• user warning: Table 'cache_filter' is marked as crashed and should be repaired query: SELECT data, created, headers, expire, serialized FROM cache_filter WHERE cid = '3:1d7134a7885295f23569634d25e4f930' in /home/tgv/htdocs/includes/cache.inc on line 27.
  • user warning: Table 'cache_filter' is marked as crashed and should be repaired query: UPDATE cache_filter SET data = '<!--paging_filter--><p align=\"center\"><span style=\"background-color: #ffcc99;\"><strong>งานเสวนา </strong><strong>“ปฏิรูปวิศวกรรมศาสตร์ของไทย...สร้างวิศวกรผู้นำ ในศตวรรษที่ 21”</strong></span></p>\n<p align=\"center\"><span style=\"background-color: #ffcc99;\"><strong>วิศวลาดกระบัง เปิด 9 หลักสูตรใหม่ ปีการศึกษา 2558</strong></span></p>\n<p align=\"center\"><img src=\"/files/u89232/11111.jpg\" alt=\"\" width=\"388\" height=\"224\" /></p>\n<p>&nbsp;&nbsp;&nbsp;&nbsp;&nbsp;&nbsp;&nbsp;&nbsp;&nbsp;&nbsp;&nbsp;&nbsp;&nbsp;&nbsp;&nbsp; ขณะที่ประเทศไทยกำลังพัฒนาวิสัยทัศน์ และตำแหน่งทางยุทธศาสตร์ของประเทศไทย เพื่อขับเคลื่อนการพัฒนากำลังคน เศรษฐกิจ สังคมและทรัพยากรให้เป็นไปอย่างมีประสิทธิภาพ เพื่อประโยชน์ของส่วนรวม และก้าวทันโลกที่เปลี่ยนแปลงนั้น วิศวกรรมศาสตร์ซึ่งเปิดการเรียนการสอนในประเทศไทยมากว่า 100 ปีจำเป็นต้องปฏิรูปให้สอดรับกับวิถีในศตวรรษที่ 21 เนื่องด้วยเป็นองค์ความรู้ทางวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยีหลายด้านเป็นหัวใจสำคัญของการพัฒนาประเทศ</p>\n<p>&nbsp;&nbsp;&nbsp;&nbsp;&nbsp;&nbsp;&nbsp;&nbsp;&nbsp; <strong>รศ.ดร.คมสัน มาลีสี </strong>(Assoc.Prof. Dr.Komsan Maleesee) คณบดี คณะวิศวกรรมศาสตร์ สถาบันเทคโนโลยีพระจอมเกล้าเจ้าคุณทหารลาดกระบัง (สจล.) กล่าวว่า ท่ามกลางโลกที่เต็มไปด้วยการแข่งขันนวัตกรรม วิถีชีวิต สิ่งรอบตัวเรา ไม่ว่าจะเป็นตึกอาคารทันสมัยโทรศัพท์มือถือ แอพพลิเคชั่นใหม่ๆ รถยนต์รุ่นล่าสุดที่ใช้เชื้อเพลิงไฮโดรเจน รถไฟความเร็วสูง กล้องดิจิตอล หุ่นยนต์ในไลน์การผลิต กล้องส่องระบบภายในร่างกายมนุษย์ วีลแชร์อัจฉริยะ โซล่าเซลล์สำหรับติดตั้งบนหลังคา จนถึงเพลงเพราะโดนใจ ล้วนเป็นการสร้างสรรค์โดยวิศวกรทั้งสิ้น นับเป็นเวลากว่า 100 ปี ที่วิศวกรรมศาสตร์มีการเปิดการเรียนการสอนในประเทศไทย การปฏิรูปวิศวกรรมศาสตร์ให้ก้าวทันโลกและตอบสนองวิถีการเปลี่ยนแปลงของการศึกษาในศตวรรษที่ 21 ที่มุ่งเน้นผู้เรียนและการพัฒนาศักยภาพ จะเป็นประโยชน์ยิ่งต่อการพัฒนากำลังคน ต่อยอดสร้างความเปลี่ยนแปลงสู่เป้าหมายความสำเร็จทั้งภายในประเทศ บนเวทีอาเซียนและเวทีโลก&nbsp; <strong>คณะวิศวกรรมศาสตร์ สถาบันเทคโนโลยีพระจอมเกล้าเจ้าคุณทหารลากระบัง</strong> ได้เริ่มปฏิรูปการเรียนการสอนวิศวกรรมศาสตร์และพัฒนาเพิ่มเติมอีก 9 หลักสูตรใหม่ เพื่อเสริมสร้างความรู้ให้เท่าทันนวัตกรรมสมัยใหม่บนโลกที่หมุนเวียนเปลี่ยนไปทุกวัน จากเดิมที่ประกอบไปด้วยหลักสูตรปริญญาตรี 18 สาขา หลักสูตร 9 สาขาใหม่ ประกอบด้วย</p>\n<p><strong>&nbsp;&nbsp;&nbsp;&nbsp;&nbsp;&nbsp;&nbsp;&nbsp;&nbsp;&nbsp;&nbsp; 1. วิศวกรรมดนตรีและสื่อประสม </strong>ศึกษา วิจัย วิเคราะห์ สังเคราะห์ ผลิตอุปกรณ์ดนตรีและสื่อผสม เป็นการสร้างนวัตกรรมทางเทคโนโลยีผสมผสานกับการสร้างนวัตกรรมทางดนตรีเพื่อรองรับการเติบโตของธุรกิจทีวีดิจิตอล รวมถึงยกระดับมาตรฐานอุตสาหกรรมสื่อบันเทิงของประเทศซึ่งถือเป็น Soft Power ที่ทรงอิทธิพลสู่ระดับอาเซียนและระดับโลก</p>\n<p><strong>&nbsp;&nbsp;&nbsp;&nbsp;&nbsp;&nbsp;&nbsp;&nbsp;&nbsp;&nbsp;&nbsp; 2. วิศวกรรมชีวการแพทย์ </strong>เป็นศาสตร์ที่นำเอาความรู้ทางด้านวิทยาศาสตร์ คณิตศาสตร์ และวิศวกรรมทางการแพทย์มาประยุกต์ใช้รวมกัน เพื่อออกแบบ สร้างสรรค์ และพัฒนาเครื่องมือแพทย์ รวมถึงมุ่งผลิตบุคลากรที่สามารถวินิจฉัย ป้องกัน รักษาโรค โดยใช้ความรู้ดังกล่าว ในต่างประเทศนับเป็นศาสตร์ที่มีบทบาทสำคัญในการยกระดับคุณภาพชีวิตและสุขภาพของประชาชน</p>\n<p><strong>&nbsp;&nbsp;&nbsp;&nbsp;&nbsp;&nbsp;&nbsp;&nbsp;&nbsp;&nbsp;&nbsp; 3. วิศวกรรมขนส่งทางราง </strong>เป็นศาสตร์ที่จะช่วยตอบสนองต่อความต้องการในการขนส่งสินค้าและขนส่งมวลชนในอนาคต อันเนื่องมาจากการเจริญเติบโตทางเศรษฐกิจและสังคม โดยมุ่งผลิตบุคลากรที่สามารถออกแบบ และบำรุงรักษาระบบราง ซึ่งจะสามารถลดอัตราการว่าจ้างวิศวกรระบบรางจากต่างประเทศ และยังสามารถส่งออกวิศวกรระบบรางของไทยไปสู่ระดับสากลได้อีกด้วย</p>\n<p><strong>&nbsp;&nbsp;&nbsp;&nbsp;&nbsp;&nbsp;&nbsp;&nbsp;&nbsp;&nbsp;&nbsp; 4. วิศวกรรมป้องกันประเทศ </strong>ศึกษาเกี่ยวกับเทคโนโลยีสมัยใหม่ในการผลิตอาวุธยุทโธปกรณ์เพื่อสันติสุขและการป้องกันประเทศ โดยจะส่งเสริมการพึ่งพาตัวเอง ลดการพึ่งพาเทคโนโลยีจากต่างชาติ</p>\n<p><strong>&nbsp;&nbsp;&nbsp;&nbsp;&nbsp;&nbsp;&nbsp;&nbsp;&nbsp;&nbsp;&nbsp; 5. วิศวกรรมพลังงานไฟฟ้า </strong>เป็นหลักสูตรที่มุ่งผลิตบุคลากรให้สามารถสร้างสรรค์และพัฒนาแหล่งพลังงานทางเลือกที่เป็นมิตรต่อสิ่งแวดล้อมและทดแทนพลังงานที่ใช้อยู่ในปัจจุบัน เพื่อตอบสนองความต้องการในการใช้ไฟฟ้าที่สวนทางกับทรัพยากรไฟฟ้าบนโลกที่เหลืออยู่ทุกภาคส่วนเสริมสร้างความมั่นคงและดุลยภาพของการใช้พลังงานไฟฟ้า</p>\n<p><strong>&nbsp;&nbsp;&nbsp;&nbsp;&nbsp;&nbsp;&nbsp;&nbsp;&nbsp;&nbsp;&nbsp; 6. วิศวกรรมปิโตรเคมี </strong>อุตสาหกรรมปิโตรเคมีเป็นอุตสาหกรรมพื้นฐานที่เริ่มจากน้ำมันดิบและก๊าซธรรมชาติไปสู่กระบวนการผลิตสังเคราะห์ และพัฒนาไปสู่วัสดุพอลิเมอร์ เส้นใย พลาสติก โฟม กาว อันมีบทบาทในชีวิตประจำวันของมนุษย์มาหลายทศวรรษ ดังนั้น จึงมีความจำเป็นอย่างมากที่ประเทศชาติต้องผลิตบุคลากรขึ้นมารองรับ รวมถึงสามารถส่งออกวิศวกรไทยสู่อาเซียนเมื่อเปิดการค้าเสรีได้</p>\n<p><strong>&nbsp;&nbsp;&nbsp;&nbsp;&nbsp;&nbsp;&nbsp;&nbsp;&nbsp;&nbsp;&nbsp; 7. วิศวกรรมวัสดุและการออกแบบ </strong>เป็นการผสมผสานศาสตร์ด้านการออกแบบวัสดุเพื่อนำไปสู่ภาคการผลิตอย่างแท้จริง ภายใต้แนวความคิดในการพัฒนาเทคโนโลยีควบคู่ไปกับการอนุรักษ์สิ่งแวดล้อมและพัฒนาชุมชนส่งเสริมความคิดสร้างสรรค์และการสร้างมูลค่าเพิ่มทางเศรษฐกิจ</p>\n<p><strong>&nbsp;&nbsp;&nbsp;&nbsp;&nbsp;&nbsp;&nbsp;&nbsp;&nbsp;&nbsp;&nbsp; 8. วิศวกรรมการบินและนักบินพาณิชย์ </strong>ศึกษาเกี่ยวกับวิศวกรรมเครื่องกลและฝึกปฏิบัติการขับเคลื่อนเครื่องบิน เป็นหลักสูตรที่เมื่อสำเร็จการศึกษา นักศึกษาจะได้รับวุฒิวิศวกรและใบประกอบอาชีพนักบินพลเรือน ซึ่งเป็นวิชาชีพที่มีความต้องการสูงในทุกภูมิภาคโลก ในขณะที่สถาบันอื่นจะได้รับก็ต่อเมื่อเรียนหลักสูตรนักบินพาณิชย์ตรีจากสถาบันที่ได้รับรองจากกรมการบินพลเรือนเท่านั้น</p>\n<p><strong>&nbsp;&nbsp;&nbsp;&nbsp;&nbsp;&nbsp;&nbsp;&nbsp;&nbsp;&nbsp;&nbsp; 9. วิศวกรรมสิ่งแวดล้อมและพลังงานเพื่อความยั่งยืน </strong>เนื่องจากเทคโนโลยีในยุคก่อนหน้ามีส่วนสร้างผลกระทบหรือได้ทำร้ายทรัพยากรโลกไปเป็นจำนวนมาก วิศวกรรมสิ่งแวดล้อมและพลังงานเพื่อความยั่งยืนจึงมุ่งผลิตบุคลากรที่สามารถศึกษา วิเคราะห์ ออกแบบ ก่อสร้าง ควบคุมดูแลระบบเพื่อแก้ไขปัญหาสิ่งแวดล้อม รวมทั้งงานที่เกี่ยวกับการศึกษาวิจัยผลกระทบของภาคอุตสาหกรรมที่มีต่อสิ่งแวดล้อม</p>\n<p style=\"text-align: center;\"><img src=\"/files/u89232/2_0.jpg\" alt=\"\" width=\"432\" height=\"250\" /></p>\n<p><strong>&nbsp;&nbsp;&nbsp;&nbsp;&nbsp;&nbsp;&nbsp;&nbsp;&nbsp;&nbsp;&nbsp; รศ.ดร.คมสัน มาลีสี คณบดี</strong> (Assoc.Prof. Dr.Komsan Maleesee) คณะวิศวกรรมศาสตร์ สถาบันเทคโนโลยีพระจอมเกล้าเจ้าคุณทหารลาดกระบัง (สจล.) กล่าวถึง ความสำคัญปฏิรูปวิศวกรรมศาสตร์ สร้างวิศวกรผู้นำ ในศตวรรษที่ 21 ว่า &nbsp;“การศึกษาในศตวรรษที่ 21&nbsp; เป็นบทบาทที่สำคัญอย่างมาก ในเรื่องของการพัฒนาสังคมและเศรษฐกิจ เป็นโครงสร้างพื้นฐานที่จะไปช่วยเหลือในกระบวนการพัฒนา เปลี่ยนแปลง ในยุคของการพัฒนาเทคโนโลยีในสมัยนี้ สิ่งที่สำคัญก็คือ การที่จะนำเอาความรู้และประสบการณ์ต่างๆที่เกี่ยวข้องกับวิศวกรรม ไปสร้างนวัตกรรมเพื่อทำให้เกิดการพัฒนาต่อยอด และปรับปรุงสิ่งต่างๆนำมาใช้ให้เกิดประโยชน์ต่อการยกระดับคุณภาพชีวิต เศรษฐกิจ และสังคม&nbsp; &nbsp;&nbsp;&nbsp;&nbsp;&nbsp;&nbsp;&nbsp;&nbsp;&nbsp; การแข่งขันในยุคสมัยนี้ หรือจะเป็นการเปิดเสรีอาเซียนถือเป็นการแข่งขันอย่างเสรี สิ่งที่สำคัญที่สุดของโลกเสรีนี้ก็คือประสิทธิภาพของคน ซึ่งจะได้มาจากการฝึกฝน และทักษะที่แต่ละชาติ ได้มีการฝึกในส่วนของทรัพยากรมนุษย์เป็นอย่างไร เพราะฉะนั้น<strong>การแข่งขันของเทคโนโลยี</strong>ต่างๆไม่ค่อยต่างกันแล้ว แต่จะต่างกันที่<strong>ประสิทธิภาพ</strong> การคิดวิเคราะห์ของทรัพยากรมนุษย์ เรามีวิธีการที่จะหาความรู้ หาประสบการณ์ และนำไปประยุกต์ใช้ประโยชน์ได้อย่างไร ดังนั้นการพัฒนาทรัพยากรจะทำให้เกิดความแตกต่างกันของประเทศต่างๆ&nbsp;&nbsp; การเรียนรู้ของคณะวิศวลาดกระบังยังเน้นไปในการรับรู้ข้อมูลแบบที่มีอาจารย์เป็นคนป้อนให้ แต่ระบบการศึกษาในปัจจุบันความรู้ต่างๆมีอยู่มากมายและเปลี่ยนแปลงตลอดเวลา ถ้าจะรอรับความรู้จากอาจารย์อย่างเดียวคงไม่พอ หน้าที่สำคัญของการศึกษาของเราคือ ต้องสอนให้นักศึกษารู้จักที่จะหาความรู้ และนำเอาข้อมูลที่ได้มา สังเคราะห์ วิเคราะห์ และนำมาปรับปรุงเพื่อที่จะนำเอาไปใช้ประโยชน์ ทางคณะวิศวลาดกระบังจึงมีการปฏิรูปการเรียนการสอน โดยการมุ่งเน้นการเรียนการสอนโดยให้คณาจารย์ไปกระตุ้นให้นักศึกษาเกิดการเรียนรู้ได้ด้วยตัวของนักศึกษาเอง อาจารย์เป็นโค้ช เป็นคนคอยแนะแนว เป็นคนดีไซน์เพื่อให้นักศึกษาไปศึกษารวบรวมข้อมูลต่างๆมา เพื่อที่จะนำมาวิเคราะห์สังเคราะห์ อาจารย์จะเป็นคนดูทิศทางให้แนวทางในการที่จะนำเอาข้อมูลมาทำให้เป็นรูปธรรมและเกิดเป็นประโยชน์สูงสุด</p>\n<p>&nbsp;&nbsp;&nbsp;&nbsp;&nbsp;&nbsp;&nbsp;&nbsp;&nbsp; สิ่งที่สำคัญของวิศวกร ก็คือ การมี<strong>ภาวะความเป็นผู้นำ</strong> คนที่มีความรู้โดยทั่วไปหาที่ไหนก็ได้ แต่สิ่งที่สำคัญก็คือคนที่จะเป็นวิศวกรที่มีประสิทธิภาพจะต้องเป็นคนที่มีภาวะความเป็นผู้นำ ก็คือสามารถที่จะมีความรู้ด้วย ความรู้หาได้ หามาแล้วต้องสามารถนำความรู้ต่างๆไปประยุกต์ใช้ประโยชน์ได้ นอกจากประยุกต์ได้แล้วยังต้องนำพาคนอื่นให้เห็นคล้อยตามกับเรา และสามารถที่จะปฏิบัติหรือไปสร้างนวัตกรรมต่างๆร่วมกับผู้อื่นได้อย่างมีประสิทธิภาพ</p>\n<p>&nbsp;&nbsp;&nbsp;&nbsp;&nbsp;&nbsp;&nbsp;&nbsp;&nbsp; ปัจจัยที่สำคัญในการปฏิรูปวิศวกรรมต่างๆให้สำเร็จได้คือ จะต้องสร้างความมีส่วนร่วมในทุกภาคส่วน เช่นในสถาบันการศึกษา สิ่งที่สำคัญก็คือ บุคลากรที่เป็นผู้ให้ นั่นก็คือคณาจารย์ บุคลากรส่วนสนับสนุนนั่นก็คือ เจ้าหน้าที่ และก็ตัวผู้ที่ถูกสอนเองก็คือนักศึกษา ผู้ปกครองก็จะต้องเรียนรู้ไปด้วยกันว่าทำไมจึงต้องกระบวนการปฏิรูป ปฏิรูปแล้วผลที่ได้จะเป็นอย่างไร เพราะฉะนั้นทุกส่วนจะต้องเรียนรู้สิ่งต่างๆเหล่านั้นไปด้วยกัน และจะต้องเข้าใจในมิติต่างๆอย่างดี เพราะว่าการที่เราจะสั่งปฏิรูปโดยที่ยังไม่มีความเข้าใจรายละเอียดต่างๆ มันไม่มีที่จะเป็นไปได้ เราจะต้องรณรงค์สร้างความเข้าใจร่วมกันให้เกิดขึ้นให้ได้ นั่นคือการนับหนึ่งในเรื่องของการปฏิรูปใดๆก็ตาม”</p>\n<p style=\"text-align: center;\"><img src=\"/files/u89232/4.jpg\" alt=\"\" width=\"398\" height=\"265\" /></p>\n<p><strong>&nbsp;&nbsp;&nbsp;&nbsp;&nbsp;&nbsp;&nbsp;&nbsp;&nbsp;&nbsp;&nbsp; รศ.ดร.ณฐา&nbsp; คุปตัษเฐียร</strong> (Asst.Prof.Dr.Natha Kuptasthien) ผู้เชี่ยวชาญการจัดการเรียนการสอนแบบ CDIO ได้กล่าวถึงแนวคิดในการสอนหลักสูตรวิศวกรรมแบบ CDIO ว่า “วิศวกรรมศาสตร์ มีบทบาทในการสร้างความเข้มแข็งของ</p>\n<p>สังคม และเศรษฐกิจให้กับประเทศไทยมาโดยตลอด ไม่ว่าจะเป็นเรื่องของรากฐานทางกายภาพความมั่นคงด้านพลังงาน นวัตกรรม สิ่งประดิษฐ์ต่างๆ ที่ช่วยทำให้คุณภาพชีวิตของคนในสังคม เศรษฐกิจ และสิ่งแวดล้อมดีขึ้น ในปัจจุบันด้วยโลก</p>\n<p>ที่กำลังเปลี่ยนไปอย่างมาก ปัญหาทุกปัญหาที่เกิดขึ้น มักจะเป็นปัญหาที่ซับซ้อน ในการแก้ปัญหาอาจจะไม่เหมือนเดิม ที่ว่าหนึ่งวิชาชีพจะสามารถแก้ปัญหาได้จากสาขาวิชาตัวเอง เพราะฉะนั้นการศึกษาวิศวกรรมศาสตร์ของไทยในศตวรรษที่ 21 ก็ต้องเปลี่ยนไปเพื่อรับกับสภาพที่มันเปลี่ยนไป</p>\n<p>&nbsp;&nbsp;&nbsp;&nbsp;&nbsp;&nbsp;&nbsp;&nbsp;&nbsp; ความรู้ในยุคปัจจุบันสามารถสืบค้นหาได้ง่าย สิ่งที่ผู้เรียนเรียนในห้องเรียนในวันนี้ หรือแม้กระทั่งหนังสือที่หยิบขึ้นมาอ่าน หรือแม้แต่หนังสือที่อาจารย์เขียนขึ้นมา มันสามารถหมดอายุได้อย่างรวดเร็ว สิ่งที่เราเรียนวันนี้ เมื่อเวลาผ่านไปอีก 1 ปีจะล้าสมัยทันที โลกปัจจุบันเป็นกลายเป็นโลกที่ยุคของเทคโนโลยี และความรู้มีการเปลี่ยนแปลงอย่างรวดเร็ว ดังนั้นถ้าเรายังมีการเรียนการสอนแบบเดิมๆอยู่ ก็จะทำให้ผู้เรียนของเราไม่สามารถบูรณาการหรือไม่สามารถที่จะก้าวทันโลกได้ อย่างที่ย้อนกลับไปว่าปัจจุบันมันเป็นปัญหาที่ซับซ้อน จะเห็นได้ว่าคนต่างสาขาวิชาก็จะมองปัญหานั้นๆแตกต่างกัน เพราะฉะนั้นวิศวกรในยุคต่อไปก็จะต้องสามารถทำงานกับบุคคลที่มาจากหลายสาขาวิชาได้ เราจึงจำเป็น ”ปฏิรูป”เปลี่ยนแปลงอย่างรวดเร็ว</p>\n<p>&nbsp;&nbsp;&nbsp;&nbsp;&nbsp;&nbsp;&nbsp;&nbsp;&nbsp; <strong>การเรียนการสอนแบบ CDIO</strong> เป็นแนวคิดในการสอนหลักสูตรวิศวกรรมซึ่งได้รับการพัฒนามาจาก Massachusetts Institute of Technology (MIT) ซึ่งได้รับการยอมรับอย่างแพร่หลายและถูกนำไปใช้ในสถาบันการศึกษาทางวิศวกรรมมากมายทั่วโลกกว่า 90 แห่ง โดยแนวการเรียนการสอนแบบ CDIO มุ่งเน้นผลลัพธ์การเรียนรู้ (Learning Outcomes)&nbsp; 4 ด้านหลัก ซึ่งนับเป็นหัวใจสำคัญของวิชาชีพวิศวกรรม ได้แก่</p>\n<p>1. <strong>C</strong>onceive สามารถคิดวิเคราะห์และชี้ปัญหาในทางวิศวกรรมได้</p>\n<p>2. <strong>D</strong>esign สามารถออกแบบและหาแนวทางแก้ไขปัญหาทางวิศวกรรมได้</p>\n<p>3. <strong>I</strong>mplement สามารถดำเนินการ ประยุกต์ หรือ แก้ไขปัญหาทางวิศวกรรมให้สำเร็จลุล่วงได้</p>\n<p>4. <strong>O</strong>perate สามารถพัฒนาและควบคุมระบบต่างๆ อย่างเหมาะสม</p>\n<p>&nbsp;&nbsp;&nbsp;&nbsp;&nbsp;&nbsp;&nbsp;&nbsp;&nbsp; ทั้งนี้หลักสูตรตามแนวทางของ CDIO จะมุ่งเน้นให้วิศวกรมีความสามารถทั้งในด้านการคิด การออกแบบ การสร้างดำเนินการ และการควบคุมระบบต่างๆ อย่างมีประสิทธิภาพ เพราะในพื้นฐานหลักของวิศวกรเวลาที่เราออกไปทำงาน วิศวกรจะมีหน้าที่ที่จะรับรู้ปัญหา สามารถที่จะออกแบบ หรือว่าหาแนวทางการแก้ปัญหาได้ นำไปประยุกต์ใช้ เมื่อลองแล้วล้มเหลวก็ลองใหม่จนได้คำตอบที่ดีสำหรับปัญหานั้นๆ นอกจากนี้ในบทบาทของวิศวที่ไปทำงาน เรื่องมุมมองในมุมของสังคม ในบริบทของเศรษฐกิจสังคม ทักษะส่วนบุคคลที่เป็นมืออาชีพ ต้องคิดเป็น สามารถวิเคราะห์ได้ มีจรรยาบรรณ มีทัศนคติที่ดี นอกจากนี้ที่สำคัญของวิศวกรก็คือ ทักษะระหว่างบุคคล อย่างเช่น ทักษะในการเป็นผู้นำ ทักษะของการทำงานเป็นทีม ทักษะของการสื่อสาร และในปัจจุบันจะขาดไม่ได้เลยคือทักษะการสื่อสารด้วยภาษาต่างประเทศ ภาษาอังกฤษ</p>\n<p>&nbsp;&nbsp;&nbsp;&nbsp;&nbsp;&nbsp;&nbsp;&nbsp;&nbsp; อาชีพวิศวกรเป็นอาชีพที่มีการแข่งขันสูงอยู่แล้ว เพราะว่าการทำงานปัจจุบันในยุคของโลกาภิวัตน์ โลกมีข่าวสารไร้พรหมแดน มีการลงทุนข้ามชาติเป็นจำนวนมาก ทำให้วิศวกรทั้งไทยและต่างชาติก็มีโอกาสที่จะทำงานทั่วโลก การลงทุนของบริษัทข้ามชาติทำให้บริษัทแม่อาจจะอยู่ประเทศหนึ่ง แต่ว่ามีบริษัทลูกอยู่อีกหลายๆประเทศ ซึ่งตรงนี้ถ้าวิศวกรไม่มีศักยภาพที่จะแข่งขัน ก็ลำบากที่จะอยู่ได้ในโลกที่มีการแข่งขันสูง วิศวกรยุคใหม่จึงต้องมีทั้งทักษะส่วนบุคคลที่เป็นวิชาชีพที่เข้มแข็ง และมีทักษะที่สามารถทำงานร่วมกับผู้อื่นได้ ภายในบริบทที่เปลี่ยนแปลงอย่างรวดเร็วทั้งขององค์กร สังคม และสิ่งแวดล้อม”</p>\n<p style=\"text-align: center;\">&nbsp;<img src=\"/files/u89232/3333.jpg\" alt=\"\" width=\"385\" height=\"257\" /></p>\n<p><strong>&nbsp;&nbsp;&nbsp;&nbsp;&nbsp;&nbsp;&nbsp;&nbsp;&nbsp;&nbsp;&nbsp; คุณทนง โชติสรยุทธ์</strong> (Mr. Thanong Chotisorayuth) กรรมการผู้จัดการ บริษัท ซีเอ็ดยูเคชั่น จำกัด (มหาชน) ได้กล่าวถึงเรื่องการปูพื้นฐานด้านวิศวกรรมศาสตร์ตั้งแต่ระดับชั้นประถมศึกษาว่า “&nbsp;&nbsp;&nbsp;&nbsp;&nbsp; ปัญหาของประเทศไทยตอนนี้ คือปัญหาของการสร้างสังคมให้แข็งแรงยั่งยืน และในขณะเดียวกันเราก็มีปัญหาอีกมากมาย ทั้งในเรื่องแนวโน้มของอนาคตที่จะมีผู้สูงวัยมากขึ้น นั้นก็หมายถึงว่าเยาวชนที่กำลังศึกษาในปัจจุบันนี้ ในอนาคตเมื่อได้จบการศึกษาแล้ว เขาก็จะได้รับภาระที่จะต้องดูแลคนที่สูงวัยมากขึ้นกว่าเดิม ในขณะเดียวกันธุรกิจของโลก คือมีความเข้มขันมากขึ้นเรื่อยๆ มีสงครามทางการค้า มีเรื่องของนวัตกรรมใหม่ๆที่มันทำให้ธุรกิจบางอย่าง หรือสิ่งที่เราทำการค้าเดิม และอุตสาหกรรมเดิม มันอาจจะหายวับไปกับตาได้ง่ายๆเลย ฉะนั้นมันจึงเป็นความจำเป็นของไทย ที่เราจะต้องพยายามสร้างกลไกภายในสังคมของเราเอง ให้มีความแข็งแรงโดยเร็วที่สุด</p>\n<p>&nbsp;&nbsp;&nbsp;&nbsp;&nbsp;&nbsp;&nbsp;&nbsp;&nbsp; ในส่วนของภาคอุตสาหกรรมหรือภาคที่เป็นผลทางการผลิตอย่างแท้จริง เราจำเป็นต้องเร่งความเร็วขึ้นมา ความเร็วของความสามารถในการแช่งขัน ความเร็วในการเพิ่มศักยภาพของบุคลากรของเราที่เกี่ยวกับการผลิตทั้งหลายในทุกๆอุตสาหกรรมจำเป็นที่จะต้องเร่งขึ้นมาโดยเร็วที่สุด และควรจะต้องเร่งในเรื่องของนวัตกรรม เพราะถ้าเราทำอย่างเดิม มันก็ทำให้รายได้ต่อหัวคนก็เท่าเดิม และถ้าสมมุติเท่าเดิม ก็จะไม่สามารถรองรับเลี้ยงดูผู้สูงวัยมากยิ่งกว่าเดิมได้ก็จะก่อปัญหาคนยากจนมากขึ้น ฉะนั้นต้องทำให้แต่ละคนมีสิ่งที่เรียกว่ามีผลผลิตที่ดีขึ้น ขณะเดียวกันก็ต้องพยายามที่จะคิดถึงเรื่องของการสร้างมูลค่าให้สูงขึ้น และในขณะเดียวกันก็ต้องต่อยอดให้มันกลายออกมาเป็นนวัตกรรม เพราะว่านวัตกรรมมันเป็นสิ่งที่สามารถสร้างมูลค่าให้เพิ่มสูงขึ้นกว่าเดิมได้เยอะ</p>\n<p>&nbsp;&nbsp;&nbsp;&nbsp;&nbsp;&nbsp;&nbsp;&nbsp;&nbsp; ในช่วงที่ผ่านมา ระบบการศึกษาขั้นพื้นฐานของเรานับวันก็ถือว่าอ่อน เมื่อเทียบกับระดับโลกตอนนี้เรายังอ่อนมาก ในระดับของบัณฑิตเองก็เช่นเดียวกัน บัณฑิตของเรามี่จบมาก็มีจำนวนเยอะที่ยังไม่รู้ตัวตน ยังไม่มีแรงบันดาลใจที่จะประกอบวิชาชีพ ฉะนั้นเราต้องทำให้คณะบุคลากรที่ออกมาจากระบบการศึกษาในขณะนี้ยังขาดศักยภาพตามที่ควรจะเป็นสำหรับการจะอยู่รอดในศตวรรษที่ 21</p>\n<p>&nbsp;&nbsp;&nbsp;&nbsp;&nbsp;&nbsp;&nbsp;&nbsp;&nbsp; ฉะนั้นความจำเป็นของการศึกษาจึงจำเป็นต้องเร่งแก้ปัญหา ทั้งนี้ในภาคของอุตสาหกรรม แน่นอนว่าหนีไม่พ้นในเรื่องของวิศวกรรมศาสตร์ ที่เราจะต้องสร้างวิศวกรรมศาสตร์ที่มีศักยภาพและมีแรงบันดาลใจ ตรงนี้คือหัวใจสำคัญของการที่จะต้องเปลี่ยนแปลงระบบการศึกษาในการผลิตบัณฑิตวิศวกรในศตวรรษที่ 21 ใหม่ นั้นก็คือการสร้างผลิตผลทางด้านบัณฑิตของเรา โดยเฉพาะอย่างยิ่งทางด้านวิศวกรรมศาสตร์ ทำอย่างไรถึงจะให้บัณฑิตของเรามีแรงบันดาลใจ อยากจะเป็นวิศวกรที่มีศักยภาพสูง ตั้งแต่ปี 1 หรือตั้งแต่ก่อนวันแรกที่จะเข้าศึกษาในมหาวิทยาลัย เพราะว่าถ้าเราสร้างให้เด็กนั้นมีแรงบันดาลใจทั้งก่อนเข้าเรียน ระหว่างเรียน และหลังจบการศึกษา และก็สามารถที่จะสร้างสภาพแวดล้อมที่เอื้อ ที่จะทำให้แรงบันดาลใจเหล่านี้ถูกพัฒนาประกายเป็นศักยภาพที่แท้จริงขึ้นได้</p>\n<p>&nbsp;&nbsp;&nbsp;&nbsp;&nbsp;&nbsp;&nbsp;&nbsp;&nbsp; เราจะต้องมีโจทย์ในแง่ของการศึกษา ที่จะต้องสร้างแรงบันดาลใจให้เด็กรู้สึกกับการคิด การแก้ไขปัญหา การบูรณาการ ความคิดทางด้านคณิตศาสตร์ วิทยาศาสตร์ วิศวกรรมศาสตร์ และเทคโนโลยี ตั้งแต่ในระดับชั้นประถมศึกษา ตอนนี้มันสายไปแล้ว ถ้าคิดจะสร้างในระดับอุดมศึกษา ต้องบ่มเพาะพร้อมกับให้โอกาสเด็กกลุ่มนี้ ให้มากขึ้นกว่าในยุคของเรามากๆ เพราะถ้าทำแบบนี้เราจะรู้สึกแปลกใจว่าทำไมเด็กประถมจึงทำได้เยอะขนาดนี้ ขณะที่เราอาจจะทำในเรื่องเดียว กันกับเด็กประถมไม่ได้เลยด้วยซ้ำ ฉะนั้นในวิธีการคิด การออกแบบหลักสูตร กระบวนการเรียนการสอน กิจกรรม และสื่อในการเรียนรู้สำหรับในการศึกษาตั้งแต่ขั้นพื้นฐาน จำเป็นต้องคิดใหม่ในอีกรูปแบบหนึ่ง ต้องคิดนอกกรอบให้แปลกออกไปจากเดิม ทุกอย่างต้องไม่ยึดติดกระบวนการเดิม</p>\n<p>&nbsp;&nbsp;&nbsp;&nbsp;&nbsp;&nbsp;&nbsp;&nbsp;&nbsp; เมื่อ AEC ได้เกิดขึ้นมา การถ่ายโยงวิชาชีพบางอย่างจะเกิดขึ้นง่ายมากและกว้างขวางขึ้น ก็จะทำให้วิศวกรของเรานั้น จะต้องอยู่ภายใต้ของการแข่งขัน ไม่ใช่เพียงแค่ของประเทศไทยเอง แต่จะต้องมีการแข่งขันในระดับนานาชาติ อย่างน้อยที่สุดก็จะในระดับภูมิภาคอาเซียนนี้ ที่เราจะต้องไปแข่งขันด้วย ตั้งแต่ทักษะในเรื่องของภาษาอังกฤษ ทักษะในการทำงานหรือความเป็นผู้นำในความเปลี่ยนแปลง ทักษะในการมีความคิดสร้างสรรค์ และรวมไปถึงทักษะในการข้ามวัฒนธรรม เราจะต้องยกเพดานบินของทางด้านวิศวกรของเราเอง ขึ้นมาเป็นระดับนานาชาติ หรือเป็นระดับภูมิภาคมากขึ้น และในขณะเดียวกันการที่เกิด AEC ขึ้น ถือเป็นโอกาสดีที่เราจะมีฐานตลาดที่ใหญ่ขึ้นกว่าเดิม ฉะนั้นจึงขึ้นอยู่กับว่าประเทศใด ที่สามารถบ่มเพาะบุคลากรที่สามารถใช้ศักยภาพของประเทศตัวเอง แล้วใช้ศักยภาพของประเทศเพื่อนบ้านทั้งหมดในการทำให้ฐานในตลาดมันใหญ่ขึ้นกว่าเดิม และประสบความสำเร็จไกลกว่าจุดเดิมได้ เพราะ AEC ถือว่าเป็นทั้งภัยคุกคามถ้าเราปรับตัวไม่ทัน และก็เป็นโอกาสถ้าเราปรับตัวทัน</p>\n<p style=\"text-align: center;\">.....................................................</p>\n', created = 1714743234, expire = 1714829634, headers = '', serialized = 0 WHERE cid = '3:1d7134a7885295f23569634d25e4f930' in /home/tgv/htdocs/includes/cache.inc on line 112.

งานเสวนา “ปฏิรูปวิศวกรรมศาสตร์ของไทย...สร้างวิศวกรผู้นำ ในศตวรรษที่ 21” วิศวลาดกระบัง เปิด 9 หลักสูตรใหม่ ปีการศึกษา 2558

งานเสวนา “ปฏิรูปวิศวกรรมศาสตร์ของไทย...สร้างวิศวกรผู้นำ ในศตวรรษที่ 21”

วิศวลาดกระบัง เปิด 9 หลักสูตรใหม่ ปีการศึกษา 2558

                ขณะที่ประเทศไทยกำลังพัฒนาวิสัยทัศน์ และตำแหน่งทางยุทธศาสตร์ของประเทศไทย เพื่อขับเคลื่อนการพัฒนากำลังคน เศรษฐกิจ สังคมและทรัพยากรให้เป็นไปอย่างมีประสิทธิภาพ เพื่อประโยชน์ของส่วนรวม และก้าวทันโลกที่เปลี่ยนแปลงนั้น วิศวกรรมศาสตร์ซึ่งเปิดการเรียนการสอนในประเทศไทยมากว่า 100 ปีจำเป็นต้องปฏิรูปให้สอดรับกับวิถีในศตวรรษที่ 21 เนื่องด้วยเป็นองค์ความรู้ทางวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยีหลายด้านเป็นหัวใจสำคัญของการพัฒนาประเทศ

          รศ.ดร.คมสัน มาลีสี (Assoc.Prof. Dr.Komsan Maleesee) คณบดี คณะวิศวกรรมศาสตร์ สถาบันเทคโนโลยีพระจอมเกล้าเจ้าคุณทหารลาดกระบัง (สจล.) กล่าวว่า ท่ามกลางโลกที่เต็มไปด้วยการแข่งขันนวัตกรรม วิถีชีวิต สิ่งรอบตัวเรา ไม่ว่าจะเป็นตึกอาคารทันสมัยโทรศัพท์มือถือ แอพพลิเคชั่นใหม่ๆ รถยนต์รุ่นล่าสุดที่ใช้เชื้อเพลิงไฮโดรเจน รถไฟความเร็วสูง กล้องดิจิตอล หุ่นยนต์ในไลน์การผลิต กล้องส่องระบบภายในร่างกายมนุษย์ วีลแชร์อัจฉริยะ โซล่าเซลล์สำหรับติดตั้งบนหลังคา จนถึงเพลงเพราะโดนใจ ล้วนเป็นการสร้างสรรค์โดยวิศวกรทั้งสิ้น นับเป็นเวลากว่า 100 ปี ที่วิศวกรรมศาสตร์มีการเปิดการเรียนการสอนในประเทศไทย การปฏิรูปวิศวกรรมศาสตร์ให้ก้าวทันโลกและตอบสนองวิถีการเปลี่ยนแปลงของการศึกษาในศตวรรษที่ 21 ที่มุ่งเน้นผู้เรียนและการพัฒนาศักยภาพ จะเป็นประโยชน์ยิ่งต่อการพัฒนากำลังคน ต่อยอดสร้างความเปลี่ยนแปลงสู่เป้าหมายความสำเร็จทั้งภายในประเทศ บนเวทีอาเซียนและเวทีโลก  คณะวิศวกรรมศาสตร์ สถาบันเทคโนโลยีพระจอมเกล้าเจ้าคุณทหารลากระบัง ได้เริ่มปฏิรูปการเรียนการสอนวิศวกรรมศาสตร์และพัฒนาเพิ่มเติมอีก 9 หลักสูตรใหม่ เพื่อเสริมสร้างความรู้ให้เท่าทันนวัตกรรมสมัยใหม่บนโลกที่หมุนเวียนเปลี่ยนไปทุกวัน จากเดิมที่ประกอบไปด้วยหลักสูตรปริญญาตรี 18 สาขา หลักสูตร 9 สาขาใหม่ ประกอบด้วย

            1. วิศวกรรมดนตรีและสื่อประสม ศึกษา วิจัย วิเคราะห์ สังเคราะห์ ผลิตอุปกรณ์ดนตรีและสื่อผสม เป็นการสร้างนวัตกรรมทางเทคโนโลยีผสมผสานกับการสร้างนวัตกรรมทางดนตรีเพื่อรองรับการเติบโตของธุรกิจทีวีดิจิตอล รวมถึงยกระดับมาตรฐานอุตสาหกรรมสื่อบันเทิงของประเทศซึ่งถือเป็น Soft Power ที่ทรงอิทธิพลสู่ระดับอาเซียนและระดับโลก

            2. วิศวกรรมชีวการแพทย์ เป็นศาสตร์ที่นำเอาความรู้ทางด้านวิทยาศาสตร์ คณิตศาสตร์ และวิศวกรรมทางการแพทย์มาประยุกต์ใช้รวมกัน เพื่อออกแบบ สร้างสรรค์ และพัฒนาเครื่องมือแพทย์ รวมถึงมุ่งผลิตบุคลากรที่สามารถวินิจฉัย ป้องกัน รักษาโรค โดยใช้ความรู้ดังกล่าว ในต่างประเทศนับเป็นศาสตร์ที่มีบทบาทสำคัญในการยกระดับคุณภาพชีวิตและสุขภาพของประชาชน

            3. วิศวกรรมขนส่งทางราง เป็นศาสตร์ที่จะช่วยตอบสนองต่อความต้องการในการขนส่งสินค้าและขนส่งมวลชนในอนาคต อันเนื่องมาจากการเจริญเติบโตทางเศรษฐกิจและสังคม โดยมุ่งผลิตบุคลากรที่สามารถออกแบบ และบำรุงรักษาระบบราง ซึ่งจะสามารถลดอัตราการว่าจ้างวิศวกรระบบรางจากต่างประเทศ และยังสามารถส่งออกวิศวกรระบบรางของไทยไปสู่ระดับสากลได้อีกด้วย

            4. วิศวกรรมป้องกันประเทศ ศึกษาเกี่ยวกับเทคโนโลยีสมัยใหม่ในการผลิตอาวุธยุทโธปกรณ์เพื่อสันติสุขและการป้องกันประเทศ โดยจะส่งเสริมการพึ่งพาตัวเอง ลดการพึ่งพาเทคโนโลยีจากต่างชาติ

            5. วิศวกรรมพลังงานไฟฟ้า เป็นหลักสูตรที่มุ่งผลิตบุคลากรให้สามารถสร้างสรรค์และพัฒนาแหล่งพลังงานทางเลือกที่เป็นมิตรต่อสิ่งแวดล้อมและทดแทนพลังงานที่ใช้อยู่ในปัจจุบัน เพื่อตอบสนองความต้องการในการใช้ไฟฟ้าที่สวนทางกับทรัพยากรไฟฟ้าบนโลกที่เหลืออยู่ทุกภาคส่วนเสริมสร้างความมั่นคงและดุลยภาพของการใช้พลังงานไฟฟ้า

            6. วิศวกรรมปิโตรเคมี อุตสาหกรรมปิโตรเคมีเป็นอุตสาหกรรมพื้นฐานที่เริ่มจากน้ำมันดิบและก๊าซธรรมชาติไปสู่กระบวนการผลิตสังเคราะห์ และพัฒนาไปสู่วัสดุพอลิเมอร์ เส้นใย พลาสติก โฟม กาว อันมีบทบาทในชีวิตประจำวันของมนุษย์มาหลายทศวรรษ ดังนั้น จึงมีความจำเป็นอย่างมากที่ประเทศชาติต้องผลิตบุคลากรขึ้นมารองรับ รวมถึงสามารถส่งออกวิศวกรไทยสู่อาเซียนเมื่อเปิดการค้าเสรีได้

            7. วิศวกรรมวัสดุและการออกแบบ เป็นการผสมผสานศาสตร์ด้านการออกแบบวัสดุเพื่อนำไปสู่ภาคการผลิตอย่างแท้จริง ภายใต้แนวความคิดในการพัฒนาเทคโนโลยีควบคู่ไปกับการอนุรักษ์สิ่งแวดล้อมและพัฒนาชุมชนส่งเสริมความคิดสร้างสรรค์และการสร้างมูลค่าเพิ่มทางเศรษฐกิจ

            8. วิศวกรรมการบินและนักบินพาณิชย์ ศึกษาเกี่ยวกับวิศวกรรมเครื่องกลและฝึกปฏิบัติการขับเคลื่อนเครื่องบิน เป็นหลักสูตรที่เมื่อสำเร็จการศึกษา นักศึกษาจะได้รับวุฒิวิศวกรและใบประกอบอาชีพนักบินพลเรือน ซึ่งเป็นวิชาชีพที่มีความต้องการสูงในทุกภูมิภาคโลก ในขณะที่สถาบันอื่นจะได้รับก็ต่อเมื่อเรียนหลักสูตรนักบินพาณิชย์ตรีจากสถาบันที่ได้รับรองจากกรมการบินพลเรือนเท่านั้น

            9. วิศวกรรมสิ่งแวดล้อมและพลังงานเพื่อความยั่งยืน เนื่องจากเทคโนโลยีในยุคก่อนหน้ามีส่วนสร้างผลกระทบหรือได้ทำร้ายทรัพยากรโลกไปเป็นจำนวนมาก วิศวกรรมสิ่งแวดล้อมและพลังงานเพื่อความยั่งยืนจึงมุ่งผลิตบุคลากรที่สามารถศึกษา วิเคราะห์ ออกแบบ ก่อสร้าง ควบคุมดูแลระบบเพื่อแก้ไขปัญหาสิ่งแวดล้อม รวมทั้งงานที่เกี่ยวกับการศึกษาวิจัยผลกระทบของภาคอุตสาหกรรมที่มีต่อสิ่งแวดล้อม

            รศ.ดร.คมสัน มาลีสี คณบดี (Assoc.Prof. Dr.Komsan Maleesee) คณะวิศวกรรมศาสตร์ สถาบันเทคโนโลยีพระจอมเกล้าเจ้าคุณทหารลาดกระบัง (สจล.) กล่าวถึง ความสำคัญปฏิรูปวิศวกรรมศาสตร์ สร้างวิศวกรผู้นำ ในศตวรรษที่ 21 ว่า  “การศึกษาในศตวรรษที่ 21  เป็นบทบาทที่สำคัญอย่างมาก ในเรื่องของการพัฒนาสังคมและเศรษฐกิจ เป็นโครงสร้างพื้นฐานที่จะไปช่วยเหลือในกระบวนการพัฒนา เปลี่ยนแปลง ในยุคของการพัฒนาเทคโนโลยีในสมัยนี้ สิ่งที่สำคัญก็คือ การที่จะนำเอาความรู้และประสบการณ์ต่างๆที่เกี่ยวข้องกับวิศวกรรม ไปสร้างนวัตกรรมเพื่อทำให้เกิดการพัฒนาต่อยอด และปรับปรุงสิ่งต่างๆนำมาใช้ให้เกิดประโยชน์ต่อการยกระดับคุณภาพชีวิต เศรษฐกิจ และสังคม            การแข่งขันในยุคสมัยนี้ หรือจะเป็นการเปิดเสรีอาเซียนถือเป็นการแข่งขันอย่างเสรี สิ่งที่สำคัญที่สุดของโลกเสรีนี้ก็คือประสิทธิภาพของคน ซึ่งจะได้มาจากการฝึกฝน และทักษะที่แต่ละชาติ ได้มีการฝึกในส่วนของทรัพยากรมนุษย์เป็นอย่างไร เพราะฉะนั้นการแข่งขันของเทคโนโลยีต่างๆไม่ค่อยต่างกันแล้ว แต่จะต่างกันที่ประสิทธิภาพ การคิดวิเคราะห์ของทรัพยากรมนุษย์ เรามีวิธีการที่จะหาความรู้ หาประสบการณ์ และนำไปประยุกต์ใช้ประโยชน์ได้อย่างไร ดังนั้นการพัฒนาทรัพยากรจะทำให้เกิดความแตกต่างกันของประเทศต่างๆ   การเรียนรู้ของคณะวิศวลาดกระบังยังเน้นไปในการรับรู้ข้อมูลแบบที่มีอาจารย์เป็นคนป้อนให้ แต่ระบบการศึกษาในปัจจุบันความรู้ต่างๆมีอยู่มากมายและเปลี่ยนแปลงตลอดเวลา ถ้าจะรอรับความรู้จากอาจารย์อย่างเดียวคงไม่พอ หน้าที่สำคัญของการศึกษาของเราคือ ต้องสอนให้นักศึกษารู้จักที่จะหาความรู้ และนำเอาข้อมูลที่ได้มา สังเคราะห์ วิเคราะห์ และนำมาปรับปรุงเพื่อที่จะนำเอาไปใช้ประโยชน์ ทางคณะวิศวลาดกระบังจึงมีการปฏิรูปการเรียนการสอน โดยการมุ่งเน้นการเรียนการสอนโดยให้คณาจารย์ไปกระตุ้นให้นักศึกษาเกิดการเรียนรู้ได้ด้วยตัวของนักศึกษาเอง อาจารย์เป็นโค้ช เป็นคนคอยแนะแนว เป็นคนดีไซน์เพื่อให้นักศึกษาไปศึกษารวบรวมข้อมูลต่างๆมา เพื่อที่จะนำมาวิเคราะห์สังเคราะห์ อาจารย์จะเป็นคนดูทิศทางให้แนวทางในการที่จะนำเอาข้อมูลมาทำให้เป็นรูปธรรมและเกิดเป็นประโยชน์สูงสุด

          สิ่งที่สำคัญของวิศวกร ก็คือ การมีภาวะความเป็นผู้นำ คนที่มีความรู้โดยทั่วไปหาที่ไหนก็ได้ แต่สิ่งที่สำคัญก็คือคนที่จะเป็นวิศวกรที่มีประสิทธิภาพจะต้องเป็นคนที่มีภาวะความเป็นผู้นำ ก็คือสามารถที่จะมีความรู้ด้วย ความรู้หาได้ หามาแล้วต้องสามารถนำความรู้ต่างๆไปประยุกต์ใช้ประโยชน์ได้ นอกจากประยุกต์ได้แล้วยังต้องนำพาคนอื่นให้เห็นคล้อยตามกับเรา และสามารถที่จะปฏิบัติหรือไปสร้างนวัตกรรมต่างๆร่วมกับผู้อื่นได้อย่างมีประสิทธิภาพ

          ปัจจัยที่สำคัญในการปฏิรูปวิศวกรรมต่างๆให้สำเร็จได้คือ จะต้องสร้างความมีส่วนร่วมในทุกภาคส่วน เช่นในสถาบันการศึกษา สิ่งที่สำคัญก็คือ บุคลากรที่เป็นผู้ให้ นั่นก็คือคณาจารย์ บุคลากรส่วนสนับสนุนนั่นก็คือ เจ้าหน้าที่ และก็ตัวผู้ที่ถูกสอนเองก็คือนักศึกษา ผู้ปกครองก็จะต้องเรียนรู้ไปด้วยกันว่าทำไมจึงต้องกระบวนการปฏิรูป ปฏิรูปแล้วผลที่ได้จะเป็นอย่างไร เพราะฉะนั้นทุกส่วนจะต้องเรียนรู้สิ่งต่างๆเหล่านั้นไปด้วยกัน และจะต้องเข้าใจในมิติต่างๆอย่างดี เพราะว่าการที่เราจะสั่งปฏิรูปโดยที่ยังไม่มีความเข้าใจรายละเอียดต่างๆ มันไม่มีที่จะเป็นไปได้ เราจะต้องรณรงค์สร้างความเข้าใจร่วมกันให้เกิดขึ้นให้ได้ นั่นคือการนับหนึ่งในเรื่องของการปฏิรูปใดๆก็ตาม”

            รศ.ดร.ณฐา  คุปตัษเฐียร (Asst.Prof.Dr.Natha Kuptasthien) ผู้เชี่ยวชาญการจัดการเรียนการสอนแบบ CDIO ได้กล่าวถึงแนวคิดในการสอนหลักสูตรวิศวกรรมแบบ CDIO ว่า “วิศวกรรมศาสตร์ มีบทบาทในการสร้างความเข้มแข็งของ

สังคม และเศรษฐกิจให้กับประเทศไทยมาโดยตลอด ไม่ว่าจะเป็นเรื่องของรากฐานทางกายภาพความมั่นคงด้านพลังงาน นวัตกรรม สิ่งประดิษฐ์ต่างๆ ที่ช่วยทำให้คุณภาพชีวิตของคนในสังคม เศรษฐกิจ และสิ่งแวดล้อมดีขึ้น ในปัจจุบันด้วยโลก

ที่กำลังเปลี่ยนไปอย่างมาก ปัญหาทุกปัญหาที่เกิดขึ้น มักจะเป็นปัญหาที่ซับซ้อน ในการแก้ปัญหาอาจจะไม่เหมือนเดิม ที่ว่าหนึ่งวิชาชีพจะสามารถแก้ปัญหาได้จากสาขาวิชาตัวเอง เพราะฉะนั้นการศึกษาวิศวกรรมศาสตร์ของไทยในศตวรรษที่ 21 ก็ต้องเปลี่ยนไปเพื่อรับกับสภาพที่มันเปลี่ยนไป

          ความรู้ในยุคปัจจุบันสามารถสืบค้นหาได้ง่าย สิ่งที่ผู้เรียนเรียนในห้องเรียนในวันนี้ หรือแม้กระทั่งหนังสือที่หยิบขึ้นมาอ่าน หรือแม้แต่หนังสือที่อาจารย์เขียนขึ้นมา มันสามารถหมดอายุได้อย่างรวดเร็ว สิ่งที่เราเรียนวันนี้ เมื่อเวลาผ่านไปอีก 1 ปีจะล้าสมัยทันที โลกปัจจุบันเป็นกลายเป็นโลกที่ยุคของเทคโนโลยี และความรู้มีการเปลี่ยนแปลงอย่างรวดเร็ว ดังนั้นถ้าเรายังมีการเรียนการสอนแบบเดิมๆอยู่ ก็จะทำให้ผู้เรียนของเราไม่สามารถบูรณาการหรือไม่สามารถที่จะก้าวทันโลกได้ อย่างที่ย้อนกลับไปว่าปัจจุบันมันเป็นปัญหาที่ซับซ้อน จะเห็นได้ว่าคนต่างสาขาวิชาก็จะมองปัญหานั้นๆแตกต่างกัน เพราะฉะนั้นวิศวกรในยุคต่อไปก็จะต้องสามารถทำงานกับบุคคลที่มาจากหลายสาขาวิชาได้ เราจึงจำเป็น ”ปฏิรูป”เปลี่ยนแปลงอย่างรวดเร็ว

          การเรียนการสอนแบบ CDIO เป็นแนวคิดในการสอนหลักสูตรวิศวกรรมซึ่งได้รับการพัฒนามาจาก Massachusetts Institute of Technology (MIT) ซึ่งได้รับการยอมรับอย่างแพร่หลายและถูกนำไปใช้ในสถาบันการศึกษาทางวิศวกรรมมากมายทั่วโลกกว่า 90 แห่ง โดยแนวการเรียนการสอนแบบ CDIO มุ่งเน้นผลลัพธ์การเรียนรู้ (Learning Outcomes)  4 ด้านหลัก ซึ่งนับเป็นหัวใจสำคัญของวิชาชีพวิศวกรรม ได้แก่

1. Conceive สามารถคิดวิเคราะห์และชี้ปัญหาในทางวิศวกรรมได้

2. Design สามารถออกแบบและหาแนวทางแก้ไขปัญหาทางวิศวกรรมได้

3. Implement สามารถดำเนินการ ประยุกต์ หรือ แก้ไขปัญหาทางวิศวกรรมให้สำเร็จลุล่วงได้

4. Operate สามารถพัฒนาและควบคุมระบบต่างๆ อย่างเหมาะสม

          ทั้งนี้หลักสูตรตามแนวทางของ CDIO จะมุ่งเน้นให้วิศวกรมีความสามารถทั้งในด้านการคิด การออกแบบ การสร้างดำเนินการ และการควบคุมระบบต่างๆ อย่างมีประสิทธิภาพ เพราะในพื้นฐานหลักของวิศวกรเวลาที่เราออกไปทำงาน วิศวกรจะมีหน้าที่ที่จะรับรู้ปัญหา สามารถที่จะออกแบบ หรือว่าหาแนวทางการแก้ปัญหาได้ นำไปประยุกต์ใช้ เมื่อลองแล้วล้มเหลวก็ลองใหม่จนได้คำตอบที่ดีสำหรับปัญหานั้นๆ นอกจากนี้ในบทบาทของวิศวที่ไปทำงาน เรื่องมุมมองในมุมของสังคม ในบริบทของเศรษฐกิจสังคม ทักษะส่วนบุคคลที่เป็นมืออาชีพ ต้องคิดเป็น สามารถวิเคราะห์ได้ มีจรรยาบรรณ มีทัศนคติที่ดี นอกจากนี้ที่สำคัญของวิศวกรก็คือ ทักษะระหว่างบุคคล อย่างเช่น ทักษะในการเป็นผู้นำ ทักษะของการทำงานเป็นทีม ทักษะของการสื่อสาร และในปัจจุบันจะขาดไม่ได้เลยคือทักษะการสื่อสารด้วยภาษาต่างประเทศ ภาษาอังกฤษ

          อาชีพวิศวกรเป็นอาชีพที่มีการแข่งขันสูงอยู่แล้ว เพราะว่าการทำงานปัจจุบันในยุคของโลกาภิวัตน์ โลกมีข่าวสารไร้พรหมแดน มีการลงทุนข้ามชาติเป็นจำนวนมาก ทำให้วิศวกรทั้งไทยและต่างชาติก็มีโอกาสที่จะทำงานทั่วโลก การลงทุนของบริษัทข้ามชาติทำให้บริษัทแม่อาจจะอยู่ประเทศหนึ่ง แต่ว่ามีบริษัทลูกอยู่อีกหลายๆประเทศ ซึ่งตรงนี้ถ้าวิศวกรไม่มีศักยภาพที่จะแข่งขัน ก็ลำบากที่จะอยู่ได้ในโลกที่มีการแข่งขันสูง วิศวกรยุคใหม่จึงต้องมีทั้งทักษะส่วนบุคคลที่เป็นวิชาชีพที่เข้มแข็ง และมีทักษะที่สามารถทำงานร่วมกับผู้อื่นได้ ภายในบริบทที่เปลี่ยนแปลงอย่างรวดเร็วทั้งขององค์กร สังคม และสิ่งแวดล้อม”

 

            คุณทนง โชติสรยุทธ์ (Mr. Thanong Chotisorayuth) กรรมการผู้จัดการ บริษัท ซีเอ็ดยูเคชั่น จำกัด (มหาชน) ได้กล่าวถึงเรื่องการปูพื้นฐานด้านวิศวกรรมศาสตร์ตั้งแต่ระดับชั้นประถมศึกษาว่า “      ปัญหาของประเทศไทยตอนนี้ คือปัญหาของการสร้างสังคมให้แข็งแรงยั่งยืน และในขณะเดียวกันเราก็มีปัญหาอีกมากมาย ทั้งในเรื่องแนวโน้มของอนาคตที่จะมีผู้สูงวัยมากขึ้น นั้นก็หมายถึงว่าเยาวชนที่กำลังศึกษาในปัจจุบันนี้ ในอนาคตเมื่อได้จบการศึกษาแล้ว เขาก็จะได้รับภาระที่จะต้องดูแลคนที่สูงวัยมากขึ้นกว่าเดิม ในขณะเดียวกันธุรกิจของโลก คือมีความเข้มขันมากขึ้นเรื่อยๆ มีสงครามทางการค้า มีเรื่องของนวัตกรรมใหม่ๆที่มันทำให้ธุรกิจบางอย่าง หรือสิ่งที่เราทำการค้าเดิม และอุตสาหกรรมเดิม มันอาจจะหายวับไปกับตาได้ง่ายๆเลย ฉะนั้นมันจึงเป็นความจำเป็นของไทย ที่เราจะต้องพยายามสร้างกลไกภายในสังคมของเราเอง ให้มีความแข็งแรงโดยเร็วที่สุด

          ในส่วนของภาคอุตสาหกรรมหรือภาคที่เป็นผลทางการผลิตอย่างแท้จริง เราจำเป็นต้องเร่งความเร็วขึ้นมา ความเร็วของความสามารถในการแช่งขัน ความเร็วในการเพิ่มศักยภาพของบุคลากรของเราที่เกี่ยวกับการผลิตทั้งหลายในทุกๆอุตสาหกรรมจำเป็นที่จะต้องเร่งขึ้นมาโดยเร็วที่สุด และควรจะต้องเร่งในเรื่องของนวัตกรรม เพราะถ้าเราทำอย่างเดิม มันก็ทำให้รายได้ต่อหัวคนก็เท่าเดิม และถ้าสมมุติเท่าเดิม ก็จะไม่สามารถรองรับเลี้ยงดูผู้สูงวัยมากยิ่งกว่าเดิมได้ก็จะก่อปัญหาคนยากจนมากขึ้น ฉะนั้นต้องทำให้แต่ละคนมีสิ่งที่เรียกว่ามีผลผลิตที่ดีขึ้น ขณะเดียวกันก็ต้องพยายามที่จะคิดถึงเรื่องของการสร้างมูลค่าให้สูงขึ้น และในขณะเดียวกันก็ต้องต่อยอดให้มันกลายออกมาเป็นนวัตกรรม เพราะว่านวัตกรรมมันเป็นสิ่งที่สามารถสร้างมูลค่าให้เพิ่มสูงขึ้นกว่าเดิมได้เยอะ

          ในช่วงที่ผ่านมา ระบบการศึกษาขั้นพื้นฐานของเรานับวันก็ถือว่าอ่อน เมื่อเทียบกับระดับโลกตอนนี้เรายังอ่อนมาก ในระดับของบัณฑิตเองก็เช่นเดียวกัน บัณฑิตของเรามี่จบมาก็มีจำนวนเยอะที่ยังไม่รู้ตัวตน ยังไม่มีแรงบันดาลใจที่จะประกอบวิชาชีพ ฉะนั้นเราต้องทำให้คณะบุคลากรที่ออกมาจากระบบการศึกษาในขณะนี้ยังขาดศักยภาพตามที่ควรจะเป็นสำหรับการจะอยู่รอดในศตวรรษที่ 21

          ฉะนั้นความจำเป็นของการศึกษาจึงจำเป็นต้องเร่งแก้ปัญหา ทั้งนี้ในภาคของอุตสาหกรรม แน่นอนว่าหนีไม่พ้นในเรื่องของวิศวกรรมศาสตร์ ที่เราจะต้องสร้างวิศวกรรมศาสตร์ที่มีศักยภาพและมีแรงบันดาลใจ ตรงนี้คือหัวใจสำคัญของการที่จะต้องเปลี่ยนแปลงระบบการศึกษาในการผลิตบัณฑิตวิศวกรในศตวรรษที่ 21 ใหม่ นั้นก็คือการสร้างผลิตผลทางด้านบัณฑิตของเรา โดยเฉพาะอย่างยิ่งทางด้านวิศวกรรมศาสตร์ ทำอย่างไรถึงจะให้บัณฑิตของเรามีแรงบันดาลใจ อยากจะเป็นวิศวกรที่มีศักยภาพสูง ตั้งแต่ปี 1 หรือตั้งแต่ก่อนวันแรกที่จะเข้าศึกษาในมหาวิทยาลัย เพราะว่าถ้าเราสร้างให้เด็กนั้นมีแรงบันดาลใจทั้งก่อนเข้าเรียน ระหว่างเรียน และหลังจบการศึกษา และก็สามารถที่จะสร้างสภาพแวดล้อมที่เอื้อ ที่จะทำให้แรงบันดาลใจเหล่านี้ถูกพัฒนาประกายเป็นศักยภาพที่แท้จริงขึ้นได้

          เราจะต้องมีโจทย์ในแง่ของการศึกษา ที่จะต้องสร้างแรงบันดาลใจให้เด็กรู้สึกกับการคิด การแก้ไขปัญหา การบูรณาการ ความคิดทางด้านคณิตศาสตร์ วิทยาศาสตร์ วิศวกรรมศาสตร์ และเทคโนโลยี ตั้งแต่ในระดับชั้นประถมศึกษา ตอนนี้มันสายไปแล้ว ถ้าคิดจะสร้างในระดับอุดมศึกษา ต้องบ่มเพาะพร้อมกับให้โอกาสเด็กกลุ่มนี้ ให้มากขึ้นกว่าในยุคของเรามากๆ เพราะถ้าทำแบบนี้เราจะรู้สึกแปลกใจว่าทำไมเด็กประถมจึงทำได้เยอะขนาดนี้ ขณะที่เราอาจจะทำในเรื่องเดียว กันกับเด็กประถมไม่ได้เลยด้วยซ้ำ ฉะนั้นในวิธีการคิด การออกแบบหลักสูตร กระบวนการเรียนการสอน กิจกรรม และสื่อในการเรียนรู้สำหรับในการศึกษาตั้งแต่ขั้นพื้นฐาน จำเป็นต้องคิดใหม่ในอีกรูปแบบหนึ่ง ต้องคิดนอกกรอบให้แปลกออกไปจากเดิม ทุกอย่างต้องไม่ยึดติดกระบวนการเดิม

          เมื่อ AEC ได้เกิดขึ้นมา การถ่ายโยงวิชาชีพบางอย่างจะเกิดขึ้นง่ายมากและกว้างขวางขึ้น ก็จะทำให้วิศวกรของเรานั้น จะต้องอยู่ภายใต้ของการแข่งขัน ไม่ใช่เพียงแค่ของประเทศไทยเอง แต่จะต้องมีการแข่งขันในระดับนานาชาติ อย่างน้อยที่สุดก็จะในระดับภูมิภาคอาเซียนนี้ ที่เราจะต้องไปแข่งขันด้วย ตั้งแต่ทักษะในเรื่องของภาษาอังกฤษ ทักษะในการทำงานหรือความเป็นผู้นำในความเปลี่ยนแปลง ทักษะในการมีความคิดสร้างสรรค์ และรวมไปถึงทักษะในการข้ามวัฒนธรรม เราจะต้องยกเพดานบินของทางด้านวิศวกรของเราเอง ขึ้นมาเป็นระดับนานาชาติ หรือเป็นระดับภูมิภาคมากขึ้น และในขณะเดียวกันการที่เกิด AEC ขึ้น ถือเป็นโอกาสดีที่เราจะมีฐานตลาดที่ใหญ่ขึ้นกว่าเดิม ฉะนั้นจึงขึ้นอยู่กับว่าประเทศใด ที่สามารถบ่มเพาะบุคลากรที่สามารถใช้ศักยภาพของประเทศตัวเอง แล้วใช้ศักยภาพของประเทศเพื่อนบ้านทั้งหมดในการทำให้ฐานในตลาดมันใหญ่ขึ้นกว่าเดิม และประสบความสำเร็จไกลกว่าจุดเดิมได้ เพราะ AEC ถือว่าเป็นทั้งภัยคุกคามถ้าเราปรับตัวไม่ทัน และก็เป็นโอกาสถ้าเราปรับตัวทัน

.....................................................

มหาวิทยาลัยศรีปทุม ผู้ใหญ่ใจดี
 

 ช่วยด้วยครับ
นักเรียนที่สร้างบล็อก กรุณาอย่า
คัดลอกข้อมูลจากเว็บอื่นทั้งหมด
ควรนำมาจากหลายๆ เว็บ แล้ววิเคราะห์ สังเคราะห์ และเขียนขึ้นใหม่
หากคัดลอกทั้งหมด จะถูกดำเนินคดี
ตามกฎหมายจากเจ้าของลิขสิทธิ์
มีโทษทั้งจำคุกและปรับในอัตราสูง

ช่วยกันนะครับ 
ไทยกู๊ดวิวจะได้อยู่นานๆ 
ไม่ถูกปิดเสียก่อน

ขอขอบคุณในความร่วมมือครับ

อ่านรายละเอียด

ด่วน...... ขณะนี้
พระราชบัญญัติลิขสิทธิ์ (ฉบับที่ 2) พ.ศ. 2558 
มีผลบังคับใช้แล้ว 
ขอให้นักเรียนและคุณครูที่ใช้งาน
เว็บ thaigoodview ในการส่งการบ้าน
ระมัดระวังการละเมิดลิขสิทธิ์ด้วย
อ่านรายละเอียดที่นี่ครับ

 

สมาชิกที่ออนไลน์

ขณะนี้มี สมาชิก 0 คน และ ผู้เยี่ยมชม 501 คน กำลังออนไลน์