์ทดสอบด้วยการตีกลองนัดประชุมก็ไม่ปรากฎว่ามีกษัตริย์ลิจฉวีเข้าร่วมประชุมวัสสการพราหมณ์เห็นว่าแผนการเป็นผลสำเร็จจึงลอบส่งข่าวไปกราบทูลพระเจ้าอชาตศัตรูให้ทรงยกทัพมาตีแคว้นวัชชี  ชาวเมืองวัชชีต่างตื่นตระหนกเมื่อทราบข่าวศึก<br />\nแต่เหล่ากษัตริย์ลิจฉวีต่างทรงถือทิฐิไม่มีผู้ใดวางแผนป้องกันภัยดังนั้นเมื่อกองทัพของแคว้นมคธถึงเมืองสาลีจึงยกทัพเข้าเมืองได้ง่ายใดและผู้ที่เปิดประตูเมืองให้กองทัพมคธก็คือวัสสการพราหมณ์นั่นเอง</span>\n</p>\n<p>\n<span style=\"font-size: medium\">              สามัคคีเภทคำฉันท์เป็นนิทานสุภาษิตสอนใจให้เห็นโทษของการแตกความสามัคคีที่ไม่ได้มีผลกระทบต่อบุคคลเท่านั้นแต่ยังส่งผลถึงสังคมส่วนรวมด้วย  นอกจากนี้ยังแสดงให้เห็นความสำคัญของการใช้สติปัญญาให้เกิดผลโดยไม่ต้องใช้กำลังอีกด้วย</span>\n</p>\n<p>\n<span style=\"font-size: medium; color: #ff00ff\">แก่นเรื่อง<img src=\"/sites/all/modules/tinymce/tinymce/jscripts/tiny_mce/plugins/emotions/images/smiley-laughing.gif\" alt=\"Laughing\" title=\"Laughing\" border=\"0\" /></span>\n</p>\n<p>\n<span style=\"font-size: medium\">1. โทษของการแตกสามัคคี<br />\n2. การใช้สติปัญญาเอาชนะฝ่ายศัตรู<br />\n3. การใช้วิจารณญานก่อนที่จะตัดสินใจทำสิ่งใดย่อมเป็นการดี<br />\n4. การถือความคิดของตนเป็นใหญ่และทะนงตนว่าดีกว่าผู้อื่น ย่อมทำให้เกิดความเสียหายต่อส่วนรวม</span>\n</p>\n<p>\n<span style=\"font-size: medium\"><br />\n<span style=\"color: #ff00ff\"> <img src=\"/sites/all/modules/tinymce/tinymce/jscripts/tiny_mce/plugins/emotions/images/smiley-kiss.gif\" alt=\"Kiss\" title=\"Kiss\" border=\"0\" />วิเคราะห์ตัวละคร</span> <img src=\"/sites/all/modules/tinymce/tinymce/jscripts/tiny_mce/plugins/emotions/images/smiley-kiss.gif\" alt=\"Kiss\" title=\"Kiss\" border=\"0\" /><br />\nวัสสการพราหมณ์กับกษัตริย์ลิจฉวี<br />\nวัสสการพราหมณ์เป็นตัวละครที่มีบทบาทสำคัญที่สุดในการดำเนินเรื่อง  เป็นผู้ออกอุบายวางแผนและดำเนินการยุยงจนเหล่ากษัตริย์แตกความสามัคคีทำให้อชาตศัตรูเข้าครอบครองแคว้นวัชชีได้สำเร็จ  วัสสการพราหมณ์เป็นพราหมณ์อาวุโสผู้มีความสามารถสติปัญญาดี  รอบรู้ศิลป์วิทยาการและมีวาทศิลป์เป็นที่ไว้วางใจจากฝ่ายศัตรูและสามารถโน้มน้าวเปลี่ยนความคิดของฝ่ายตรงข้ามให้เป็นไปตามแผนที่วางไว้สำเร็จ บางทรรศนะอาจเห็นว่าวัสสการพราหมณ์เป็นคนที่ขาดคุณธรรมใช้อุบายล่อลวงผู้อื่นเพื่อประโยชน์ฝ่ายตน  แต่อีกมุมหนึ่งวัสสการพราหมณ์มีคุณสมบัติที่น่ายกย่องกล่าวคือมีความจงรักภักดีต่อพระเจ้าอชาตศัตรูและบ้านเมืองเป็นอย่างมากยอมเสียสละความสุขส่วนตน  ยอมลำบากเจ็บตัว ยอมเสี่ยงไปอยู่ในหมู่ศัตรูต้องใช้ความอดทดสูงและรู้จักรักษาความลับได้ดีเพื่อให้อุบายสำเร็จ  ส่วนเหล่ากษัตริย์ลิจฉวีขาดวิจารญาณ(ญาณพิจารณ์ตรอง) จนในที่สุดทำให้แตกความสามัคคีจนเป็นเหตุให้แคว้นวัชชีตกเป็นของแคว้นมคธ</span>\n</p>\n<p>\n<span style=\"font-size: medium\"><span style=\"color: #ff00ff\">เกร็ดน่ารู้<img src=\"/sites/all/modules/tinymce/tinymce/jscripts/tiny_mce/plugins/emotions/images/smiley-innocent.gif\" alt=\"Innocent\" title=\"Innocent\" border=\"0\" /></span><br />\nอปริหานิยธรรม คือ ธรรมอันไม่เป็นที่ตั้งแห่งความเสี่ยงเป็นไปด้วยความเจริญสำหรับหมู่ชนหรือผู้บริหารบ้านเมือง  พระพุทธเจ้าตรัส<br />\nแสดงแก่เจ้าวัชชีทั้งหลายที่ปกครองรัฐโดยระบบสามัคคีธรรม  ซึ่งรัฐคู่อริยอมรับว่าเมื่อชาววัชชียังปฏิบัติธรรมหลักธรรมนี้  จะเอาชนะด้วยการรบไม่ได้ <br />\nนอกจากจะใช้การเกลี้ยกล่อมหรือยุแยกให้แตกสามัคคี<br />\nอปริหานิยมธรรมมี 7 ประการคือ <br />\n1.มั่นประชุมกันเนืองนิตย์<br />\n2.พร้อมเพรียงกันประชุม  พร้อมเพรียงกันทำกิจที่พึงทำ<br />\n3.ไม่บัญญัติสิ่งที่มิได้บัญญัติเอาไว้(ขัดต่อหลักการเดิม)  ไม่ล้มล้างสิ่งที่บัญญัติไว้<br />\n(ตามหลักการเดิม)<br />\n4.ท่านเหล่าใดเป็นผู้ใหญ่ในชนชาววัชชี  เคารพนับถือท่านเหล่านั้น เห็นถ้อยคำ  <br />\nของท่านว่าเป็นสิ่งอันควรรับฟัง<br />\n5.บรรดากุลสตรีกุลกุมารีทั้งหลายให้อยู่ดีมิให้ถูกข่มแหง<br />\n6.เคารพสักการะบูชาเจดีย์ของวัชชีทั้งหลายไม่ปล่อยให้ธรรมมิกพลีที่เคยให้เคย<br />\nทำแก่เจดีย์เหล่านั้นเสื่อมทรามไป<br />\n7.จัดการอารักขา คุ้มครอง ป้องกัน อันชอบทำแก่เหล่าพระอรหันต์ทั้งหลาย <br />\nตั้งใจว่าขอพระอรหันต์ทั้งหลายที่ยังไม่มาพึ่งมาสู่แว่นแคว้น  ที่มาแล้วพึงอยู่ใน<br />\nแว่นแคว้นโดยผาสุข</span>\n</p>\n<p>\n<span style=\"font-size: medium\"></span>\n</p>\n<p align=\"center\">\n<span style=\"font-size: medium\"> <img src=\"/sites/all/modules/tinymce/tinymce/jscripts/tiny_mce/plugins/emotions/images/smiley-cool.gif\" alt=\"Cool\" title=\"Cool\" border=\"0\" /><img src=\"/sites/all/modules/tinymce/tinymce/jscripts/tiny_mce/plugins/emotions/images/smiley-cry.gif\" alt=\"Cry\" title=\"Cry\" border=\"0\" /><img src=\"/sites/all/modules/tinymce/tinymce/jscripts/tiny_mce/plugins/emotions/images/smiley-embarassed.gif\" alt=\"Embarassed\" title=\"Embarassed\" border=\"0\" /><img src=\"/sites/all/modules/tinymce/tinymce/jscripts/tiny_mce/plugins/emotions/images/smiley-innocent.gif\" alt=\"Innocent\" title=\"Innocent\" border=\"0\" /><img src=\"/sites/all/modules/tinymce/tinymce/jscripts/tiny_mce/plugins/emotions/images/smiley-surprised.gif\" alt=\"Surprised\" title=\"Surprised\" border=\"0\" /><img src=\"/sites/all/modules/tinymce/tinymce/jscripts/tiny_mce/plugins/emotions/images/smiley-tongue-out.gif\" alt=\"Tongue out\" title=\"Tongue out\" border=\"0\" /></span>\n</p>\n<p>\n<span style=\"font-size: medium\"></span>\n</p>\n', created = 1715823220, expire = 1715909620, headers = '', serialized = 0 WHERE cid = '3:173e47353fb0edd0e7b5608ddf34e641' in /home/tgv/htdocs/includes/cache.inc on line 112.

สามัคคีเภทคำฉันท์

♥                                                             Sealed  สามัคคีเภทคำฉันท์  Wink
ผู้แต่ง นาย ชิต บุรทัต
วัตถุประสงค์ 
เพื่อมุ่งชี้ความสำคัญของการรวมเป็นหมู่คณะ  เป็นน้ำหนึ่งใจเดียวกันเพื่อป้องกันรักษาบ้านเมืองให้มีความเป็นปึกแผ่น
ประวัติของเรื่อง Innocent Cool
ในสมัยรัชกาลที่6 เกิดเหตุการณ์ต่างๆ เช่น สงครามโลกครั้งที่1กบฏ ร.ศ.130 ทำให้เกิดความตื่นตัวทางความคิด มีความเห็นเกี่ยวกับการดำเนินการบ้านเมืองแตกต่างกันเป็นหลายฝ่าย จึงทำให้ส่งผลกระทบต่อความไม่มั่นคงของบ้านเมือง ในภาวะดังกล่าวจึงมีการแต่งวรรณคดีปลุกใจให้มีการรักษาขึ้นโดยเรื่องสามัคคีเภทแต่งขึ้นในปี พ.ศ 2457 โดยมุ่งเน้นความสำคัญของความสามัคคีเพื่อรักษาบ้านเมือง
   
เนื้อเรื่อง
   Frown
พระเจ้าอชาตศัตรูแห่งแคว้นมคธมีพระประสงค์จะขยายอาณาจักรให้กว้างขวางแคว้นที่หมายตาคือแควันวัชชีของเหล่ากษัตริย์ลิจฉวีเป็นแคว้นขนาดใหญ่และเจริญกว่าแคว้นใดในสมัยนั้นผู้ใดครอบครองได้ย่อมแสดงความยิ่งใหญ่ของกษัตริย์พระองค์นั้น
เหล่ากษัตริย์ลิจฉวีแห่งแคว้นวัชชีร่วมกันปกครองแคว้นโดยสมัคคีธรรมกษัตริย์แต่พระองค์มีพระโอรสบริวารตลอดจนดินแดนของพระองค์ทรงมีฐานะเสมอกันทรงยกย่องให้เกียรติกันไม่ว่าจะทำกิจใด ๆ ก็ทรงปรึกษาหารือกันที่สำคัญคือทรงยึดมั่นในอปริหานิยธรรมซึ่งเน้นความสามัคคีธรรมเป็นหลักหากทุกโจมตีเหล่ากษัตริย์ลิจฉวีก็จะทรงร่วมกันต่อสู้จนฝ่ายศัตรูพ่ายแพ้ไปการทำสงครามกับแคว้นวัชชีจึงไม่ใช่เรื่องง่ายต้องใช้ปัญญาไม่ใช้กำลังพระเจ้าอชาตศัตรูทรงมีปุโรหิตที่ปรึกษาชื่อวัสสการพราหมณ์เป็นผู้รอบรู้ศิลปศาสตร์และมีสติปัญญาเฉียบแหลมวัสสการพราหมณ์กราบทูลให้ทรงใช้อุบายในการตีแคว้นวัชชีโดยอาสาเป็นไส้ศึกไปยุ่งยงเหล่ากษัตริย์ลิจฉวีให้ทรงแตกความสามัคคี
พระเจ้าอชาตศัตรูเห็นชอบวัสสการพราหมณ์จึงเริ่มใช้แผนการโดยการทูลคัดค้านการไปตีแคว้นวัชชีพระเจ้าอชาตศัตรูแสร้งกริ้วทรงสั่งให้ลงโทษวัสสการพราหมณ์อย่างหนักและเนรเทศไป  วัสสการพราหมณ์มุ่งหน้าไปเมืองเวสาลีเพื่อขอรับราชการด้วยความเป็นผู้มีวาทศิลป์รู้จักใช้เหตุผลโน้มน้าวใจทำให้เหล่ากษัตริย์ลิจฉวีหลงเชื่อรับวัสสการพราหมณ์ไว้ในพระราชสำนักให้ทำที่พิจารณาคดีความและถวายพระอักษรเหล่าพระกุมารเมื่อทำหน้าที่เต็มความสามารถให้เป็นที่ไว้วางใจแล้ว  วัสสการพราหมณ์เริ่มสร้างความแคลงใจในเหล่าพระกุมารโดยออกอุบายให้พระกุมารเข้าใจผิดว่าพระกุมารพระองค์อื่นนำปมด้อยของตนไปเหล่าให้ผู้อื่นทราบทำให้เสียชื่อ  เหล่าพระกุมารนำความไปกราบทูลพระบิดาต่างก็เชื่อพระโอรสของพระองค์ทำให้เกิดความขุ่นเคืองกันทั่วไปในหมู่กษัตริย์ลิจฉวี  เมื่อเวลาผ่านไป 3 ปี สามัคคีพราหมณ์ในหมู่กษัตริย์ลิจฉวีก็สูญสิ้นไป 
วัสสการพราหมณ์ทดสอบด้วยการตีกลองนัดประชุมก็ไม่ปรากฎว่ามีกษัตริย์ลิจฉวีเข้าร่วมประชุมวัสสการพราหมณ์เห็นว่าแผนการเป็นผลสำเร็จจึงลอบส่งข่าวไปกราบทูลพระเจ้าอชาตศัตรูให้ทรงยกทัพมาตีแคว้นวัชชี  ชาวเมืองวัชชีต่างตื่นตระหนกเมื่อทราบข่าวศึก
แต่เหล่ากษัตริย์ลิจฉวีต่างทรงถือทิฐิไม่มีผู้ใดวางแผนป้องกันภัยดังนั้นเมื่อกองทัพของแคว้นมคธถึงเมืองสาลีจึงยกทัพเข้าเมืองได้ง่ายใดและผู้ที่เปิดประตูเมืองให้กองทัพมคธก็คือวัสสการพราหมณ์นั่นเอง

              สามัคคีเภทคำฉันท์เป็นนิทานสุภาษิตสอนใจให้เห็นโทษของการแตกความสามัคคีที่ไม่ได้มีผลกระทบต่อบุคคลเท่านั้นแต่ยังส่งผลถึงสังคมส่วนรวมด้วย  นอกจากนี้ยังแสดงให้เห็นความสำคัญของการใช้สติปัญญาให้เกิดผลโดยไม่ต้องใช้กำลังอีกด้วย

แก่นเรื่องLaughing

1. โทษของการแตกสามัคคี
2. การใช้สติปัญญาเอาชนะฝ่ายศัตรู
3. การใช้วิจารณญานก่อนที่จะตัดสินใจทำสิ่งใดย่อมเป็นการดี
4. การถือความคิดของตนเป็นใหญ่และทะนงตนว่าดีกว่าผู้อื่น ย่อมทำให้เกิดความเสียหายต่อส่วนรวม


 Kissวิเคราะห์ตัวละคร Kiss
วัสสการพราหมณ์กับกษัตริย์ลิจฉวี
วัสสการพราหมณ์เป็นตัวละครที่มีบทบาทสำคัญที่สุดในการดำเนินเรื่อง  เป็นผู้ออกอุบายวางแผนและดำเนินการยุยงจนเหล่ากษัตริย์แตกความสามัคคีทำให้อชาตศัตรูเข้าครอบครองแคว้นวัชชีได้สำเร็จ  วัสสการพราหมณ์เป็นพราหมณ์อาวุโสผู้มีความสามารถสติปัญญาดี  รอบรู้ศิลป์วิทยาการและมีวาทศิลป์เป็นที่ไว้วางใจจากฝ่ายศัตรูและสามารถโน้มน้าวเปลี่ยนความคิดของฝ่ายตรงข้ามให้เป็นไปตามแผนที่วางไว้สำเร็จ บางทรรศนะอาจเห็นว่าวัสสการพราหมณ์เป็นคนที่ขาดคุณธรรมใช้อุบายล่อลวงผู้อื่นเพื่อประโยชน์ฝ่ายตน  แต่อีกมุมหนึ่งวัสสการพราหมณ์มีคุณสมบัติที่น่ายกย่องกล่าวคือมีความจงรักภักดีต่อพระเจ้าอชาตศัตรูและบ้านเมืองเป็นอย่างมากยอมเสียสละความสุขส่วนตน  ยอมลำบากเจ็บตัว ยอมเสี่ยงไปอยู่ในหมู่ศัตรูต้องใช้ความอดทดสูงและรู้จักรักษาความลับได้ดีเพื่อให้อุบายสำเร็จ  ส่วนเหล่ากษัตริย์ลิจฉวีขาดวิจารญาณ(ญาณพิจารณ์ตรอง) จนในที่สุดทำให้แตกความสามัคคีจนเป็นเหตุให้แคว้นวัชชีตกเป็นของแคว้นมคธ

เกร็ดน่ารู้Innocent
อปริหานิยธรรม คือ ธรรมอันไม่เป็นที่ตั้งแห่งความเสี่ยงเป็นไปด้วยความเจริญสำหรับหมู่ชนหรือผู้บริหารบ้านเมือง  พระพุทธเจ้าตรัส
แสดงแก่เจ้าวัชชีทั้งหลายที่ปกครองรัฐโดยระบบสามัคคีธรรม  ซึ่งรัฐคู่อริยอมรับว่าเมื่อชาววัชชียังปฏิบัติธรรมหลักธรรมนี้  จะเอาชนะด้วยการรบไม่ได้
นอกจากจะใช้การเกลี้ยกล่อมหรือยุแยกให้แตกสามัคคี
อปริหานิยมธรรมมี 7 ประการคือ
1.มั่นประชุมกันเนืองนิตย์
2.พร้อมเพรียงกันประชุม  พร้อมเพรียงกันทำกิจที่พึงทำ
3.ไม่บัญญัติสิ่งที่มิได้บัญญัติเอาไว้(ขัดต่อหลักการเดิม)  ไม่ล้มล้างสิ่งที่บัญญัติไว้
(ตามหลักการเดิม)
4.ท่านเหล่าใดเป็นผู้ใหญ่ในชนชาววัชชี  เคารพนับถือท่านเหล่านั้น เห็นถ้อยคำ  
ของท่านว่าเป็นสิ่งอันควรรับฟัง
5.บรรดากุลสตรีกุลกุมารีทั้งหลายให้อยู่ดีมิให้ถูกข่มแหง
6.เคารพสักการะบูชาเจดีย์ของวัชชีทั้งหลายไม่ปล่อยให้ธรรมมิกพลีที่เคยให้เคย
ทำแก่เจดีย์เหล่านั้นเสื่อมทรามไป
7.จัดการอารักขา คุ้มครอง ป้องกัน อันชอบทำแก่เหล่าพระอรหันต์ทั้งหลาย
ตั้งใจว่าขอพระอรหันต์ทั้งหลายที่ยังไม่มาพึ่งมาสู่แว่นแคว้น  ที่มาแล้วพึงอยู่ใน
แว่นแคว้นโดยผาสุข

 CoolCryEmbarassedInnocentSurprisedTongue out

สร้างโดย: 
ศรีสวาสดิ์ บุนนาค

มหาวิทยาลัยศรีปทุม ผู้ใหญ่ใจดี
 

 ช่วยด้วยครับ
นักเรียนที่สร้างบล็อก กรุณาอย่า
คัดลอกข้อมูลจากเว็บอื่นทั้งหมด
ควรนำมาจากหลายๆ เว็บ แล้ววิเคราะห์ สังเคราะห์ และเขียนขึ้นใหม่
หากคัดลอกทั้งหมด จะถูกดำเนินคดี
ตามกฎหมายจากเจ้าของลิขสิทธิ์
มีโทษทั้งจำคุกและปรับในอัตราสูง

ช่วยกันนะครับ 
ไทยกู๊ดวิวจะได้อยู่นานๆ 
ไม่ถูกปิดเสียก่อน

ขอขอบคุณในความร่วมมือครับ

อ่านรายละเอียด

ด่วน...... ขณะนี้
พระราชบัญญัติลิขสิทธิ์ (ฉบับที่ 2) พ.ศ. 2558 
มีผลบังคับใช้แล้ว 
ขอให้นักเรียนและคุณครูที่ใช้งาน
เว็บ thaigoodview ในการส่งการบ้าน
ระมัดระวังการละเมิดลิขสิทธิ์ด้วย
อ่านรายละเอียดที่นี่ครับ

 

สมาชิกที่ออนไลน์

ขณะนี้มี สมาชิก 0 คน และ ผู้เยี่ยมชม 278 คน กำลังออนไลน์